The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaplanfe, 2021-06-13 07:46:06

sc-22020

sc-22020

92

มากกว่าที่จะเข้าไปรุกราน ส่วนความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก เนื่องจากมีมหาอานาจ
ตะวันตกหลายประเทศต้องการติดต่อกบั กรุงศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาจึงสามารถใช้นโยบายการ
ถ่วงดุลอานาจอย่างได้ผลพอสมควร แต่บางคร้ังเม่ือการถ่วงดุลอานาจไม่ได้ผล กรุงศรีอยุธยา
กต็ อ้ งอาศัยการป้องกันการคุกคามจากมหาอานาจตะวันตกกอ่ นที่สถานการณร์ ้ายแรงจะเกิดขึน้

กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 1 ความสัมพันธก์ บั ต่างประเทศในสมยั กรุงศรอี ยุธยา
(ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเร่อื งที่ 1 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)

เร่อื งที่ 2 ความสมั พนั ธก์ บั ต่างประเทศในสมัยกรงุ ธนบรุ ี
ความสัมพันธก์ บั ตา่ งประเทศในสมยั กรงุ ธนบุรี
อาณาจักรกรุงธนบุรี แมจ้ ะดารงอยู่ไดเ้ พียง 15 ปี แตก่ รงุ ธนบรุ ีกไ็ ดม้ กี ารพัฒนา

ทางด้านความสัมพันธ์กับต่างประเทศอย่างรวดเร็ว ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัย
กรุงธนบุรี มีลักษณะสาคัญ 2 ประการ คือ 1) การป้องกันประเทศจากการรุกรานของต่างชาติ
2) การแผ่ขยายอานาจไปยังอาณาจักรข้างเคียง เป็นลักษณะการเผชิญหน้าทางการทหาร
เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงแก่บ้านเมือง ท้ังนี้เพ่ือประโยชน์ทางด้านความม่ันคงและความ
ปลอดภัยจากการรุกรานของข้าศึก อีกท้ังเพ่ือประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและการค้าของ
อาณาจกั รธนบรุ ี

ลักษณะความสัมพันธ์กับต่างชาติสมัยกรุงธนบุรีเป็นความสัมพันธ์ที่เกิด ข้ึน
ในระยะส้ัน ๆ เพียง 15 ปี ได้แก่ ความสัมพันธ์กับรัฐเพื่อนบ้าน ความสัมพันธ์กับประเทศ
ในทวปี เอเชยี และความสัมพันธ์กบั ประเทศในทวีปยโุ รป

1. ความสัมพนั ธก์ บั รัฐเพอื่ นบ้าน
1.1 ความสมั พันธก์ บั พม่า
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่าในสมัยกรุงธนบุรี จะเป็นไปในรูปของ

ความขัดแย้ง การทาสงคราม โดยไทยเป็นฝ่ายตั้งรับการรุกรานของพม่า หลังจากได้รับเอกราชต้อง
ทาสงครามกับพม่าถึง 10 คร้ัง ส่วนใหญ่พม่าเป็นฝ่ายปราชัย ครั้งสาคัญท่ีสุด คือ ศึกอะแซหวุ่นก้ี
ตเี มอื งเหนอื ในปี พ.ศ. 2318 คร้ังนั้น เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลท่ี 1) และเจ้าพระยาสุรสีห์ สองพ่ีน้อง
ได้ร่วมกันป้องกันเมืองพิษณุโลกอย่างสุดความสามารถ แต่พม่ามีกาลังไพร่พลเหนือกว่าจึงตีหัก
เอาเมอื งได้

ความขัดแยง้ ระหว่างไทยกบั พม่า เกิดข้ึนเกือบตลอดรัชกาล ในสมัยกรุงธนบุรี
และเปน็ บอ่ เกิดของสงคราม ดังนี้

ครง้ั ที่ 1 ปี พ.ศ. 2310 เป็นการรบที่คา่ ยโพธิ์สามต้น ก่อนหน้าท่ีจะสถาปนา
กรุงธนบุรี ไทยเป็นฝ่ายชนะ เปน็ การกอบก้เู อกราชของพระเจา้ ตากสินมหาราช

93

ครั้งท่ี 2 ปี พ.ศ. 2310 เป็นการรบกันท่ีบางกุ้ง เขตแดนระหว่างเมือง
สมทุ รสงครามกบั ราชบุรี ไทยเป็นฝา่ ยชนะ

ครง้ั ท่ี 3 ปี พ.ศ. 2313 เป็นการรบเม่ือพม่าตีเมืองสวรรคโลก ไทยสามารถตี
กองทัพพมา่ แตกพ่ายหนไี ป

คร้ังท่ี 4 ปี พ.ศ. 2313 เป็นการรบเมื่อครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ยกทัพไปตนี ครเชียงใหมค่ ร้งั แรก แตไ่ ม่ประสบผลสาเรจ็ เน่อื งจากขาดเสบียง

ครั้งท่ี 5 ปี พ.ศ. 2315 เป็นการรบเม่ือพม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัย ในคร้ังแรก
โปสุพลา แม่ทัพพม่ายกทัพไปช่วยเมืองเวียงจันทน์รบกับหลวงพระบาง ขากลับแวะตีเมืองพิชัย
แตพ่ ม่ากลับถกู ไทยตีแตกพ่ายไป

ครงั้ ท่ี 6 ปี พ.ศ. 2316 เป็นการรบเม่ือพม่ายกทัพมาตีเมืองพิชัย เป็นคร้ังที่ 2
แตก่ องทัพพมา่ ตีไม่สาเร็จ กองทัพไทยตีทัพพม่าแตกพ่ายไปในการรบคร้ังนี้พระยาพิชัย ได้ต่อสู้
จนได้วรี กรรม เปน็ ทีร่ จู้ กั กนั ทั่วไปในนาม “พระยาพิชยั ดาบหัก”

ครั้งที่ 7 ปี พ.ศ. 2317 เป็นการรบกับพม่าเม่ือไทยยกทัพไปตีเมืองเชียงใหม่
ครั้งที่ 2 ปรากฏว่า กองทัพไทยชนะ ยึดนครเชียงใหม่กลับคืนจากพม่าได้ เพราะชาวล้านนาออกมา
สวามิภักดิก์ บั ไทย สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงแต่งตั้งให้ พระยาจ่าบ้าน เป็น พระยาวิเชียร-
ปราการ ปกครองนครเชียงใหม่ พระยากาวิละ ซึ่งเป็นต้นราชวงศ์กาวิละ ปกครองนครลาปาง และ
พระยาลาพูน เปน็ พระยาวยั วงศา ปกครองเมอื งลาพูน การรบในคร้ังน้ีได้เมืองเชียงใหม่ ลาปาง
ลาพูน และน่าน กลับมาอยใู่ นราชอาณาจักรไทย

คร้ังที่ 8 ปี พ.ศ. 2318 เป็นการรบกับพม่าท่ีบางแก้ว ราชบุรี ในขณะ
เดินทพั สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช ตรัสว่า “อย่าให้ผู้ใดแวะบ้านเรือนเด็ดขาด” แต่พระยาโยธา
ขัดรับสั่งแวะเข้าบ้าน เม่ือพระองค์ทรงทราบจึงพิโรธ ทรงตัดศีรษะพระยาโยธาด้วยพระหัตถ์
ของพระองค์ และนาศีรษะไปเสียบประจานท่ีป้อมวิชัยประสิทธิ์ ในการรบครั้งน้ีกองทัพพม่าถูก
กองทัพไทยตีแตกพ่ายกลบั ไป

ครั้งที่ 9 ปี พ.ศ. 2319 เป็นการรบกับพม่าครั้งสาคัญ เพราะการ
ทาสงครามครั้งน้ีศึกใหญ่กว่าทุกครั้ง ในสมัยกรุงธนบุรี การรบครั้งนี้กองทัพพม่ามีแม่ทัพ คือ
อะแซหวุ่นกี้ เป็นผู้นาท่ีเช่ียวชาญศึก ยกทัพมาตีหัวเมืองทางเหนือของไทย ฝ่ายกรุงธนบุรีมี
แม่ทัพหนา้ ท่ีสาคญั คือ เจา้ พระยาจกั รี (ทองดว้ ง) (ต่อมา คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า-
จุฬาโลกมหาราช) และเจ้าพระยาสุรสีห์พิษณวาธิราช (บุญมา) ในการรบครั้งนี้พม่ายกพลมา
30,000 คน เข้าล้อมเมืองพิษณุโลก อีก 5,000 คน ล้อมเมืองสุโขทัย ส่วนเมืองพิษณุโลก มีพล
ประมาณ 10,000 คน เท่านั้น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงยกทัพไปช่วยรบหลายคร้ัง
แตพ่ มา่ ไมส่ ามารถยึดเมืองพษิ ณโุ ลกได้ ต้องยกทัพกลับไป

คร้ังที่ 10 ปี พ.ศ. 2319 เป็นการรบเม่ือพม่ายกทัพมาตีเมืองเชียงใหม่
พระเจ้าจิงกูจา โปรดให้เกณฑ์ทัพพม่า มอญ 6,000 คน ยกมาตีเมืองเชียงใหม่ เม่ือปี พ.ศ. 2319

94

พระยาวิเชียรปราการได้พิจารณาเห็นว่า นครเชียงใหม่ไม่มีพลมากมายขนาดท่ีจะป้องกันเมืองได้
จึงให้ประชาชนพลเรือนอพยพลงมาอยู่ท่ีเมืองสวรรคโลก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้พระยาสุรสหี ์คุมกองทัพเมืองเหนอื ขนึ้ ไปสมทบกองกาลังพระยากาวิละ เจ้าเมือง
นครลาปาง ยกไปตีเมืองเชียงใหม่คืนสาเร็จ และทรงปล่อยให้นครเชียงใหม่เป็นเมืองร้างถึง 15 ปี
จนถึงสมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์จึงได้ฟน้ื ฟูข้ึนอีกครงั้

ตลอดเวลาตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2310 - 2319 อาณาจักรธนบุรีต้องทาสงคราม
เพื่อปกป้องอาณาจักรไทยให้พ้นจากการคุกคามของกองทัพพม่า โดยที่กองทัพพม่าไม่สามารถ
ยึดครองเอาดินแดนของกรุงธนบุรีได้ จึงนับว่าอานาจทางการทหารและกองทัพไทยมีความเข้มแข็ง
จนพม่าไม่อาจเอาชนะไทยได้

1.2 ความสัมพันธ์กับกัมพูชา กัมพูชาเป็นเมืองขึ้นของไทยมาต้ังแต่สมัย
กรุงศรีอยุธยา หลังกรุงศรีอยุธยาเสียกรุงให้แก่พม่าในปี พ.ศ. 2310 กัมพูชาก็ตั้งตนเป็นอิสระ
จากไทย แต่คร้ันเวลาล่วงมา 2 ปี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้ยกกองทัพไปตีเมือง
เสียมราฐ และพระตะบอง ได้ทั้ง 2 เมือง สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดี กษัตริย์กัมพูชาใน
ขณะนั้นส่งกองทัพกัมพูชาโจมตีเมืองตราด เมืองจันทบุรี แต่ไม่สาเร็จเพราะถูกกองทัพจันทบุรี
ตีแตกพ่ายไปสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงให้ยกทัพไปตีกัมพูชา การรบคร้ังนี้ไทยจึงได้
เมอื งบนั ทายมาศ จากน้ันจึงเตรียมการเข้าโจมตีเมืองพนมเปญ อีกท้ังให้พระยาจักรี ยกทัพไปตี
เมืองพระตะบอง เมืองโพธิสัตว์ เมืองบริบูรณ์ และเมืองบันทายเพชร สมเด็จพระนารายณ์รามาธิบดี
เห็นว่าสู้ไม่ได้จึงทิ้งเมืองบันทายเพชรหนีไปขอพึ่งญวนให้มาช่วยรบกับไทย สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
จึงยกทัพตีได้เมืองพนมเปญ และทรงอภิเษกพระรามราชา พระราชวงศ์ของสมเด็จพระนารายณ์-
รามาธบิ ดี เปน็ กษตั ริย์กัมพชู าโดยขนึ้ ตรงต่อกรงุ ธนบรุ ี

ต่อมาในปี พ.ศ. 2323 เกิดการแย่งชิงอานาจในอาณาจักรกัมพูชา ทาให้
เกิดการจลาจลข้นึ กษัตรยิ ์กมั พชู าที่กรุงธนบุรีให้การสนับสนุนถูกสาเร็จโทษในปี พ.ศ. 2322 ทาให้
กัมพูชาตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของญวน สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรงโปรดเกล้าฯ
ใหส้ มเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั ริย์ศึก (ทองด้วง) เป็นแม่ทัพใหญ่ และเจ้าพระยาสุรสีห์ เป็นแม่ทัพหน้า
ยกทัพไปตีกัมพูชา ในปี พ.ศ. 2323 และหากตีกัมพูชาได้แล้ว โปรดให้สมเด็จเจ้าพระยามหา-
กษัตริย์ศึกจัดการอภิเษกให้เจ้าฟ้ากรมขุนอินทรพิทักษ์ พระราชโอรสข้ึนเป็นกษัตริย์ครองกัมพูชา
แต่ขณะท่ีกองทัพไทยกาลังจะตีกัมพูชาอยู่นั้น เกิดการจลาจลในกรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าพระยา-
มหากษัตริย์ศึก ซึ่งเป็นแม่ทัพใหญ่จาเป็นต้องยกทัพกลับกรุงธนบุรี สงครามระหว่างไทยกับ
กัมพชู าจงึ ยุติลง

1.3 ความสัมพันธ์กับล้านช้าง (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวใน
ปจั จบุ นั )

ในสมัยน้ี พระยานางรอง เจ้าเมืองนางรอง ซึ่งเป็นเมืองข้ึนของเมืองนครราชสีมา
ได้เอาเมืองนางรองไปขึ้นต่อเจ้าโอ เจ้าเมืองนครจาปาศักด์ิ ซ่ึงตั้งตนเป็นอิสระในสมัยนั้น อาณาจักร

95

ล้านช้างมีปัญหาภายในราชวัง จึงได้แตกพรรคพวก ได้แบ่งเป็น 3 อาณาจักร ได้แก่ หลวงพระบาง
เวียงจันทน์ และจาปาศักดิ์ ทาให้อาณาจักรล้านช้างอ่อนกาลังลง พระเจ้าตากสินมหาราชได้ที
เลยหาขอ้ อ้างทาศึกกับล้านช้าง การทาศึกกบั ลา้ นชา้ งเกิดขน้ึ 2 ครั้ง ดังนี้

การตีเมืองจาปาศักด์ิ ในปี พ.ศ. 2319 สาเหตุเนื่องจากพระยานางรอง
(คาดว่าเป็นเมืองนครนายก) เกิดขัดใจกับเจ้าเมืองนครราชสีมา จึงคิดกบฏต่อไทยไปขอข้ึนกับ
เจ้าโอ เจ้าเมืองจาปาศักด์ิ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงทรงโปรดให้ เจ้าพระยาจักรี ยกทัพ
ไปตีเมืองนางรอง เจา้ เมืองนางรองถูกจับประหารชวี ิต ในปี พ.ศ. 2320 และโปรดให้เจา้ พระยาสุรสีห์
ยกทัพไปปราบนครจาปาศักดิ์ทเ่ี ตรียมยกทพั มาตเี มืองนครราชสีมาหรือเมืองใดเมืองหน่ึง มีผลทาให้
กรุงธนบุรี ได้เมืองจาปาศักดิ์ เมืองอัตตะปือ สุรินทร์ สังขะ และขุขันธ์ เป็นเมืองข้ึน หลังจาก
เสร็จสงคราม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช โปรดให้เลื่อนเจ้าพระยาจักรี เป็น สมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พิฤกมหิมา ทุกนัครระอาเดช นเรศรราชสุริยวงษ์ องค์อรรถบาท
มุลิกากร บวรรตั นปรินายก ดารงตาแหนง่ สมหุ นายก นับเป็นการพระราชทานยศสูงท่ีสุดเท่าท่ี
เคยมี

ในปี พ.ศ. 2321 เจ้านครเวียงจันทน์แห่งล้านช้างส่งกองทัพมารับ พระวอ
เสนาบดีเมืองเวียงจันทน์ พระวอ จึงพาสมัครพรรคพวกหนีมาอ่อนน้อมต่อกรุงธนบุรี โดยมาต้ัง
ถิ่นฐานอยู่ท่ี ตาบลดอนมดแดง ริมแม่น้ามูล จังหวัดอุบลราชธานี และเจ้าสิริบุญสารได้ส่งกองทัพ
มาปราบและจับพระวอฆ่าจนเสียชีวิต สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จึงโปรดให้ สมเด็จ
เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ ึก และพระยาสรุ สีห์ ยกทพั ไปตเี มืองเวียงจันทน์ได้เป็นผลสาเร็จ ขณะที่ไทย
ยกทัพไปนั้น เจ้าร่มขาว เจ้าผู้ครองหลวงพระบาง มาขอสวามิภักด์ิต่อไทย และส่งกองทัพมาช่วยตี
เวียงจันทน์ เจ้าสิริบุญสาร สู้ไม่ได้จึงหลบหนีไป ทาให้กรุงธนบุรีได้เมืองเวียงจันทน์ หลวงพระบาง
และหัวเมืองอื่น ๆ ที่อยู่ติดกับอาณาจักรญวนเป็นหัวเมืองประเทศราช นอกจากนี้สมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้อัญเชิญ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร (พระแก้วมรกต) และพระบาง
ซึ่งประดษิ ฐานอย่ทู ่ีเวียงจันทน์กลบั มาประดษิ ฐานทกี่ รุงธนบรุ ี

1.4 ความสัมพันธ์กับล้านนา ล้านนาเป็นเมืองที่กองทัพพม่าเข้ามาคุกคาม
บ่อยคร้ัง แต่ไทยก็พยายามขับไล่พม่าออกไปจากล้านนาได้สาเร็จทุกครั้ง แต่ไทยก็ไม่สามารถ
รักษาเมืองล้านนาไว้ได้ เพราะเมื่อทัพกรุงธนบุรีออกจากเมืองล้านนา ทัพพม่าก็เข้ามาคุกคาม
เมืองล้านนาอีก สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเห็นว่าเมืองล้านนาเป็นเมืองซ่ึงพม่าใช้เป็นฐาน
ทัพทุกครั้งท่ีพม่ายกทัพมาตีเมืองไทย ทุกคร้ังท่ีพม่ามารบกับไทย พม่าจะใช้เมืองล้านนาเป็น
สถานท่ีเกบ็ คลังเสบียง ดังน้ัน ในปี พ.ศ. 2317 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงต้องทรงยกทัพไป
ตีเมืองเชียงใหม่ และเมื่อตีเมืองเชียงใหม่ได้สาเร็จ เมืองล้านนาก็เป็นอิสระ โดยมีกรุงธนบุรี
คมุ้ ครองปอ้ งกัน

1.5 ความสัมพันธ์กับมลายู หลงั จากกรงุ ศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ในปี พ.ศ. 2310
หวั เมืองมลายู ไดแ้ ก่ เมืองปตั ตานี ไทรบรุ ี กลันตนั และตรงั กานู ท่ีเคยเป็นเมืองข้ึนของไทยมาตลอด

96

สมัยกรุงศรีอยุธยา ได้ต้ังตนเป็นอิสระในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยกทัพไปตี
เมืองนครศรีธรรมราช สงขลา พัทลุง แต่มิได้ยกทัพไปตีเมืองมลายู มีแต่ออกอุบายให้เจ้าพระยา-
นครศรธี รรมราชไปยมื เงินเมืองปัตตานี และไทรบุรี เมืองละ 1,000 ช่ัง สาหรับท่ีจะซ้ือเครื่องศาสตราวุธ
เพือ่ หยงั่ ท่าทพี ระยาไทรบุรี และพระยาปัตตานี ดูว่าจะทาประการใด แต่ท้ังสองเมืองไม่ยอมให้ขอยืม
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกม็ ิได้ยกทพั ไปตีหวั เมืองมลายู เพราะเห็นว่าขณะนั้นเป็นการเกิน
กาลังของพระองค์ท่จี ะยกทพั ไปปราบ จึงปล่อยใหห้ ัวเมืองมลายเู ปน็ อิสระตอ่ ไป

1.6 ความสมั พนั ธ์กบั จีน คนไทยกับคนจนี ในสงั คมไทยสมัยกรุงธนบุรีต่างก็มี
ความสัมพันธภาพอันดี เพราะท้ังสองฝ่ายนับถือพระพุทธศาสนาเหมือนกัน แม้จะต่างนิกายก็ตาม
แม้แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงมีเช้ือสายจีนทางพระบิดา อีกท้ังทหารไทยและจีน
ตา่ งร่วมป้องกันกรุงธนบุรีในการสู้รบกับพม่า แต่ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่ของไทยกับจีนเป็นเร่ือง
การค้าขาย ในสมัยกรุงธนบุรี ปรากฏว่า มีสาเภาของพ่อค้าจีนเข้ามาติดต่อค้าขายตลอดรัชกาล
และทางไทยก็ได้เอาใจใส่ในการทานุบารุงการค้าขายทางเรือเป็นอย่างมาก สมเด็จพระเจ้าตากสิน-
มหาราช ทรงส่งสาเภาหลวงออกไปทาการติดต่อค้าขายกับเมืองจีนอยู่เสมอ นับได้ว่าจีนเป็นชาติท่ี
สาคัญท่ีสุดที่ติดต่อทางการค้าด้วย ในสมัยกรุงธนบุรี ในปี พ.ศ. 2324 สมเด็จพระเจ้าตากสิน-
มหาราช ได้ทรงส่งคณะทูตชุดหนึ่ง มีเจ้าพระยาศรีธรรมาธิราช เป็นหัวหน้าคณะ ออกไปเจริญ
สมั พันธไมตรกี บั พระเจา้ กรุงจีน ในแผน่ ดินพระเจา้ เกาจงสุนฮอ่ งเต้ (พระเจ้ากรุงต้าฉิ่ง) ณ กรุงปักก่ิง
เพื่อขอให้ทางจีนอานวยความสะดวกให้แก่ไทยในการจัดแต่งสาเภาหลวง บรรทุกสินค้าออกไป
ค้าขายท่ีเมืองจีนต่อไป โดยขอให้จีนยกเว้นค่าจังกอบและขอซ้ือสิ่งของบางอย่าง เช่น อิฐ เพื่อ
นามาใช้ในการสร้างพระนคร และขอให้ทางจีนช่วยหาต้นหนสาเภา สาหรับจะแต่งเรือออกไป
ซื้อทองแดงท่ีประเทศญ่ีปุ่น เข้ามาใช้สร้างพระนครเช่นเดียวกัน ปรากฏว่า คณะทูตไทยที่ออกไป
เจริญสัมพันธ์ทางพระราชไมตรีกับพระเจ้ากรุงจีนคร้ังนี้คุมเรือสาเภาบรรทุกสินค้าออกไปด้วยถึง
11 ลา ในพระราชสาส์นท่ีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงมีไปยังพระเจ้ากรุงต้าฉิ่งในคร้ังน้ัน
ปรากฏในจดหมายเหตุจีนว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงออกพระนามของพระองค์เองเป็น
ภาษาจีนว่า “แต้เจียว” มีคาเต็มว่า เสี้ยมหลอก๊กเจียงแต้เจียว ความสัมพันธ์ระหว่างกรุงธนบุรี
และจนี กอ่ ให้เกิดผลดีในด้านเศรษฐกิจของกรุงธนบุรี เนื่องจากพ่อค้าจีนสามารถเดินทางเข้ามา
ค้าขายได้สะดวก ทาให้เศรษฐกิจของประเทศฟ้ืนตัวได้รวดเร็ว ด้านการเมืองทาให้ฐานะของ
สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช มีความชอบธรรม และด้านความมั่นคง ทาให้กรุงธนบุรีสามารถ
ซ้ือยุทธปัจจัย เช่น กามะถันและกระทะเหล็กจากจีน เพื่อนามาทาปืนใหญ่ไว้ต่อสู้กับข้าศึก
โดยเฉพาะพม่าสาหรบั ปอ้ งกันอาณาจักร เปน็ ต้น

97

2. ความสัมพนั ธ์กบั ประเทศในทวีปยุโรป
2.1 ความสัมพันธ์กับฮอลนั ดา
ในปี พ.ศ. 2313 ชาวฮอลันดาจากเมืองปัตตาเวีย (จาการ์ตา) และพวกแขก

เมอื งตรังกานู ไดเ้ ข้าเฝ้าฯ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เพือ่ ถวายปืนคาบศิลา จานวน 2,200 กระบอก
และต้นไม้เงินต้นไมท้ อง เปน็ การแสดงความสัมพันธไมตรีทด่ี ตี อ่ กัน

2.2 ความสมั พนั ธก์ บั อังกฤษ
ในตอนปลายสมัยกรุงธนบุรี มีความสัมพันธ์กับอังกฤษ แต่มิได้เป็น

การค้าขายกบั พ่อคา้ องั กฤษเหมอื นสมัยกรงุ ศรอี ยธุ ยา บรรดาฝรงั่ ชาตติ า่ ง ๆ ทเ่ี ดินทางเข้ามาค้าขาย
ในเอเชียมีการแย่งชิงอานาจทางการค้ากันเป็นอันมาก ด้วยเหตุนี้ อังกฤษจึงมีความประสงค์ท่ี
จะได้สถานที่ตั้งทางด้านแหลมมลายูสักแห่ง สาหรับทาการค้าขายแข่งกับพวกชาวฮอลันดา
อังกฤษเห็นว่า เกาะหมาก (ปีนัง) มีความเหมาะสม จึงได้พยายามเจรจาเกลี้ยกล่อมกับพระยาไทรบุรี
ผู้มอี านาจปกครองเกาะน้ีเพือ่ จะขอเชา่ ในปี พ.ศ. 2319 พ่อค้าชาวอังกฤษช่ือ ร้อยเอก ฟรานซิส ไลต์
หรือท่ีไทยเรียกว่า กะปิตันเหล็ก ซ่ึงสานักกรุงธนบุรีติดต่อให้เป็นผู้จัดหาอาวุธให้ไทยสาหรับใช้
ต่อสู้กับพม่า ภายหลัง ฟรานซิส ไลต์ ได้รับพระราชทานยศเป็น พระยาราชกปิตัน ในฐานะที่มี
ความดีความชอบเป็นผู้จัดหาอาวธุ ใหก้ ับไทย

2.3 ความสัมพนั ธก์ ับโปรตเุ กส
กรุงธนบุรีมีความสัมพันธ์ด้านการค้าขายกับโปรตุเกส โดยมีหลักฐาน

ปรากฏในจดหมายเหตขุ องบาทหลวงฝร่งั เศสซง่ึ เขา้ มาอยู่ในกรงุ ธนบุรีในตอนน้ัน มีความตอนหนึง่ วา่
เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2322 มีเรือแขกมัวร์จากเมืองสุรัต ซ่ึงขณะน้ันเป็นเมืองข้ึนของ
โปรตุเกสเข้ามาค้าขาย ณ กรุงธนบุรี และท่ีภูเก็ตมีพวกโปรตุเกสอยู่ 2-3 คน อยู่ในความปกครอง
ของบาทหลวงฟรังซิสแกงของโปรตุเกส จึงอาจเชื่อได้ว่า ในสมัยกรุงธนบุรีไทยได้มีการติดต่อ
ค้าขายสมาคมกับชาวโปรตุเกสอยู่บ้าง โดยทางไทยได้เคยส่งสาเภาหลวงออกไปค้าขายยัง
ประเทศอินเดียจนถึงเขตเมืองกัว เมืองสุรัต อันเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสอยู่ในครั้งนั้น แต่ทว่า
ในตอนนั้นยังมิได้ถึงกับมีการส่งทูตเข้ามาหรือออกไปเจริญทางสัมพันธไมตรีอย่างเป็นทางการ
แตอ่ ย่างใด

กล่าวได้ว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยสมัยกรุงธนบุรี โดยส่วนใหญ่
จะมีความสัมพันธ์กับอาณาจักรทวีปเอเชียท่ีเป็นประเทศเพ่ือนบ้านใกล้เคียง เพราะเป็นช่วงที่ไทย
ต้องทาการสู้รบกับอาณาจักรเพ่ือนบ้านหลายคร้ัง ภายหลังจากการเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า
ในปี พ.ศ. 2310 ทั้งนี้ เพื่อความมั่นคงและป้องกันอาณาจักรให้พ้นจากถูกยึดครองของข้าศึกศัตรู
และในขณะเดียวกันก็เป็นการขยายพระราชอาณาเขตออกไปให้กว้างขวาง ความสัมพันธ์กับ
ประเทศเพอ่ื นบ้านในทวีปเอเชียสาหรับกรุงธนบุรี ก็เพื่อผลประโยชน์ทางด้านการค้า

98

สาหรับความสัมพันธ์กับประเทศในทวีปยุโรปน้ัน กรุงธนบุรียังไม่ได้
มีความสัมพันธ์กับทวีปยุโรป (ชนชาติตะวันตก) ในทางการทูต แต่สมเด็จพระเจ้าตากสิน-
มหาราชทรงเปิดโอกาสให้บาทหลวงชาติตะวันตกท่ีนับถือคริสต์ศาสนา นิกายโรมันคาทอลิก
เข้ามาเผยแผ่ศาสนาในกรุงธนบุรีได้ และในบางครั้งก็ให้บาทหลวงได้มีโอกาสแลกเปล่ียนความ
คิดเหน็ และกราบทลู เก่ยี วกบั เรอื่ งศาสนาแด่พระองคอ์ กี ดว้ ย

กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 2 ความสมั พันธ์กับต่างประเทศในสมยั กรุงธนบรุ ี
(ใหผ้ ูเ้ รียนไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองที่ 2 , 3 , 4 ที่สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)

99

บรรณานกุ รม

กฎหมายตรา 3 ดวง เล่ม 1 ฉบบั พมิ พม์ หาวิทยาลยั วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง.
กรุงเทพฯ : สุขภาพใจ. 2548.

กรมศลิ ปากร. วรรณกรรมสมยั กรงุ ศรอี ยุธยา เล่ม 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภา
ลาดพร้าว, 2540.

การกอบกเู้ อกราชของพระเจ้าตาก. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://oil003love.
wordpress.com/2013/09/23//. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มูล : 29 มีนาคม 2561).

การสงครามสมยั พระเจ้ากรงุ ธนบุรี. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://th.
wikipedia.org/wiki/. (วนั ท่คี ้นข้อมลู : 29 มนี าคม 2561).

การสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
https://siwakon19. wordpress. com/ tag/. (วันท่คี ้นข้อมูล : 26
มีนาคม 2561).

การเสยี กรุงศรีอยธุ ยาครั้งที่ 2. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://th.
wikipedia.org/wiki/. (วนั ที่ค้นข้อมลู : 29 มนี าคม 2561).

ขนุ รองปลัดชู. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki. (วันท่ี
คน้ ขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561).

ความสมั พันธก์ ับต่างชาตสิ มยั กรงุ ธนบรุ ี.. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : (วนั ที่ค้นข้อมลู
: 26 มนี าคม 2561).

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างอาณาจักรอยธุ ยาชาติตะวนั ตก. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
SITES.google.com = (วันท่คี น้ ข้อมูล : 26 มีนาคม 2561).

ความสาคัญของสถาบันกษัตรยิ ์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://www.
chaoprayanews.com/ 2013/04/12/. (วันทีค่ น้ ข้อมลู : 28มนี าคม
2561).

คกึ ฤทธ์ิ ปราโมช, ม.ร.ว.. คาอธิบายว่าดว้ ย “สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์”.
[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.siamrath.co.th/n/4768.
(วนั ท่คี น้ ข้อมลู : 29 มีนาคม 2561).

ชัยสิทธ์ิ ปะนันวงค์. “สมยั สุโขทยั ” ประวัติศาสตร์ชาติไทย. กรมศลิ ปกร,
กระทรวงวฒั นธรรม. 2558.

ชาลี ชลยี า. “วนั ส้นิ ชาติ” . [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://www.gotoknow.
org/posts /422909; (วันที่คน้ ข้อมูล : 28 มีนาคม 2561).

ดนยั ไชยโผด. พระมหากษตั ริยไ์ ทย ธ ทรงครองใจไทยทงั้ ชาติ. กรงุ เทพฯ :
สานกั พิมพ์โอเดียนส์สโตร, 2553.

100

ธานินทร์ พรอ้ มสุข และกาญจน์มณี จรุงพรสวัสด์ิ. (โรงเรยี นสตรศี รสี ุรโิ ยทยั ).
[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : http://www.thaigoodview.com/
node/45064. (วันท่คี ้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

บณั ฑิต ล่ิวชัยชาญ และสุรยิ า สุดสวาท. “แผน่ ดนิ ผูค้ น และพัฒนาการบา้ นเมอื ง
ในดนิ แดนประเทศไทย” ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทย; กรมศิลปกร, กระทรวง
วฒั นธรรม; พ.ศ. 2558.

บางระจัน. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/. (วนั ทค่ี ้น
ข้อมลู : 27 มนี าคม 2561).

ประวตั ศิ าสตร์. แจกฟรี (เฉพาะครูผ้สู อน). กรุงเทพฯ : บรษิ ทั อักษรเจริญทัศน์ จา
กัด.ม.ป.ป.

ประวัติศาสตร์ไทย/ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยสมัย. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http://th.wikibooks.org/wiki /ธนบุร.ี (วันทค่ี น้ ข้อมลู : 27 มนี าคม
2561).

ประวัติศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://th.wikipedia.org/wiki/. (วนั ทคี่ น้ ข้อมลู : 28มีนาคม 2561).

พระเจ้าตะเบง็ ชะเวตี้. . [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://th.wikipedia.org/wiki/. (วนั ท่คี ้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

พระพุทธศาสนาสมยั สุโขทยั . [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
https://www.baanjomyut. com/ library_2/extension-
1/buddhism_to_the_country/10.html. (วนั ท่ีค้นข้อมลู : 28มนี าคม
2561).

พระพุทธศาสนาสมยั อยุธยา. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://www.baanjomyut. com/ library_2/extension-
1/buddhism_to_the_country/13.html. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 28มีนาคม
2561).

พระมหากษัตรยิ ์/ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกยี่ วกบั สถาบนั กษัตรยิ ์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก
: https://th.wikibooks.org/wiki/. (วันทคี่ น้ ข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

พระยาพิชยั ดาบหัก. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/
(วันที่คน้ ข้อมลู : 27 มนี าคม 2561).

พระราชพงศาวดารกรงุ ศรอี ยุธยา ฉบบั พันจนั ทนมุ าศ (เจิม) และเอกสารอ่นื .
นนทบรุ ี : ศรปี ญั ญา, 2559.

พระราชพงศาวดารกรุงศรอี ยุธยา ฉบับพนั จนั ทนมุ าส (เจมิ ) และเอกสารอนื่ .
นนทบุรี : ศรปี ญั ญา, 2559.

101

พระสพุ รรณกัลยา. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วันท่ีค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วันท่คี ้นข้อมลู : 28มนี าคม 2561).

พุทธประวัต,ิ สานกั งานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก :
www.onb.go.th. (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

มคี วามรกั ชาติ ศาสน์ พระมหากษัตริย์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก :
https://sites.google.com/
site/rakchatisasnphramhaksatriy/home/ khwam-hmay. (วันทีค่ น้
ข้อมูล : 26 มนี าคม 2561).

มลู นธิ สิ มเด็จพระเทพรตั นราชสุดา. นามานุกรมพระมหากษตั ริย์ไทย. พิมพ์คร้ังที่ 1.
กรุงเทพฯ : นานมบี ุ๊คสพ์ ับลิเคชนั่ , 2554

ยทุ ธหตั ถี. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/. (วนั ทีค่ น้
ขอ้ มลู : 29 มีนาคม 2561).

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย. [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วนั ที่คน้ ขอ้ มลู : 28มนี าคม 2561).

ศาสนาคริสต์ในประเทศไทย. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org
/wiki/ (วนั ทค่ี ้นขอ้ มลู 28 มนี าคม 2561.

ศาสนาพทุ ธในประเทศไทย. . [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก :
www.dhammathai.org/ thailand/ thailand.php/. (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู :
27 มนี าคม 2561).

ศาสนาอสิ ลาม. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ (วันท่ี
ค้นข้อมลู : 28มนี าคม 2561).

ศาสนาอสิ ลามในประเทศไทย. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
https://th.wikipedia.org /wiki/. (วนั ท่คี ้นขอ้ มูล : 28มีนาคม 2561).

ศุทธิรตั น์ ทองภูมพิ ันธ์. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่ 5 อยุธยากับความสมั พันธ์
ระหว่างประเทศ. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :
http://th.wikibooks.org/wiki. (วนั ท่คี ้นข้อมูล : 27 มนี าคม 2561).

สงครามชา้ งเผือก. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วนั ทคี่ ้นข้อมูล : 28 มีนาคม 2561).

สงครามยทุ ธหตั ถี. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วันที่ค้นข้อมลู : 29 มนี าคม 2561).

102

สถาบนั กษตั ริย์. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://positioningmag.com/11370/ (วนั ท่ีคน้ ข้อมลู : 28มีนาคม
2561).

สถาบนั พระปกเกล้า. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://wiki.kpi.ac.th/. (วนั ทค่ี น้
ขอ้ มูล : 28 มนี าคม 2561).

สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบรุ ี. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วันที่ค้นข้อมูล : 27 มีนาคม 2561).

สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วันท่ีคน้ ขอ้ มูล : 27 มีนาคม 2561).

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มูล : 27 มนี าคม 2561).

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://th.wikipedia.
org/wiki/. (วันทค่ี น้ ขอ้ มลู : 28 มีนาคม 2561)

สมเด็จพระสุริโยทัย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วนั ทีค่ น้ ข้อมลู : 27 มีนาคม 2561).

สมพร เทพสิทธา. ดวงประทีปจากพระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระ
เจ้าอยหู่ ัว. กรงุ เทพฯ : พิมพส์ วย, 2549. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก :
http://dharma.thaiware.com/ mobile/article_mobile_detail.
php?article_id=270. (วันทีค่ ้นขอ้ มูล : 26 มนี าคม 2561)

สานักงานราชบณั ฑติ ยสภา. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก : www.royin.go.th, (วันทค่ี ้น
ขอ้ มลู : 26 มีนาคม 2561

สานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ. สรปุ ผลทส่ี าคัญการสารวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม
พ.ศ. 2554. สานักงานสถติ ิแห่งชาติ คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
2555.

อาณาจักรอยุธยา. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/.
(วนั ที่ค้นขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561).

เอก ธารณา คชเสนี. และ นา้ เพชร คชเสนี สัตยารักษ์. ประวัติศาสตรช์ าติไทย.
บุรีรมั ย์ : เพ็ชรสายสวัสด์ิ จากดั ; 2559

[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.sites.google.com/site/aumsarunya303/. (วนั ทคี่ ้น
ขอ้ มูล : 27 มีนาคม 2561).

[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://manechan.wordpress.com. (วันทีค่ น้ ขอ้ มูล :
27 มนี าคม 2561).

103

[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : http://thainationhistory.blogspot.com/p/18-1800-
1.html. (วนั ทคี่ ้นขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561

[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.baanjomyut.com/library/
2552/taksin/11.html. (วันที่คน้ ข้อมลู : 26 มีนาคม 2561).

[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?
NewsID= 9580000093949. (วันท่ีคน้ ข้อมูล : 26 มนี าคม 2561).

[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.thaigoodview.com/node/29909.
(วันทีค่ ้นข้อมูล : 27 มนี าคม 2561).

[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.trueplookpanya.com/
true/webboard_detail. php?postid=313; (วนั ท่ีค้นข้อมูล : 29
มีนาคม 2561).

[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : https://pawatsadsukhothai.wordpress.com/. (วันท่ี
ค้นข้อมูล : 26 มีนาคม 2561).

[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://sites.google.com/site/kanda4749/haelng-
xarythrrm-khxng-lok, (วันท่ีค้นขอ้ มูล : 26 มีนาคม 2561).

[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/pongsagorn45434/
hetukarn-sakhay/seiy-krung-khrang-thi-1. (วันที่ค้นขอ้ มูล : 28
มีนาคม 2561).

[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://sutasinee101.wordpress.com/. (วนั ท่ีคน้
ข้อมูล : 29 มีนาคม 2561).

[ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก : https://teams.unesco.org/ORG/fu/bangkok/
public_events/. (วันท่ีค้นข้อมูล : 29 มนี าคม 2561).

[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/พระมหากษัตริย์ไทย.
(วนั ท่ีค้นขอ้ มลู : 27 มนี าคม 2561).

[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถ; สืบค้นเมอ่ื วนั ที่ 28 มีนาคม 2561

[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://traditionthailand.wikispaces.com. (วันท่ีค้น
ขอ้ มูล : 28 มนี าคม 2561).

[ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก :
https://www.facebook.com/weloveayodia/photos/a.../
368851193320692/?type=3. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มูล : 28 มีนาคม 2561

[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก :
https://www.sites.google.com/site/aumsarunya303/. (วนั ท่ีค้น

104

ขอ้ มูล : 29 มีนาคม 2561).
[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : www.baanjomyut.com/library_2/

king_ramkhamhaeng_ inscription. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 27 มีนาคม
2561).
[ออนไลน์]. AIGoodview.com = ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศไทยในสมยั อยุธยา.
(วันทค่ี ้นขอ้ มูล : 27 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : http://historytactic.blogspot.com/2015/08/blog-
post_55.html. (วันท่คี ้นขอ้ มลู : 28มนี าคม 2561)
[ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://thammapedia.com/ceremonial/
buddhismorg_center.php; (วนั ทีค่ ้นข้อมลู : 28มนี าคม 2561)
[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://patlabua.wordpress.com/. (วนั ท่คี ้นขอ้ มลู :
27 มนี าคม 2561)
[ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสนาคริสต์.
(วนั ท่ีคน้ ข้อมลู : 28มนี าคม 2561)
[ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/258623. (วันท่ี
คน้ ขอ้ มูล : 29 มีนาคม 2561).
[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก :
https://www.sites.google.com/site/aumsarunya303. (วนั ทค่ี น้
ขอ้ มูล : 29 มีนาคม 2561).

105

คณะทป่ี รึกษา คณะผ้จู ดั ทา

นายกฤตชัย อรุณรตั น์ เลขาธิการ กศน.
นางสาววิเลขา ลสี ุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
นางรงุ่ อรุณ ไสยโสภณ ผู้อานวยการกลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัย
คณะทางาน
ขา้ ราชการบานาญ
นางกมลวรรณ มโนวงศ์ โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
นายปวิตร พุทธิรานนท์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จงั หวัดสุโขทัย
นายจริ พงศ์ ผลนาค ผ้อู านวยการ กศน. อาเภอบา้ นผอื จงั หวัดอดุ รธานี
นางสารอรพร อินทรนฎั ผูอ้ านวยการ กศน. อาเภอเมืองแม่ฮ่องสอน
นางมัณฑนา กาศสนกุ จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
ศูนยว์ งเดือนอาคมสุรทัณฑ์ จงั หวัดอทุ ยั ธานี
นางสาวอนงค์ ชูชยั มงคล กศน.อาเภอเมืองกาแพงเพชร จงั หวดั กาแพงเพชร
นางสาวพจนีย์ สวสั ด์ิรตั น์ กศน.อาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่
นายโยฑิน สมโนนนท์ กศน.อาเภอเมอื งอานาจเจริญ จงั หวัดอานาจเจรญิ
นางมยุรี ช้อนทอง กศน.อาเภอเมืองอานาจเจริญ จงั หวัดอานาจเจรญิ
นางสาวหทัยรตั น์ ศริ ิแกว้ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นางสาววรรณพร ปัทมานนท์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นายศภุ โชค ศรรี ตั นศลิ ป์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
นางเยาวรัตน์ ปิน่ มณีวงศ์ กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางกมลทพิ ย์ ช่วยแก้ว กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
นางสาวทิพวรรณ วงค์เรือน กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
นางสุกญั ญา กุลเลศิ พทิ ยา กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
นางสาววิยะดา ทองดี กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
นางสาวนภาพร อมรเดชาวฒั น์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นางสาวชมพนู ท สังข์พิชัย

106

คณะบรรณาธิการ ขา้ ราชการบานาญ
ขา้ ราชการบานาญ
นางสาวพมิ พาพร อินทจักร์ ขา้ ราชการบานาญ
นางสาวชนิตา จติ ต์ธรรม ข้าราชการบานาญ
นางนพรัตน์ เวโรจนเ์ สรีวงศ์ ขา้ ราชการบานาญ
นางสาวประภารสั มิ์ พจนพมิ ล ข้าราชการบานาญ
นางสาวสภุ รณ์ ปรชี าอนันต์ ข้าราชการบานาญ
นางสาวชนดิ า ดยี ิ่ง ข้าราชการบานาญ
นางพรทพิ ย์ เข็มทอง ข้าราชการบานาญ
นางดษุ ฎี ศรีวัฒนาโรทัย ผทู้ รงคณุ วฒุ ิกล่มุ จงั หวดั มรดกโลกทางวฒั นธรรม
นายวิวัฒนไ์ ชย จนั ทนส์ ุคนธ์ รางวัลวัฒนคุณาธร กระทรวงวฒั นธรรม 2557
นายสมชาย เดอื นเพ็ญ ผู้อานวยการ กศน.เขตบางกอกใหญ่
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสวรรคโลก จังหวดั สุโขทยั
นางสาวจิราภรณ์ ตนั ติถาวร ศูนย์วงเดือนอาคมสุรทัณฑ์ จังหวดั อทุ ยั ธานี
นายจิรพงศ์ ผลนาค กศน.อาเภอเมืองกาแพงเพชร จังหวดั กาแพงเพชร
นางสาวอนงค์ ชชู ัยมงคล กศน.อาเภอสนั ป่าตอง จงั หวัดเชียงใหม่
นางสาวพจนีย์ สวสั ด์ริ ัตน์ กศน. อาเภอบางแพ จังหวัดราชบุรี
นายโยฑนิ สมโนนนท์ กศน.เขตบางเขน กทม.
นางพรทพิ ย์ เอือ้ ประเสริฐ
นางสาวอนงค์ เช้ือนนท์

ผ้อู อกแบบปก กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป์


Click to View FlipBook Version