The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ดาระเกตุ คงบัน, 2021-12-15 22:08:03

เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย

เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบการปกครองไทย

เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสาคญั
ของระบอบการเมืองการปกครองของไทย

การเปลย่ี นแปลง

ระบอบการเมอื งการปกครองพ.ศ. ๒๔๗๕

สาเหตุ

• ไดร้ บั อิทธิพลทางด้านความคดิ แบบประชาธิปไตยจากตะวันตก
• ได้รับอิทธิพลจากการเปลยี่ นแปลงการปกครองของประเทศตา่ งๆ ในเอเชยี ขณะนน้ั เช่น ญ่ปี ่นุ ตุรกี เปน็ ตน้
• เพอื่ ตอ้ งการให้ประเทศมคี วามเจริญกา้ วหน้า เนอ่ื งจากระบอบการปกครองเดมิ ล้าสมยั ตอ้ งเปล่ียนแปลงเพ่ือให้ทดั เทยี ม

กับนานาอารยประเทศ
• ประเทศกาลงั ประสบปัญหาทางดา้ นเศรษฐกิจที่ไดร้ บั ผลกระทบมาจากสงครามโลกครั้งท่ี ๒

เหตกุ ารณ์สาคัญ

วันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ ในสมัยรัชกาลที่ ๗ คณะราษฎรได้ทาการยึดอานาจเปล่ียนแปลงการปกครองจาก
ระบอบสมบรู ณาญาสิทธิราชย์มาเปน็ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุขของชาติ

คณะราษฎร

พ.ศ. ๒๔๗๕

สมาชกิ คณะราษฎรแบง่ เป็นสายตา่ งๆ

สายนายทหารชนั้ ยศสงู สายทหารบกช้ันยศนอ้ ย สายทหารเรอื สายพลเรอื น

นายพันเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา นายพนั ตรี หลวงพิบลู สงคราม นายนาวาตรี หลวงสินธสุ งครามชัย อามาตย์ตรี หลวงประดิษฐม์ นูธรรม
(พจน์ พหลโยธนิ ) เปน็ หวั หนา้ (แปลก ขติ ตะสังคะ) เป็นหัวหนา้ (สนิ ธ์ุ กมลนาวิน) เปน็ หวั หนา้ (ปรดี ี พนมยงค)์ เป็นหัวหนา้

หลกั ๖ ประการของคณะราษฎร

หลักเศรษฐกิจ

หลกั ความสงบ หลักความเสมอภาค

หลักเอกราช หลักเสรีภาพ

หลักการศึกษา

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว รัชกาลที่ ๗ พระราชทาน
รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รสยาม (พ.ศ. ๒๔๗๕) ให้แก่
ปวงชนชาวไทย

๒๗ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๔๗๕
• รัชกาลที่ ๗ ทรงลงพระปรมาภไิ ธย พระราชบญั ญัตธิ รรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามช่ัวคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕

๑๐ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๗๕
• รชั กาลที่ ๗ ทรงพระราชทานรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรสยาม พทุ ธศกั ราช ๒๔๗๕ ซง่ึ เปน็ รัฐธรรมนูญฉบับถาวร

ฉบบั แรกของไทย

เหตุการณม์ หาวปิ โยค

(๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖)

สาเหตุ

• เกดิ กระแสตอ่ ตา้ นรัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร ท่ีทาการรัฐประหารยดึ อานาจของตนเอง โดยมีการยกเลิก
รฐั ธรรมนูญ และปกครองประเทศดว้ ยเผด็จการ

• ไดม้ กี ารรวมตวั ของกลุ่มนิสิต นักศึกษา อาจารยแ์ ละประชาชน จานวน ๑๓ คน เพื่อประกาศเรยี กรอ้ งรฐั ธรรมนูญ
• กลมุ่ นิสติ นกั ศกึ ษา อาจารย์และประชาชน จานวน ๑๓ ถูกจบั กมุ และถกู ตั้งขอ้ หาว่าเป็นกบฏ ซึ่งทาใหก้ ระแส

ความไมพ่ อใจรฐั บาลเพิม่ มากข้ึน
• การชุมนมุ ขยายตัวออกไปอยา่ งกว้างขวาง จนนาไปสู่การปราบปรามที่รุนแรง

เหตกุ ารณ์สาคญั

๖ ตุลาคม ๒๕๑๖ ๑๒ ตลุ าคม ๒๕๑๖

กลมุ่ เรียกรอ้ งรัฐธรรมนูญเดนิ แจกใบปลวิ เพอ่ื ศูนย์กลางนิสิต นักศึกษาแห่งประเทศไทย
เรียกรอ้ งรัฐธรรมนญู มีผู้ถูกจับกมุ ๑๓ คน ใน ได้ออกประกาศเรียกร้องให้ปล่อยตัวผู้ถูกจับกุม
ขอ้ หากบฏ ชกั ชวนใหม้ กี ารชมุ นมุ ทางการเมือง ทง้ั ๑๓ คน

๑๓ ตลุ าคม ๒๕๑๖ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖

นิสิต นักศึกษาและประชาชน กว่า ๕ แสนคน เกิดการปะทะกนั ระหวา่ งทหารกบั นสิ ิต นกั ศึกษา และ
เดนิ ขบวนส่อู นสุ าวรยี ์ประชาธิปไตย ประชาชนจนบาดเจ็บและเสียชีวิตเป็นจานวนมาก ทา
ให้จอมพลถนอม กิตติขจร ลาออกจากตาแหน่ง
นายกรฐั มนตรี

๖ ตลุ าคเหม ตพ.ุกศ.า๒ร๕ณ๑๙์

สาเหตุ

• จอมพลถนอม กติ ติขจร อดตี นายกรัฐมนตรที ่ีเดนิ ทางออกนอกประเทศจากเหตุการณม์ หาวปิ โยค (๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖)
ได้เดนิ ทางกลับประเทศไทย

• กลุ่มนักศกึ ษาและประชาชนตอ่ ต้านการกลับมาของจอมพลถนอม กติ ติขจร
• กลุม่ นักศกึ ษาและประชาชนเรยี กรอ้ งประชาธปิ ไตยด้วยการชมุ นมุ ประทว้ ง
• เกิดการแบง่ แยกประชาชนออกเป็นฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา โดยฝา่ ยนักศกึ ษาถูกโจมตีว่าเป็นฝา่ ยซา้ ยฝกั ใฝล่ ทั ธคิ อมมวิ นสิ ต์
• นาไปสกู่ ารสลายการชมุ นมุ ในมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์และบรเิ วณทอ้ งสนามหลวงในตอนเช้าของวนั ที่ ๖ ตุลาคม

พ.ศ. ๒๕๑๙

เหตกุ ารณ์สาคัญ • จอมพล ถนอม กติ ตขิ จร ที่ผนวชเปน็ สามเณรเดนิ ทางกลับประเทศไทย
• ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทยและกลุ่มพลังต่างๆ ชุมนุมกันที่
๑๙ กันยายน ๒๕๑๙
๒๙ กันยายน ๒๕๑๙ ท้องสนามหลวง เพ่อื ขับไล่ จอมพล ถนอม ออกนอกประเทศ
• นกั ศึกษาเรม่ิ เคล่อื นขบวนมาสู่มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
๕ ตลุ าคม ๒๕๑๙ • เจ้าหน้าท่ตี ารวจทาการปราบปรามประชาชนในมหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
๖ ตุลาคม ๒๕๑๙
ทาใหม้ ีผูบ้ าดเจ็บลม้ ตายเป็นจานวนมาก

เหตกุ ารณ์

พฤษภาทมิฬ พ.ศ. ๒๕๓๕

สาเหตุ

• การขึ้นดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ของ พล.อ.สุจินดา คราประยรู ท่ไี ม่ไดม้ าจากการเลอื กต้ังทาให้เกิดการชุมนุมประทว้ ง
• การจัดตั้งรัฐบาลมีการสืบทอดอานาจของคณะ รสช.

พล.อ.สจุ นิ ดา คราประยูร

เหตุการณ์สาคญั • มีการเลอื กตง้ั ทัว่ ไป

๒๒ มีนาคม ๒๕๓๕ • พล.อ.สุจินดา คราประยรู ขน้ึ ดารงตาแหน่งนายกรฐั มนตรี
๗ เมษายน ๒๕๓๕ • ฝ่ายคา้ นจัดอภิปรายคัดค้านทม่ี าของนายกรัฐมนตรที ีล่ านพระรูปทรงม้า มปี ระชาชนเขา้ รว่ ม
๒๐ เมษายน ๒๕๓๕
๔ พฤษภาคม ๒๕๓๕ จานวนมาก
๑๗ พฤษภาคม ๒๕๓๕ • พล.ต. จาลอง ศรีเมอื ง อดขา้ วประทว้ งเพอ่ื เรยี กร้องใหแ้ ก้รฐั ธรรมนญู
๑๘-๑๙ พฤษภาคม ๒๕๓๕
๒๐ พฤษภาคม ๒๕๓๕ • ประชาชนรวมตวั กันทสี่ นามหลวงเดินไปตามถนนราชดาเนิน
๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๕
• รฐั บาลประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉิน และใช้กาลังทหาร ตารวจปราบปรามผ้ชู ุมนุม
• พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช โปรดเกลา้ ฯให้ พล.อ.สจุ ินดา และ พล.ต.จาลอง

เข้าเฝา้ ฯ
• พล.อ.สุจนิ ดา ลาออกจากตาแหน่งนายกรฐั มนตรี

เหตุการณ์

๑๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๔๙

สาเหตุ

• พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ผู้บญั ชาการทหารบกในขณะนน้ั ให้เหตุผลในการปฏริ ูปการปกครอง ดงั น้ี
๑. รัฐบาลโดยนายกรัฐมนตรีได้ก่อให้เกิดความขัดแย้ง และการแบ่งฝ่าย
ทาลายความสามคั คี

๒. รัฐบาลบริหารราชการส่อไปในทางทจุ รติ

๓. รฐั บาลมีพฤติกรรมแทรกแซงการทางานและอานาจองคก์ รอสิ ระ

๔. การดาเนินกจิ กรรมทางการเมอื งบางโอกาสของรัฐบาลหม่นิ เหม่ตอ่ การหมิ่น
พระบรมเดชานภุ าพ

สถานการณก์ ารเมือง

ของประเทศไทยในปจั จุบัน

การเมืองของไทยยังมกี ารทจุ รติ คอร์รัปชนั
มีการซ้ือสทิ ธขิ ายเสยี งในช่วงของการเลือกตง้ั

การมสี ่วนร่วมทางการเมอื งของภาคประชาชนยังมีน้อย
เกดิ ความขัดแย้งทางการเมืองของกลมุ่ ต่างๆ

ขาดความตอ่ เนอื่ งในการพฒั นาประเทศ เนอ่ื งจากการ
เปล่ียนแปลงทางการเมือง

แนวทางการเลือกรับ

ข้อมูลขา่ วสาร

ตอ้ งรจู้ ักวเิ คราะหแ์ ยกแยะขอ้ มูลข่าวสาร
ที่ก่อใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเอง
และผู้อืน่ ได้

เลอื กรบั ข้อมลู ขา่ วสารจากแหลง่ ข่าว
ที่เชอ่ื ถือได้

ใชว้ ิจารณญาณในการอา่ นและการรบั ชม
อยา่ งมีเหตุผล ไม่เข้าข้างฝา่ ยใดฝ่ายหนง่ึ


Click to View FlipBook Version