The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปุลากง อำนาจ อุดมการณ์ และการครอบงำจากสังคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suthima.phairam, 2022-05-25 15:38:37

ปุลากง อำนาจ อุดมการณ์ และการครอบงำจากสังคม

ปุลากง อำนาจ อุดมการณ์ และการครอบงำจากสังคม

ปุลากง : วาทกรรมความรนุ แรง อานาจ
และการครอบงาทางสงั คม

สุธมิ า ไพราม1

บทคดั ย่อ

จุดมุ่งหมายของการศึกษาน้ี เป็นการศึกษาถึงลักษณะวาทกรรมความรุนแรงในงาน
วรรณกรรมเรอ่ื ง ปุลากง ในฐานะนักคิดนักเขยี นร่วมสมัยคนหน่ึงในสังคมไทยท่ีมีผลงานมากมายเป็น
ที่ประจักษ์

งานวรรณกรรม หรือตวั บท ถือเป็นปฏบิ ตั ิการทางวาทกรรมรปู แบบหนงึ่ ทผ่ี ู้ประพันธ์มีอานาจ
ในการสร้าง นาเสนอ หรือปิดกั้นอุดมการณ์บางอย่าง การศึกษาน้ีจึงได้เลือกใช้กรอบวาทกรรม
วเิ คราะหเ์ ชิงทฤษฎีวิพากษ์ ของนอร์แมน แฟร์เคลาฟเ์ พื่อท่ีจะชใี้ หเ้ ห็นว่าตัวบทดังกล่าวเปน็ เพียงการ
ประกอบขึ้นของสัญญะ (ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, 2545, น. 138) ที่ต้องการตอกย้าและผลิตซ้า
อุดมการณ์ชุดหนึ่ง โดยใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการนาเสนอ เพ่ือดารงไว้ซึ่งอานาจ หรือเพื่อสร้าง
ความชอบธรรมในการขยายเครอื ข่ายของอานาจ

ผลการศึกษาลักษณะวาทกรรมความรุนแรงและอุดมการณ์ความรุนแรงในงานวรรณกรรม
เร่ือง ปุลากง โดยอาศัยกรอบการวิเคราะห์ดังกล่าว พบว่า งานวรรณกรรมเรื่อง ปุลากง ได้สะท้อน
ภาพความทุกขย์ ากของชนชน้ั ลา่ งจานวนมากทถ่ี ูกเอารดั เอาเปรยี บ และถกู ลดศักด์ศิ รีความเป็นมนุษย์

นอกจากนยี้ ังพบว่ามีการสร้างวาทกรรมความรุนแรง 3 รูปแบบท่ีแฝงอยใู่ นตัวบท ได้แก่ วาท
กรรมอานาจนิยม, วาทกรรมความเปน็ หญงิ และวาทกรรมชายเปน็ ใหญ่ ซ่ึงวาทกรรมทั้ง 3 ประเภทนี้
บอกได้เป็นนัยอย่างหน่ึงว่า โสภาค สุวรรณยังไม่อาจ สลัดภาพของชนช้ันล่างท่ีมักจะถูกผู้มีอานาจ
กระทาโดยใช้ความรนุ แรงไม่ทางใดก็ทางหนง่ึ เปรียบเสมือนยอมรับการใชค้ วามรนุ แรงดังกลา่ วว่าเป็น
เร่ืองท่ีเกิดขึ้นโดยปกติ อีกทั้งยังสนับสนุนให้ชนช้ันล่างใช้ความรุนแรงในการตอบโต้ อันเป็นการตอก
ย้าการสถาปนาอานาจของชนชนั้ นาให้แขง็ แกร่งกว่าเดมิ

คาสาคญั : การครอบงา วาทกรรม อานาจ อดุ มการณ์

1 นักศึกษาปรญิ ญาโท สาขาหลักสูตรและการสอน วิชาเฉพาะการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
[email protected]

ที่มาและความสาคัญ
การเขียนวรรณกรรมขึ้นมาช้ินหนึ่งน้ัน เปรียบเสมือการสร้าง “วาทกรรม”ขึ้นมาชุดหน่ึง

กล่าวคือ ผู้ประพนั ธ์เองมีอานาจในการเลือกสรา้ ง เลอื กนาเสนอ หรือเลอื กปิดกัน้ อุดมการณ์บางอย่าง
จนอาจกล่าวในอีกแง่มุมหนึง่ ได้ว่าแท้ท่ีจริงแล้ว “วรรณกรรม” ก็คือ ภาคปฏิบัติการของวาทกรรม
ซงึ่ สอดคล้องกับคากลา่ วของพลศกั ด์ิ จริ ไกรศิริ (2522, น. 3) ท่ีกลา่ วไว้ว่า “วรรณกรรมย่อมสมั พันธ์
และเป็นเคร่ืองมือ อย่างใดอย่างหนึ่งของสังคม ปัญหาจึงมักอยู่ที่ว่า วรรณกรรมเป็นเคร่ืองมือของใคร
ใครเป็นผู้รจนา และรจนาเพื่อรับใช้ใคร วรรณกรรมย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามกฎเกณฑ์การพัฒนา
สังคม สงั คมมนษุ ย์เคลอื่ นไหวไปทางใด วรรณกรรมกพ็ ฒั นาไปตามทางน้นั อยา่ งหลกี เล่ยี งไมไ่ ด้”

ดังนั้น แหล่งกาเนิดวรรณกรรมจึงหาใช่ความคิดฝันล้วนๆ หรอื อารมณ์ และความบันดาลใจ
อันบริสุทธิ์ ว่างโหว่ ไม่เก่ียวข้องกับส่ิงใด ๆ หากแต่พื้นฐานที่เกิดของวรรณกรรม นั้นคือ ความจริงที่
เป็นอยู่จริง โดยตัวของมันเองหรือท่ีเรียกว่าภววิสัย (OBJECTIVE REALITY) ซึ่งความเป็นจริงทาง
ภววิสยั น้ีคือชวี ิตหรอื ความจัดเจนในชีวิตของประชาชนทั้งมวลร่วมกัน”จากหลักการดังกล่าว แนวคิด
เร่ือง “วาทกรรม” (Discourse) จึงเป็นแนวคิดที่น่าสนใจและถูกเลือกมาใช้เป็นแนวคิดสาคัญใน
การศึกษาครั้งน้ี โดยมีนักคิดและนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสนามว่า มิเชล ฟูโกต์ (Michel Foucault)
เป็นผู้ริเร่ิมศึกษา เรื่อง “วาทกรรม” ในมุมที่เก่ียวข้องกับอานาจและความรู้ โดยมีทัศนะท่ีว่า
“ความรู้คืออานาจ” และอานาจน้ีไม่ได้มีความหมายตามคานิยามของประมวล รุจนเสรี (2547, น.
15) ที่ได้กล่าวไว้ว่า เป็นการใช้พละกาลังในการข่มขู่ ควบคุม หรือบังคับคนอื่น ให้เช่ือฟัง แล้ว
ปฏิบัติตามหรือไม่ปฏิบัติตาม หากแต่หมายถึงการใช้พลังทางความคิด ในการกาหนดสร้างความ
ถูกต้องและความจริงใหก้ ับสิง่ ต่าง ๆ ในสังคม จนกลายเป็นเรือ่ งปกติธรรมดาที่คนทั่วไปยอมรับอย่าง
ไม่มขี ้อสงสัย

วาทกรรมความรุนแรง ก็เป็นการศึกษาวาทกรรมอีกมุมมองหน่ึง ซึ่งชัยวัฒน์ สถาอานันท์
(2551) ไดก้ ล่าวถึงเร่ืองของความรุนแรงไว้อยา่ งน่ารับฟังในสองแนวทางว่า ความรุนแรง คือ การทา
ให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตและทรพั ย์สนิ ซง่ึ อาจจะเกิดจากธรรมชาติ อุบัติเหตุ หรือจากน้ามือมนุษย์
ก็ได้ สว่ นอีกแนวทางหนึง่ ความรนุ แรง ก็คอื สิ่งท่ีมาสกัดกนั้ ศักยภาพของชวี ิต เปน็ ต้นวา่ มีหญงิ สาว
คนหน่ึงเดินกลับบ้าน ระหว่างทางมีผู้ร้ายดักชิงทรัพย์แล้วฆ่า หมายความว่าหากไม่เกิดเหตุความ
รนุ แรงนี้ หญิงสาวคนนั้นก็ยังคงมีศักยภาพในการดาเนินชีวิตได้ต่อไป ความรนุ แรงดังกล่าวนอกจาก
จะสกดั กั้นศักยภาพชีวิตอยา่ งที่เปน็ อยู่แล้ว อาจจะส่งผลกระทบไปถึงการสกัดกั้นศักยภาพชวี ิตในแง่
ของการเปลย่ี นแปลงไปจากท่เี ป็นอยู่เดิมอีกดว้ ย เชน่ ถ้าหญงิ สาวคนดงั กล่าวกาลงั จะได้เรียนตอ่ และ
เธอรอดตายอย่างปาฏิหาริย์ แต่ต้องกลายสภาพมาเป็นเจ้าหญิงนิทรา ซึ่งก็หมายความว่าศักยภาพ
ด้านการศกึ ษาของเธอที่จะเกดิ ข้ึนในอนาคตกถ็ กู สกัดจนต้องยตุ ลิ งด้วย ชัยวฒั น์ สถาอานันท์ (2551)

ยงั ได้ชี้ให้เห็นอีกต่อไปวา่ ความรุนแรงน้นั สามารถใช้เปน็ เคร่ืองมือในการอธิบายเหตุการณ์ทางสังคม
และการเมอื งได้ เชน่ เร่ืองความขัดแย้งในครอบครวั สมมตุ ิว่าพ่อเปน็ กรรมกร แลว้ วันหนึง่ บรษิ ทั ตอ้ ง
ปิดตัวลง จากการที่เศรษฐกิจตกต่า เป็นผลให้พ่อตกงานแล้วก็เกิดความเครียด พอเครยี ดก็ด่ืมสุรา
เมือ่ ไม่มีเงินไปดม่ื สรุ ากต็ ้องเอาจากภรรยา เมื่อภรรยาไม่ให้กเ็ กิดความขดั แย้ง เกิดความโมโห อบั อาย
ผนวกกับความเมาด้วย ทาให้ทางออกคล่ีคลายตัวไปสู่ความรุนแรง นั่นคือ การทะเลาะทุบตีภรรยา
และเหยื่อโดยตรงคอื ภรรยา แต่ความรุนแรงนน้ั อาจสง่ ผลไปถึงคนอื่นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั เหยื่อด้วย เช่น ถ้า
ลูกมาเห็น ก็อาจเป็นการฝังภาพความรุนแรงในครอบครัวต่อเด็กหรือเกิดความรู้สึกที่เป็นลบกับพ่อ
เป็นต้น

นอกจากน้ี การจะทาความเข้าใจต่อเหตุท่ีกอ่ ให้เกิดความรนุ แรงยังไม่สามารถดูจากผู้กระทา
การโดยตรงแต่เพียงอย่างเดยี ว เหตุท่ีมาของความรนุ แรงยังแบง่ ออกได้อกี เปน็ 3 ระดับ คือ ระดับ
แรกเป็นเร่ืองของตัวบุคคล (agency) เพียงอย่างเดียวเช่น การที่นาย ก. ฆ่านางสาว ข. เพื่อชิง
ทรัพย์ ก็อาจถือเป็นเหตุจากความเลวของนาย ก. เอง สว่ นระดบั ที่สอง คือ ระดับโครงสร้างต่างๆ ที่
อยู่เหนือผ้กู ระทาการข้ึนไป เชน่ กฎหมาย หน้าท่ี สภาพเศรษฐกิจ ซึ่งไมไ่ ดก้ ่อความรุนแรงโดยตรง แต่
ก็อาจเป็นส่วนที่มองไม่เห็นที่เอื้อให้เกิดความรุนแรงทางสังคมได้ ส่วนระดับสุดท้าย คือ ระดับ
วฒั นธรรม ซ่ึงเป็นเรอ่ื งของความเช่ือต่างๆ และเป็นส่วนที่เปลี่ยนแปลงได้ยากที่สดุ ตัวอยา่ งเช่น หาก
ฝ่ายสามีคิดตบตีภรรยาในที่สาธารณะ ก็มักจะอ้างว่า “เรือ่ งของผัวเมีย อย่ามายุ่ง” ซ่ึงสามารถทาให้
คนรอบข้างถอยห่าง เพราะตรงกับความเขา้ ใจของสังคมท่ีว่าเร่ืองของครอบครวั เป็นเรื่องส่วนตัว คน
อื่นในสังคมไม่เก่ียว แล้วยังมีความเชื่อเร่ืองผู้ชายเป็นใหญ่เหนือผู้หญิง จึงทาให้เกิดความรุนแรงได้
งา่ ยยิ่งขึน้ อีก ซ่ึงหากจะเปลยี่ นแปลงความเชื่อดังกล่าว ย่อมเกิดขึ้นได้ยากกว่าการจับนาย ก. เข้า
คุกหรอื การเปลี่ยนกฎหมาย

จากเหตผุ ลดังกล่าว จึงเป็นแรงบันดาลใจสาคัญที่จะศึกษาลักษณะวาทกรรมความรนุ แรงใน
งานวรรณกรรมของโสภาค สุวรรณ ซ่ึงท่านเป็นนักคิดนักเขียนร่วมสมัยคนหนึ่งที่มีบทบาทต่อ
สงั คมไทยอย่างสูง ท่านยังเป็นนักคดิ ท่ีสามารถวิพากษ์วิจารณ์ปัญหาสังคมได้อย่างเฉียบคม และเป็น
นักเขียนท่ีมีอุดมการณ์อันแรงกล้า ผลิตงานเขียนออกมาอย่างสม่าเสมอ ทั้งบทความ, เร่ืองสั้น และ
สารคดี โดยเฉพาะฝมี ือในการเขยี นเรอ่ื งสน้ั และความเรียงอนั เป็นทป่ี ระจกั ษ์

สาหรบั การวิเคราะห์นั้น ผูศ้ กึ ษาไดเ้ ลอื กใชแ้ นวคิดการวิเคราะหว์ าทกรรมแนวทฤษฎวี พิ ากษ์
(Critical Discourse Analysis : CDA) ของนอร์แมน แฟร์เคลาฟ์ (Norman Fairclough) เข้ามา
เป็นเครอื่ งมือสาหรับการวเิ คราะห์ภาษาและการสือ่ ความหมายของกระบวนการทางสังคมและปัญหา
สังคม โดยมุ่งเน้นท่ีภาษา (ตัวบท) การใช้ภาษา รวมถึงคุณลักษณะของภาษาอันเป็นส่วนหนึ่งของ

กระบวนการทางสังคม โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรม เพ่ือเป็นการอธิบายว่า วาทกรรมเป็น
ผลผลติ ทม่ี าจากสงั คม เชน่ เดยี วกบั สงั คมกเ็ ปน็ ผลผลิตของวาทกรรม

วัตถปุ ระสงค์ในการศึกษา
เพ่ือศึกษาลกั ษณะวาทกรรมความรุนแรงในงานวรรณกรรม เรอ่ื ง ปุลากง ของโสภาค สวุ รรณ

วิธีดาเนินการศึกษา
ศึกษาลักษณะวาทกรรมความรุนแรงในงานวรรณกรรมของโสภาค สุวรรณโดยใช้วาทกรรม

แนวทฤษฎีวิพากษ์ (CDA) เป็นหลักในการวิเคราะห์ เพ่ือทาให้มองเห็นการสร้างอัตลักษณ์และ
ความหมายของความรุนแรงผ่านภาคปฏิบัติการของวาทกรรม และกาหนดขอบเขตข้อมูลที่จะใช้
วเิ คราะหเ์ ฉพาะงานวรรณกรรมประเภทบนั เทิงคดี จานวน 1 เลม่ คือ เรื่อง ปุลากง (2532)

การวิเคราะห์วาทกรรมแนวทฤษฎีวิพากษ์ (CDA) ของนอร์แมน แฟร์เคลาฟ์ (Norman
Fairclough) จะวิเคราะห์ผ่าน 3 ช่องทาง ช่องทางแรกได้แก่ ตัวบท (Text) หรือภาษาท่ีใช้ในงาน
วรรณกรรม จะวิเคราะห์ด้านศัพท์, ไวยากรณ์ และการเชื่อมประโยค ส่วนช่องทางที่สอง คือ
ปฏิบัติการทางวาทกรรม (Discourse Practices) หรือกระบวนการสร้างตัวบท จะวิเคราะห์
กระบวนการนาเสนอ ตลอดจนการตีความตัวบท เพ่ือจะดูว่าผู้เขียนสร้างวาทกรรมข้ึนได้อย่างไร
และถ่ายทอดออกมาอย่างไร ช่องทางสุดท้าย คือ ปฏิบัติการทางสังคมวัฒนธรรม (Socio-cultural
Practices) ท่ีวิเคราะห์บริบททางสังคม, วัฒนธรรม และการเมือง ท่ีปรากฏแวดล้อมตัวบทเพ่ือให้
เข้าใจความหมายและกระบวนการสรา้ งวาทกรรมอย่างชัดเจน ปรากฏตามกรอบแนวคดิ การวิเคราะห์
วาทกรรมแบบ 3 มติ ิของ แฟร์เคลาฟ์ ดงั นี้

ตวั บท

การปฏิบัติทางวาทกรรม
ปฏบิ ัติการด้านสังคม วฒั นธรรม

กรอบแนวคิดการวิเคราะหว์ าทกรรมแบบ 3 มิติ ของแฟร์เคลาฟ์

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ
ได้ทราบว่ามีความรุนแรงลักษณะใดบ้างที่แฝงอยู่ในงานวรรณกรรม ทาให้เห็นถึงความ

เชื่อมโยงกันระหว่างภาษา วาทกรรม และสงั คมวัฒนธรรม

ผลการศึกษา
โสภาค สุวรรณได้เลือกนาเสนอวรรณกรรมผา่ นกระบวนทัศน์ในการสะท้อนสภาพชีวิตและ

สงั คม ซึ่งกระบวนทัศน์ดังกล่าวเปรยี บเหมือนมุมมองพ้ืนฐานท่ีนกั เขียนจะต้องใช้ในการรับรู้ ตีความ
และจินตนาการถงึ สังคมทีต่ นเองไดอ้ าศัยอยู่ ปฏิบัติการด้านสังคมวฒั นธรรมการปฏิบตั ทิ างวาทกรรม
ตัวบทดังนัน้ จงึ ไมอ่ าจหลกี พ้นจากการปะทะสังสรรคร์ ะหว่างโลกแหง่ ความจรงิ และโลกของภาษา ซึ่ง
จะต้องเช่ือมโยงกับทัศนคติ การตีความ และการให้คุณค่า โดยส่วนใหญ่งานวรรณกรรมของโสภาค
สุวรรณก็ได้แสดงใหเ้ ห็นภาพความทุกข์ยากของชนชน้ั ล่างท่ตี ้องตอ่ สู้กับอานาจที่ไม่เป็นธรรม การเอา
รดั เอาเปรียบกันในสงั คม และมบี ทสรปุ คอื ความพา่ ยแพ้ของชนช้ันลา่ ง อันมนี ัยสาคัญท่ีบ่งบอกวา่ กลุ่ม
ชนช้ันล่างเป็นชนช้นั ท่ีมีจาวนมากท่ีสุดในสังคม แตก่ ลับไม่มีโอกาสจะเอาชนะอานาจซ่ึงมีเพียงหยิบ
มอื ได้เลย แต่เมื่อวเิ คราะห์ผ่านวาทกรรมแนวทฤษฎีวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis : CDA)
ของ นอร์แมน แฟร์เคลาฟ์ (Norman Fairclough) แล้ว พบว่า ภายใต้ตัวบทท่ีสะท้อนภาพชีวติ ของ
ชนชั้นล่างทดี่ ูเหมือนจะแสดงให้เห็นถึงความพยายามในการต่อสู้เยยี่ งวีรบุรุษ แต่แท้จริงแล้วยังมวี าท
กรรมความรุนแรงแอบแฝงอยใู่ นนั้นอย่างแนบเนยี น ตามผลการวิเคราะหต์ ่อไปนี้

1. วาทกรรมอานาจนยิ ม
วาทกรรมอานาจนิยม เป็นการตัดสินใจด้วยวิธีการแสดงอานาจมากกว่าการใชเ้ หตุผล มีการ

ส่งเสริมให้มีการใช้อานาจแบบเผด็จการ เช่น อาจจะอ้างการใช้อานาจ เพื่อเพ่ิมเสถียรภาพในการ
ควบคมุ คน หรือเพอ่ื ความอยรู่ อดของตนในสงั คม ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้

1.1 การแสดงความรนุ แรง
ในเร่ือง “ปุลากง” ได้กล่าวถึงการแสดงออกถึงความรุนแรง โดยสร้างผ่านความเช่ือที่ว่า
“เข่นฆ่าเพื่อการดารงศาสนา” หรือ พฤติกรรมท่ีมีความก้าวร้าวอยู่ในสัญชาตญาณ การก่อความ
รุนแรงในวัยเด็ก ดงั ตวั อยา่ ง

ในสมัยกอ่ นน้นั อาจเป็นเพียงกลุ่มโจร แต่ปัจจุบันพวกนนั้ มเี ปน็ องค์กรท่ใี หญ่ขน้ึ
มีทง้ั ระเบิด ปนื ปล้นสะดมอาวธุ จากทางการต่างๆ...
(โสภาค สุวรรณ, 2532)

จากตวั อย่างดงั กล่าว ได้แสดงให้เห็นถึงการใช้อาวุธ แลความรุนแรงในจังหวดั ชายแดน เพื่อ
ต้องการยุยงให้ชาวบา้ นคดิ ว่าพวกเขาไม่ใช่ชาวไทย พวกเขาไม่ใช่ส่วนหน่ึงของด้ามขวาน ใช้ศาสนามา
เป็นข้ออ้างและครอบงาให้ผู้คนคิดว่าถูกทางการกดขี่ และจะมารุกรานบ้านเกิดทาให้พวกเขาต้อง
ออกมาปกป้องทั้ง ๆ ทม่ี ันเป็นแผ่นดนิ ของคนไทยท้ังหมด

1.2. การแสดงอานาจ
หล่อนเคยเห็นอาการหวาดหว่นั กลัวเกรงท่ีชาวบ้านมีต่อเจา้ หน้าที่ซึ่งสาคัญผดิ คิดว่า
ตนเป็นบุคคลชน้ั พเิ ศษเหนือกว่ามวลชนเหล่านน้ั ...
(โสภาค สวุ รรณ, 2532)

จากตัวอย่างดังกล่าว ได้แสดงให้เห็นถึงการใช้อานาจของข้าราชการในพ้ืนท่ี โดยกดข่ี
ชาวบ้านให้หวาดกลัว และยาเกรงในพวกของตน ซ่ึงผู้เขียนได้แสดงอานาจผ่านประโยคท่ีว่า
“หวาดหวั่นกลัวเกรง”

2. วาทกรรมความเป็นหญงิ
จากความเช่ือเดิมสังคมได้กาหนดวาทกรรมของความเป็นหญิงไว้หลายรูปแบบไม่ว่าจะเป็น

ความเป็นเมีย การต้ังครรภ์ และ ความเปน็ แม่ แก่เพศหญิง ซ่ึงเปน็ พันธนาการหรือโซ่ตรวนทางสังคม
ท่ีมไี วเ้ พอื่ ตกี รอบพวกเธอ เปน็ หลุมพรางทร่ี ะบบปิตาธปิ ไตยสร้างไว้ เพอ่ื ลอ่ ลวงผู้หญิงใหต้ กอยู่ในการ
ยอมรับกรอบความสัมพันธ์ที่ริดรอนศักยภาพและความสามารถของผู้หญิงให้เป็นผู้ท่ีต้องได้รับการ
ปกปอ้ งจากผชู้ าย จะเห็นได้จากตวั อย่างต่อไปนี้

ไม่มีใครอยากเป็นน้อยใครหรอกจ๊ะเข้ม คุณพ่อเป็นนายอาเภอ กาลังเป็นหนุ่ม แม่
เป็นลูกครูใหญ่กจ็ ริง แตไ่ ม่เคยเข้ากรุงเทพฯ จะต้องให้แม่เล่าอีกหรอื ว่า เมื่อคุณพ่อ
พามาถึงท่ีนี่มีอะไรเกิดขึ้นบ้าง เข้มอยู่ในท้องแม่จวนครบกาหนดคลอด ถ้าเข้มเป็น
แม่จะทาอยา่ งไรกับตัวเองหนีกลับไปบ้าน เลี้ยงลูกที่เกิดมา ให้เติบโตกับป่าและเขา
อยา่ งน้ันหรือ...ก็ดูจะออ่ นแอเกนิ ไป
(โสภาค สวุ รรณ, 2532)

เรือ่ งนั้นมันเลยมาแลว้
นกั พฒั นาการเปน็ ผูท้ พี่ ัฒนาทอ้ งถ่ินให้เจรญิ หากมัวแต่ทางานในหอ้ งแอร์
แลว้ ชาติจะเจริญไดอ้ ย่างไร
(โสภาค สวุ รรณ, 2532)

ในส่วนนผี้ ู้เขียนทาไว้ดีมาก กล่าวถงึ สังคมทเี ห็นได้ชัดในปัจจบุ นั อยา่ งตรงไปตรงมาว่าทุกวนั น้ี
โลกของเราเต็มไปดว้ ยคนเห็นแกต่ ัว เกียรติยศชื่อเสียงมไี วเ้ พ่อื เป็นฉากก้นั หน้า

3. วาทกรรมชายเปน็ ใหญ่
วาทกรรมชายเป็นใหญ่ เป็นอุดมการณ์เชิดชูพันธกจิ หรือบุคคลสาคัญที่มีลักษณะของความ

เป็นเพศชาย ไม่ว่าจะเป็นด้านความกล้าหาญ ความรักศักดิ์ศรี การต่อสู้ และการผจญภัย ดังน้ัน
อดุ มการณ์ดังกล่าวนี้จึงเป็นเหมือนการยกย่องเชิดชูความเป็นใหญ่ กดขี่เพศตรงข้าม หลงใหลความมี
อานาจในตนเอง ดังตัวอยา่ งต่อไปนี้

“เขาตอบได้เม่อื ความหนุม่ ยา่ งเข้ามาสสู่ตนเอง ได้เรียนรู้ความสมั พันธ์ของมนษุ ย์
เหมือนกับ...นางบาเรอ...นางบาเรอชั้นดีท่มี ีสามคี นเดยี ว ไม่ใชร่ ับผู้ชายเปรอะไป
หมดเชน่ พวกหญิงคนชั่ว มันต่างกนั ตรงน้เี ทา่ น้นั นอกนีแ้ ลว้ กไ็ ม่แตกตา่ งนกั แม่
เปน็ เคร่อื งรองรับอารมณข์ องพอ่ มาเมอ่ื ตอ้ งการแล้วจากไป กเ็ หมอื นผู้หญงิ ช่วั ๆ
พวกนน้ั มผี ู้ชายมาหาแล้วก็จากไป”
(โสภาค สวุ รรณ, 2532, น.24)

เม่อื พิจารณาจากตัวอย่างขา้ งต้น จะเห็นไดว้ ่าตวั อย่างดังกล่าวได้สะท้อนถึงการกดข่ีเพศตรง
ข้ามโดยการดูถูก เหยียดหยาม และลดคุณค่าของผู้หญิง ซึ่งอยู่ในฐานะเมียของตนเอง แม้จะเป็น
ภรรยาน้อยกต็ าม ดงั จะเห็นไดใ้ นวลี “นางบาเรอช้นั ดีที่มีสามีคนเดียว” หรือวลี “เป็นเคร่ืองรองรับ
อารมณ์ของพ่อ” ซึ่งก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งท่ีสะท้อนให้เห็นถึงความต้องการ และการใช้อานาจของ
เพศชาย ทถี่ ือสิทธ์ิครอบครอง ตีตรา การครอบครองอันเป็นลักษณะทางวัฒนธรรมที่แสดงถงึ ชายเป็น
ใหญ่

“หนา้ ที่ของตารวจคือรกั ษาชาตบิ า้ นเมอื ง ไม่ใชน่ อนกินเงนิ ข้าราชการ”
(โสภาค สุวรรณ, 2532)

เม่ือพจิ ารณาจากตัวอย่างข้างตน้ จะเห็นไดว้ ่าตัวอยา่ งดังกลา่ วแสดงใหเ้ หน็ ถงึ อุดมการณ์ของ
ตัวละคร ท่ีต้องการรักษาเกียรติ และศักด์ิศรีของอาชีพตารวจ ซึ่งสวนทางกับเหตุการณ์ในเรื่องที่
ตารวจมักจะใช้ความรุนแรง และกดขช่ี าวบา้ น อกี ทัง้ ยงั คบคิดกบั

"คณุ เขม้ ว่าผู้หญิงมามากแลว้ " หล่อนเร่ิมตน้ การเจรจา "ฉันจะว่าผู้ชายบา้ งละ
รู้หรือเปลา่ คะวา่ ผ้ชู ายน่ะเหน็ แก่ตวั และมพี ้นื ฐานทางอารมณ์เปน็ บคุ คล
ประเภทก้าวรา้ ว รุนแร ง ชอบแสดงอานาจเหนือผู้หญงิ โดยเฉพาะในปจั จุบัน
เมือ่ ผู้หญงิ มอี ิสระมากขน้ึ มีความสามารถ มีความรู้ และอดทนกว่าผชู้ าย
ผชู้ ายก็เกดิ อารมณ์เหลา่ น้รี นุ แรงเปน็ เงาตามตัว กฎหมายต่าง ๆ ท่อี อกมา
กล็ ้วนแตเ่ ปน็ ผูช้ ายคิดขน้ึ และตัดสนิ ให้เปน็ ไปตามนน้ั
(โสภาค สวุ รรณ, 2532)

อภปิ รายผล
จากหลักการของวาทกรรมที่ว่า ความรู้คืออานาจในการใช้พลังทางความคิด เพ่ือท่ีกาหนด

สร้างความถกู ต้องและความจรงิ ให้กับส่ิงต่างๆ ในสังคม จนกลายเป็นเร่ืองปกติธรรมดาท่ีคนท่ัวไป
ยอมรับอยา่ งไม่มีข้อสงสัย นาไปสู่การพิจารณาถึงส่งิ ทเี่ รียกวา่ วาทกรรมความรุนแรง ซ่ึงถือเป็นวาท
กรรมชนิดหน่ึง อันเกี่ยวข้องกับประเด็นเร่ืองอานาจ โดยเฉพาะอานาจท่ีมาจากการสื่อความหมาย
ทางภาษาการแสดงความคิด เพ่ือที่จะใช้ในการควบคุมระบบการส่ือความหมายของการแสดง
ความคดิ การศึกษาวาทกรรมความรุนแรงในงานวรรณกรรมของโสภาค สุวรรณ ซ่งึ ได้แสดงให้เห็นถึง
รูปแบบของอานาจทางความคิดที่แสดงผ่านภาษาในรูปแบบงานวรรณกรรม ที่ผู้แต่งได้คัดสรร
เคลอื บแฝง ดัดแปลงรปู คา หรือภาษา ในวรรณกรรมมาแล้วเป็นอยา่ งดีในรูปแบบที่เรียกว่า “วาท
กรรม” และเขาได้ใช้สิ่งเหล่าน้ี มาเป็นเครื่องมือในการต่อสู้ เบียดขับ หรือกดทับ ความรู้ความคิด
ชนิดอื่น เพ่ือครองความเป็นใหญ่ (Hegemony) เม่ือได้ศึกษางานวรรณกรรมของโสภาค สุวรรณด้วย
กรอบวาทกรรม และวาทกรรมเชงิ ทฤษฎีวพิ ากษ์ (CDA) แลว้ พบวา่ งานวรรณกรรมของเขาไดส้ ะทอ้ น
ใหเ้ ห็นภาพความทุกข์ยากของชนช้นั ล่าง ที่ต้องตอ่ สกู้ ับอานาจที่ไม่เป็นธรรม การเอารัดเอาเปรยี บกัน
ในสังคม และผลสุดท้ายก็คือชนช้ันล่างเป็นฝ่ายที่พ่ายแพ้ ทั้งท่ีกลุ่มชนช้ันล่างเป็นชนช้ันท่ีมีจานวน
มากทส่ี ุดในสงั คม แต่กลบั ไม่มโี อกาสจะเอาชนะอานาจเหลา่ น้ันซึ่งเป็นกล่มุ ทม่ี ีจานวนนอ้ ยได้เลย ซึ่ง
การสะท้อนภาพดังกล่าวของโสภาค สุวรรณ ตั้งอยู่บนพ้ืนฐานสังคมท่ีมีต้นแบบความคิด กระแส
ความคิด หรือกระบวนทัศน์ ของผู้ที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมจากสังคม เพื่อมาเป็นแนวทางในการ
สร้างสรรค์งานวรรณกรรมท่ีสะท้อนสภาพชีวิตและสังคม โดยได้ประกอบสร้างฉากชีวิตของผู้คนใน

สังคมที่เก่ียวข้องแวดล้อมไปด้วยบริบทของความรุนแรงรุมเร้าแทบทั้งสิ้น ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาความ
ยากจน ปัญหาความไม่สงบและสงครามของจังหวัดชายแดน ความพยายามในการต่อสู้ของชนช้ัน
ล่างกับกลุ่มอานาจที่ ไม่เป็นธรรม การถูกเอารัดเอาเปรียบ ตลอดจนการลดศักดิ์ศรคี วามเป็นมนุษย์
เพอื่ ทาให้ผู้อ่านเชอื่ รับรู้ และเข้าใจเกย่ี วกับความไม่เป็นธรรมทเี่ กดิ ข้ึนภายใต้ระบอบประชาธปิ ไตย
และในขณะเดยี วกันก็แสดงให้เห็นถงึ ความไม่เปน็ ธรรมที่เกิดข้ึนกบั ชนช้ันล่างในสังคม ยงั ได้สร้างส่ิงท่ี
เรียกว่า “วาทกรรม” แอบแฝงอยู่ในงานวรรณกรรมดงั กล่าวดว้ ย ซึ่งวาทกรรมดังกล่าวจะถกู ปดิ บัง
ซ่อนเร้นอย่างแนบเนียนในตัวบท และการศึกษาตัวบทด้วยทฤษฎีวาทกรรม วิเคราะห์เชิงวิพากษ์
(CDA) น้ัน ได้เปิดเผยให้เห็นถึงวาทกรรมความรุนแรงในวรรณกรรมอยา่ งชดั เจน โดยการศึกษาครั้ง
นพ้ี บว่ามีความรนุ แรง 3 รปู แบบที่แฝงอยู่ในตัวบท ได้แก่ วาทกรรมอานาจนิยม วาทกรรมความเป็น
หญงิ และวาทกรรมชายเป็นใหญ่ ซึ่งวาทกรรมทง้ั 3 รูปแบบนไี้ ด้สะท้อนผ่านงานวรรณกรรมไมว่ ่าจะ
เป็นภาพการถูกเอารัดเอาเปรียบภาพการลดศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ต่างก็เป็นส่ิงท่ีเคลือบแฝงวาท
กรรมความรุนแรง เพ่ือใช้เป็นอานาจในการควบคุม ครอบงา ตลอดจนการเชิดชูอานาจความรุนแรง
ภายใต้ภาพลักษณว์ รี บุรุษทีไ่ ม่เคยยอมแพ้

เอกสารอ้างอิง
ชยั วัฒน์ สถาอานนั ท์. (2551). ความรุนแรงกับการจดั การ “ความจรงิ ”: ปัตตานใี นรอบก่ึงศตวรรษ.

กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2545). สญั วทิ ยา โครงสรา้ งนยิ ม หลังโครงสรา้ งนยิ มกบั การศกึ ษา

รัฐศาสตร.์ กรุงเทพฯ: วิภาษา.
ประมวล รจุ นเสร.ี (2547). การใช้อานาจเป็นธรรมชาตขิ องมนุษย์. กรงุ เทพฯ:พิมพลักษณ์.
พลศกั ด์ิ จิรไกรศิร.ิ (2522). วรรณกรรมการเมือง. กรงุ เทพฯ: กราฟคิ อารต์ .
โสภาค สวุ รรณ. (2532). ปลุ ากง. กรุงเทพฯ: สานกั พิมพบ์ รรณกจิ


Click to View FlipBook Version