The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thaplanfe, 2021-05-29 00:55:34

9. occupation 2. 31001

9. occupation 2. 31001

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ (อช31001)

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

ห้ามจาหน่าย
หนังสือเรียนเล่มนจี้ ดั พมิ พ์ด้วยงบประมาณแผ่นดนิ เพอ่ื การศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน

ลขิ สิทธ์เิ ป็ นของ สานักงาน กศน. สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ

รายวชิ าช่องทางการขยายอาชีพ (อช31001)
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
(ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)

เอกสารทางวชิ าการหมายเลขท่ี 26/2555

คํานาํ

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 เมื่อวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาขึ้นตามหลักปรัชญาและ
ความเช่อื พืน้ ฐานในการจดั การศึกษานอกโรงเรียนท่ีมีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรูและสั่งสมความรู
และประสบการณอยางตอ เน่ือง

ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนนโยบาย
ทางการศึกษาเพ่ือเพมิ่ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถในการแขง ขันใหป ระชาชนไดม อี าชพี ทสี่ ามารถสรา งรายได
ที่ม่งั คง่ั และมน่ั คง เปน บคุ ลากรท่ีมีวนิ ยั เปย มไปดวยคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมีจติ สาํ นึกรบั ผิดชอบตอตนเอง
และผูอ ่นื สาํ นักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ
เน้ือหาสาระ ทั้ง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุง
หนังสือเรยี น โดยการเพมิ่ และสอดแทรกเนือ้ หาสาระเกี่ยวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม
เพ่อื เขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาที่มีความเก่ียวของสัมพันธกัน แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการ
พัฒนาหนังสือท่ีใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรม ทําแบบฝกหัด เพื่อทดสอบความรู
ความเขาใจ มกี ารอภิปรายแลกเปล่ียนเรียนรูกับกลมุ หรือศกึ ษาเพม่ิ เตมิ จากภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงการเรียนรู
และสื่ออน่ื

การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูทรงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผเู กยี่ วขอ งในการจัดการเรยี นการสอนทีศ่ ึกษาคนควา รวบรวมขอมลู องคค วามรูจากส่อื ตา ง ๆ มาเรียบเรียง
เน้อื หาใหค รบถวนสอดคลอ งกบั มาตรฐาน ผลการเรยี นรทู ค่ี าดหวัง ตัวชวี้ ดั และกรอบเน้ือหาสาระของรายวิชา
สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสนี้ และหวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปน
ประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน กศน.
ขอนอ มรับดวยความขอบคณุ ยิง่

สารบัญ

คาํ นาํ หน้า

สารบัญ 1
โครงสรางรายวิชา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 3
6
บทท่ี 1 การงานอาชีพ 20
เร่ืองที่ 1 ความสาํ คญั และความจาํ เปน ในการครองชีพ 26
เรอื่ งที่ 2 การขยายอาชพี ในชมุ ชน ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี 30
เรอ่ื งท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน
เร่ืองที่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 48
เรือ่ งท่ี 5 การอนุรกั ษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอ มในการขยายอาชีพ 49
ในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี 50
ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า 51

บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชีพ 63
เรอ่ื งที่ 1 ความจาํ เปน ในการมองเหน็ ชอ งทางการประกอบอาชีพ 64
เร่อื งที่ 2 ความเปนไปไดข องการขยายอาชพี 69
เรอ่ื งที่ 3 การกาํ หนดวธิ กี าร ขัน้ ตอนการขยายอาชีพ 86
และเหตุผลของการขยายอาชพี 90

บทที่ 3 การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชพี
เร่อื งที่ 1 ภารกจิ เพื่อความมัน่ คงการทาํ ในธรุ กจิ อาชีพ
เรื่องท่ี 2 การวดั ผลและประเมินผลความม่นั คงในอาชพี
เรื่องที่ 3 การตัดสินใจขยายอาชพี ดว ยการวเิ คราะหศักยภาพ

ภาคผนวก
คณะผจู ดั ทํา

คาํ แนะนําในการใช้หนังสือเรียน

หนงั สอื สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทางการขยายอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเปน
แบบเรียนท่ีจดั ทําขน้ึ สําหรบั ผูเ รยี นทเ่ี ปนนกั ศกึ ษานอกระบบ

ในการศกึ ษาหนังสอื เรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวชิ าชอ งทางการขยายอาชีพ ผูเรียนควรปฏิบัติ
ดงั น้ี

1. ศกึ ษาโครงสรางรายวชิ าใหเ ขาใจในหัวขอ สาระสาํ คญั ผลการเรียนรูทคี่ าดหวงั และขอบขา ยเนื้อหา
2. ศกึ ษารายละเอยี ดเน้ือหาของแตละบทอยา งละเอียดและทาํ กิจกรรมตามทีก่ ําหนด แลว ตรวจสอบกับ
ผูร ู ครู หรอื แนวตอบกจิ กรรมที่กาํ หนด ถาผเู รียนตอบผิดควรกลบั ไปศกึ ษาและทาํ ความเขา ใจในเนือ้ หาใหมใ ห
เขาใจกอ นทจ่ี ะศึกษาเรื่องตอ ไป
3. ผูเรยี นทําความเขา ใจลกั ษณะการประกอบอาชีพในชุมชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชยี
ทวปี ออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวปี แอฟริกา เพื่อสามารถนํามาใชเปนพื้นฐานในการจัดการ
เรยี นรเู พ่อื การขยายอาชพี ได จากการศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรนี้ หรือ
ถาผูเรียนใด มิไดผานการศึกษาตามหลักสูตรน้ีมากอนสามารถ กลับไปทบทวนหนังสือเรียนในระดับ
ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนตน โดยเฉพาะ (อช11001) ชองทางการเขาสูอาชีพ และ (อช21001) ชองทาง
พัฒนาอาชพี
4. หนังสือเรียนเลมน้ีเนนการจัดการเรียนรูในลักษณะกระบวนการสวนใหญจะยกตัวอยางอาชีพ
เกษตรกรรมแตอ าชพี อน่ื ๆ กส็ ามารถนํากระบวนการไปใชได
5. หนงั สอื เรียนเลมนมี้ ี 3 บท คือ

บทท่ี 1 การงานอาชพี
บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชพี
บทที่ 3 การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชพี

โครงสร้างรายวชิ า
ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สาระสําคัญ

1. เหตผุ ลความจําเปนในการขยายอาชีพ
2. ปจจัยจาํ เปน เพอื่ นาํ อาชพี ไปสคู วามมัน่ คง
3. การปฏบิ ตั ิการตรวจสอบระบบการสรา งความมน่ั คง
4. การประเมนิ ความเปนไปไดใ นการนาํ แนวทางขยายอาชีพไปใชจริง
ผลการเรียนรู้ทคี าดหวงั
1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ วิเคราะหลักษณะงาน ขอบขายงานอาชีพในชุมชน สังคม
ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา
ที่จะนาํ ไปสูความมน่ั คงทีเ่ หมาะสมกับศักยภาพของตน และสอดคลองกบั ชมุ ชน สังคม
2. อธบิ ายเหตุผลปจจัยความจําเปนในการนําอาชีพไปสูความม่ันคง ที่เหมาะสมกับศักยภาพของ
ตนเองได
3. ตรวจสอบระบบการสรางความม่นั คง
4. ปฏิบตั กิ ารวเิ คราะหเ พ่อื การสรา งความม่นั คงในอาชพี ได

ขอบข่ายเนือหา
บทท่ี 1 การงานอาชีพ
บทที่ 2 ชองทางการขยายอาชพี
บทท่ี 3 การตัดสนิ ใจเลอื กขยายอาชพี

สือการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. ใบความรู

1

บทที 1
การงานอาชีพ

สาระสําคัญ

การประกอบอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกา ท่ีเหมาะสมกับศักยภาพของตนและสอดคลองกับชุมชน
เพื่อชอ งทางการขยายอาชพี


ผลการเรียนรู้ทีคาดหวัง

ผเู รยี นมคี วามรู ความเขาใจ มีเจตคติท่ดี ใี นงานอาชพี สามารถอธบิ ายลกั ษณะ ขอบขายกระบวนการ
ผลิตงานอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา
ทวีปยุโรป และทวีปแอฟริกาได และสามารถนํามาวิเคราะหในการขยายอาชีพบนฐานของการมีคุณธรรม
จริยธรรม การอนุรกั ษพลงั งาน และสิ่งแวดลอ ม


ขอบข่ายเนอื หา

เรื่องที่ 1 ความสําคัญและความจําเปนในการขยายอาชีพ
เรื่องที่ 2 การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชีย

ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวปี แอฟริกา เชน งานอาชีพ
ดานเกษตรกรรม งานอาชพี ดา นอตุ สาหกรรม งานอาชพี ดานพาณิชยกรรม
งานอาชพี ดา นความคิดสรางสรรค และงานอาชพี ดา นอํานวยการและอาชพี เฉพาะ
เรื่องท่ี 3 การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค
5 ทวปี ไดแก ทวปี เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า
- การจัดการทางผลิต ไดแก การวางแผน การจัดทําโครงการ การใชวัสดอุ ปุ กรณ

การใชแรงงาน การใชสถานท่ี การใชทนุ เปน ตน
- การจดั การการตลาด ไดแก การกาํ หนดทิศทางการตลาด การหาความตองการของ

ตลาด เชน การขนสง การขาย การกําหนดราคาขาย การทาํ บญั ชีประเภทตาง ๆ
เปนตน
เรื่องที่ 4 คุณธรรม จริยธรรม ไดแ ก ความรบั ผดิ ชอบ ความประหยัด การอดออม
ความสะอาด ความประณตี ความขยัน ความซอื่ สตั ย เปน ตน

2

เรอ่ื งที่ 5 การอนรุ กั ษพลังงานและสง่ิ แวดลอ มในการขยายอาชพี ในชมุ ชน สังคม
ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า
ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า



สือการเรียนรู้

- หนังสอื เรียน
- ใบงาน

3

เรืองที 1 : ความสําคญั และความจาํ เป็ นในการครองชีพ

การขยายขอบข่ายอาชีพ

หมายถึง กิจกรรมอาชีพที่มีอยูสามารถขยายกิจกรรมที่เกี่ยวของและสัมพันธออกไปเปนขอบขาย
อาชีพท่สี รางรายได ใชท ุน ทรพั ยากรจากอาชีพหลักใหเกดิ คุณคา สรางความเขม แขง็ ย่ังยืนในอาชพี ได เชน

1. การขยายขอบขา ยอาชพี จากการหมนุ เวยี นเปลยี่ นรปู ผลติ ภัณฑ หรอื ผลพลอยไดไปสูกิจกรรมใหม
เชน

1.1 สรางธุรกิจแปรรปู หมูจากฟารมสุกรของตนเอง
1.2 สรางธุรกิจปุยหมกั จากมลู สกุ ร
1.3 สรา งธรุ กจิ ขนมหวานเยลล่จี ากหนงั สุกร
2. การขยายขอบขา ยอาชีพจากการสรา งและพฒั นาเครอื ขา ยจากอาชพี เชน
2.1 แฟรนไซส ชายส่ีบะหมีเ่ กย๊ี ว
2.2 การสรา งเครอื ขายนาขาวอนิ ทรยี 
3. การขยายขอบขายอาชีพจากการตลาด เชน
3.1 สวนมะพรา วนํา้ หอมแมต มุ ศูนยก ลางรับซอ้ื และขายสงมะพรา วนํ้าหอม

ภายใตก ารควบคมุ คุณภาพของตนเอง
4. การขยายขอบขายอาชพี จากการสง เสรมิ การทองเที่ยว เชน

4.1 จัดบริการทองเที่ยวพกั ผอ น กินอาหารเกษตรอนิ ทรยี ที่ไรส ุดปลายฟา
4.2 ทอ งเท่ยี วชิมผลไม ชมสวนชาวไรจนั ทบรุ ี
5. การขยายขอบขายอาชพี กับการสง เสริมสขุ ภาพและอนามยั เชน
5.1 พกั ฟนรับประทานอาหารธรรมชาติไรส ารพิษ ปฏิบตั ธิ รรมกบั Home stay

คลองรางจระเข
6. การขยายขอบขายอาชีพกบั การเรียนรู เชน

6.1 เรยี นรูระบบนเิ วศ ความพอเพยี งท่ไี รนาสวนผสมคุณพิชติ

4

ใบงานท่ี 1
ความสาํ คญั และความจําเปน ในการขยายอาชพี

คาํ ชีแจง : ใหครูและผเู รยี นรว มกันนําผลการวเิ คราะหของกลมุ มาเทยี บเคียงกบั สาระ ความหมายความสําคัญ
และความจําเปนในการขยายอาชีพ แลวรวมกันคิดใหความหมายตอคําตา ง ๆ ที่กําหนดไวในแบบบันทึกนี้
เพ่อื สรางความเขา ใจรวมกนั ของชมุ ชนใหเ ปน ไปในทศิ ทางเดยี วกัน

ขอบขายของการขยายอาชพี หมายถงึ ...........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
กจิ กรรมอาชพี ทท่ี ําอยู หมายถงึ ..................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การสรา งรายได หมายถึง...........................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การใชท นุ ใชทรพั ยากร หมายถึง...............................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ความเขมแขง็ และความย่ังยนื หมายถึง........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

5

การหมนุ เวยี นเปล่ยี นรปู หมายถงึ ...............................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การสรางและพัฒนาเครอื ขา ยจากอาชีพหลัก หมายถงึ ..................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการตลาด หมายถึง........................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชีพจากการสง เสริมการทอ งเทยี่ ว หมายถึง.................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
การขยายอาชพี จากการสงเสรมิ สุขภาพ อนามัย หมายถึง..............................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
อน่ื ๆ ยงั มีอะไรบา งทคี่ วรจะนิยามเอาไว. .....................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

6

เร่ืองที่ 2 : การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก
ทวปี เอเชีย ทวปี ออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า

กลมุ อาชีพใหม
จากการเปลยี่ นแปลงในบรบิ ทโลกทั้งในสว นการรวมกลุมทางการเงิน การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี

อยางรวดเร็ว การเปล่ียนแปลงของธรรมชาติและส่ิงแวดลอม การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูบริโภค การ
รวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ และประการสําคญั คอื การเปลยี่ นแปลงโครงสรา งประชากรทางสังคม ดงั นั้น อาชีพใน
ปจจบุ ันจะตองมีการพฒั นาวธิ กี ารและศกั ยภาพในการแขงขนั ไดในระดบั โลก ซงึ่ จะตองคํานึงถงึ บริบทภูมิภาค
หลกั ของโลก หรือ “รูศกั ยภาพเขา” หมายถึง ทวปี เอเชีย ทวปี อเมริกา ทวีปยุโรป ทวีปออสเตเลีย ทวีปแอฟริกา
และจะตอ ง “รศู กั ยภาพเรา” หมายถงึ รศู ักยภาพหลกั ของพ้นื ท่ีประเทศไทย คือศักยภาพของทรพั ยากรธรรมชาติ
ในแตล ะพ้นื ที่ ศกั ยภาพของศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวถิ ชี ีวิตของแตละพื้นที่ และศักยภาพของทรัพยากร
มนุษยใ นแตล ะพื้นท่ี ดงั นัน้ เพื่อใหก ารประกอบอาชพี สอดคลองกบั ศักยภาพหลกั ของพ้ืนท่ีและสามารถแขง ขัน
ในเวทีโลก จึงไดกาํ หนดกลุมอาชีพใหม 5 กลุมอาชีพ คือ กลุมอาชีพใหมดานการเกษตร กลุมอาชีพใหม
ดา นพาณิชยกรรม กลุม อาชีพใหมด า นอุตสาหกรรม กลมุ อาชีพใหมด า นความคดิ สรา งสรรค และกลุม อาชพี ใหม
ดานบรหิ ารจดั การและบรกิ าร

1. กลุมอาชพี ใหมดานการเกษตร คือการพัฒนาอาชพี ในดานการเกษตรเกี่ยวกับการปลูกพืช
เลย้ี งสตั ว การประมง โดยนาํ องคความรใู หม เทคโนโลย/ี นวตั กรรม มาพัฒนาใหสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพหลกั ของ
พ้ืนที่ คือศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพื้นที่ ตามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิประเทศ
และทําเลท่ีต้งั ของแตล ะพนื้ ที่ ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และวิถขี องแตล ะพื้นท่แี ละศักยภาพของ
ทรัพยากรมนษุ ยในแตละพน้ื ท่ี อาชีพใหมด า นการเกษตร เชน เกษตรอินทรีย เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม
วนเกษตร ธุรกจิ การเกษตร เปน ตน

2. กลมุ อาชีพใหมด า นพาณชิ ยกรรม คือการพฒั นาหรอื ขยายขอบขายอาชีพดานพาณิชยกรรม
เชน ผใู หบ รกิ ารจาํ หนา ยสนิ คา ทัง้ แบบคา ปลกี และคา สง ใหแกผ บู ริโภคทงั้ มีหนา รา นเปนสถานท่ีจดั จาํ หนา ย เชน
หางราน หางสรรพสินคา ซุปเปอรสโตร รานสะดวกซื้อ และการขายที่ไมมีหนาราน เชน การขายผานสื่อ
อิเล็กทรอนกิ ส

7

3. กลุมอาชีพใหมดานอุตสาหกรรม คือการพัฒนาอาชีพท่ีอาศัยองคความรู เทคโนโลยี/
นวัตกรรม อาชีพเกี่ยวกับงานชาง ซึ่งไดแกชางไฟฟา ชางไม ชางยนต ชางประปา ชางปูน และชางเชื่อมให
สอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพหลักของพ้ืนท่ี เชน ผูผลิต
ชิ้นสว นอเิ ลคทรอนกิ สเ คร่ืองใชไฟฟา หรืออุปกรณอิเลคทรอนิกสโดยท่ัวไป เชน IC PCB ผูประกอบรถยนต
และยานยนตป ระเภทตา ง ๆ ผูผ ลิต ตวั แทนจาํ หนา ยหรือผปู ระกอบช้ินสว นหรืออะไหลร ถยนต ผใู หบ ริการซอ ม
บํารุงรถยนต ผูจัดจําหนายและศูนยจาํ หนายรถยนตทั้งมือหนึ่งมือสอง ผูผลิตและจําหนายเครื่องจักรและ
เคร่ืองมือทุกชนิด เชน เคร่ืองจักรกลหนัก เครื่องจักรกลเบา ผลิตอุปกรณหรือสวนประกอบพื้นฐานของ
เคร่อื งใชไ ฟฟาตา ง ๆ เชน สายไฟ หลอดไฟ ฉนวนไฟฟา มอรเ ตอรต าง ๆ การผลิตอลูมิเน่ียม ผลิตและตัวแทน
จาํ หนายผลติ ภัณฑเ หล็ก สเตนเลส ผผู ลิตจําหนายวสั ดุกอสราง วัสดตุ กแตง สขุ ภัณฑ การกอสราง อาคาร หรือ
ทีอ่ ยอู าศัย

4. กลมุ อาชีพใหมด านความคดิ สรางสรรค
ทามกลางกระแสการแขง ขันของโลกธุรกิจทไ่ี รพ รมแดนและการพัฒนาอยางกา วกระโดด

ของเทคโนโลยีการสือ่ สารและการคมนาคม การแลกเปล่ียนสนิ คา จากทห่ี นงึ่ ไปยงั อีกสถานที่ที่อยูหางไกลน้ัน
เปนเร่อื งงายในปจ จุบนั เมื่อขอ จาํ กัดของการขามพรมแดนมิใชอ ปุ สรรคทางการคาตอไป จึงทาํ ใหผูบริโภคหรือ
ผซู อ้ื มสี ทิ ธเิ ลอื กสนิ คา ใหมไดอ ยา งเสรีทั้งในดานคณุ ภาพและราคา ซึ่งการเรียนรูและพัฒนาสินคาและบริการ
ตาง ๆ ที่มอี ยูในตลาดอยแู ลวในยคุ โลกไรพ รมแดนกระทาํ ไดง าย ประเทศทีม่ ีตนทนุ การผลติ ตา่ํ เชน ประเทศจีน
อินเดยี เวียดนาม และประเทศในกลุม ยโุ รปตะวนั ออก จะมีความไดเปรียบในการแขงขันดานราคา ดวยเหตุน้ี
ประเทศผนู าํ ทางเศรษฐกจิ หลายประเทศจึงหันมาสงเสรมิ การดําเนินนโยบายเศรษฐกิจสรางสรรคเพื่อพัฒนา
สนิ คาและบรกิ ารใหม ๆ และหลีกเลยี่ งการผลิตสนิ คาที่ตองตอสดู านราคา โดยหลกั การของเศรษฐกิจสรางสรรค
คือแนวคิดหรือแนวปฏิบัติที่สราง/เพ่ิมมูลคาของสินคาและบริการไดโดยไมตองใชทรัพยากรมากนัก แตใช
ความคดิ สติปญ ญา และความสรา งสรรคใ หม ากขน้ึ

ทิศทางของแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) ไดกําหนด
ยุทธศาสตรการปรบั โครงสรา งเศรษฐกจิ สูการเจริญเตบิ โตอยางคุณภาพและย่ังยืน ใหความสําคัญกับการปรับ
โครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคดิ สรางสรรคและภมู ปิ ญญา ภายใตป จจยั สนับสนุนท่ีเอื้ออํานวยและ
ระบบการแขงขนั ท่ีเปน ธรรมเพอ่ื สรา งภูมคิ ุม กันใหกับประเทศ มุงปรับโครงสรางและการลงทุนใหสอดคลอง
กบั ความตอ งการของตลาดท้ังภายในและตางประเทศ สรา งมูลคาเพิม่ ใหก ับสาขาบรกิ ารทมี่ ศี ักยภาพบนพนื้ ฐาน

8

ของนวัตกรรมและความคิดสรางสรรค พัฒนาธรุ กจิ สรางสรรคและเมอื งสรางสรรค เพิม่ ผลผลิตของภาคเกษตร
และสรางมลู คา เพม่ิ ดวยเทคโนโลยีและกระบวนการผลิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู
อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและ
ระบบโลจิสติกส สรางความม่ันคงดานพลังงานควบคูไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎระเบียบตาง ๆ ทาง
เศรษฐกิจและการบรหิ ารจัดการเศรษฐกิจสวนรวมอยา งมีประสทิ ธิภาพเพอื่ ใหเปนฐานเศรษฐกิจของประเทศที่
เขม แขง็ และขยายตวั อยางมคี ุณภาพ

กลมุ อาชีพใหมด านความคิดสรางสรรค จึงเปนอาชีพท่ีอยูบนพื้นฐานของการใชอ งคความรู
(Knowledge) การศึกษา (Education) การสรางสรรคงาน (Creativity) และการใชทรัพยสินทางปญญา
(Intellectual Property) ท่ีเช่ือมโยงกับพ้ืนฐานทางวัฒนธรรม (Culture) การสั่งสมความรูของสังคม (Wisdom)
และเทคโลโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม (Technology and Innovation) (อาคม เติมพิทยาไพสิฐ, 2553) ดังน้ัน
กลมุ อาชพี ใหมด านความคดิ สรา งสรรค จึงเปน การตอ ยอดหรอื การพฒั นาอาชพี ในกลมุ อาชพี เดมิ คอื กลมุ อาชีพ
เกษตรกรรม กลุมอาชีพอุตสาหกรรม กลุมอาชีพพาณิชยกรรม กลุมอาชีพคหกรรม กลุมอาชีพหัตถกรรม
และกลุมอาชีพศลิ ปกรรม

กลมุ อาชีพใหมดานความคดิ สรางสรรค เชน แฟช่นั เส้อื ผา เคร่อื งประดบั เคร่อื งสาํ อาง ทรงผม
สปาสมุนไพร การออกแบบสื่อ/ภาพยนตร/โทรทัศน เครื่องใชไฟฟา เฟอรนิเจอร วัสดุกอสราง
แบบประหยดั พลังงาน เซรามกิ ผา ทอ จักสาน แกะสลัก รถยนตพ ลงั งานทางเลือก ขาเทยี มหนุ ยนตเ พื่อคนพิการ
การทองเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม ตลาดน้ําอโยธยา เปน ตน

5. กลุมอาชีพใหมดานบริหารจัดการและบริการ เชน ธุรกิจบริการทองเท่ียว ธุรกิจบริการ
สุขภาพ ธรุ กิจบริการโลจิสตกิ ส ธุรกิจภาพยนต ธรุ กิจการจัดประชมุ และแสดงนทิ รรศการ บรกิ ารที่ปรึกษาดา น
อสังหาริมทรพั ย ทีป่ รกึ ษาทางธุรกจิ

งานอาชีพใหมท้ัง 5 กลุม ในอนาคตจะมีการเติบโตทางธุรกิจมากข้ึน จึงมีความตองการ
เจา หนา ท่ี บุคคล พนักงาน เพ่อื ควบคุมและปฏบิ ัตงิ านทีม่ ีความรู ความสามารถ และทักษะฝม ือเปนจาํ นวนมาก

9

การขยายขอบข่ายอาชีพระดับประเทศ

ธุรกิจท่ีมีการขยายขอบขายอาชีพในระดับประเทศ มักจะเปนธุรกิจที่สรางประสิทธิภาพในระบบ
การจัดการใชทรัพยากรท่ีเก่ียวของกับการจัดการกําลังคนท้ังระดับบริหารจัดการ และแรงงาน การจัดการ
เงนิ ทนุ การจัดการวัสดนุ าํ เขา การผลติ และกระบวนการผลติ ใหไดผลผลติ สงู สดุ และมีของเสียหายนอ ยท่สี ุด
เปนเร่ืองสําคญั ในงานอาชีพดา นเกษตรกรรม งานอาชพี ดา นอตุ สาหกรรม งานอาชพี ดานพาณิชยกรรม งานอาชีพ
ดา นความคิดสรางสรรค งานอาชีพดานอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง ดังน้ันการจัดตั้งธุรกิจรองลงมาท่ีมี
ความสัมพันธสอดคลองกับการลดปริมาณการเสียหายใหนอยที่สุดจนเหลือศูนยรองรับธุรกิจหลัก จึงเกิด
การขยายขอบขา ยอาชีพขึน้

ตัวอยา งที่ 1 การขยายขอบขา ยจากอาชีพผลติ กระเปาถือสุภาพสตรี

การขยายอาชีพระดับโลก

10

การขยายอาชีพระดับโลก

หากเราจะมองไปท่ปี ระเทศมหาอาํ นาจทางเศรษฐกิจ ไดแ ก สหรัฐอเมริกา องั กฤษ ฝรัง่ เศส เยอรมัน
ญี่ปุน ซึ่งเปนนักคิด นักพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน อุตสาหกรรมรถยนต อุตสาหกรรมเคมี
อตุ สาหกรรมอเิ ลคทรอนกิ ส และอื่น ๆ ลวนแตท ําลายสิง่ แวดลอม ประเทศมหาอาํ นาจเหลา น้ีจงึ ขยายขอบขาย
การผลิตออกไปยงั ประเทศที่คา จา งแรงงานต่ํา และหนั กลบั มาอนุรักษศ ลิ ปวฒั นธรรม สง่ิ แวดลอม สรา งความ
สวยงามใหกับบานเมอื ง และชนบท สรางเศรษฐกิจจากการทองเที่ยว หันมาพัฒนาการผลิตอาหาร พืช ผัก
ผลไม เนื้อสัตว ในระบบเกษตรอินทรียท่ีมีความปลอดภัยและคุณภาพสูง เพื่อสรางพ้ืนฐานสุขภาพชีวิต
ประชาชนของเขาใหอ ยูดมี ีสขุ สูการมีปญญาอันล้ําเลิศ

ตวั อยา งที่ 1 การขยายขอบขายอาชพี จากเกษตรอินทรีย

จากตวั อยางเราจะเหน็ วา อาชีพปลกู พืชอนิ ทรียเ ปนอาชพี หลกั ทส่ี ามารถขยายขอบขายออกไปเปน
อาชีพปศุสัตวและประมง อาชีพแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร อาชีพทองเท่ียวเชิงอนุรักษ และอาชีพ
จัดการเรียนรเู กยี่ วขอ งกับเกษตรอนิ ทรยี 

11

ใบงานท่ี 2
การขยายอาชพี ในชุมชน ประเทศ และภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชยี ทวปี ออสเตรเลยี
ทวีปอเมรกิ า ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า

แบบบนั ทึกผลการวิเคราะหเปรียบเทียบหาความแตกตางและเหมือนกันระหวางการขยายอาชีพระดับชุมชน
ระดบั ประเทศ และตางประเทศ

12

ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า

คําชีแจง : ใหผูเรียนคิดจากประสบการณของตนเองวาการประกอบอาชีพของทานควรจะมขี อบขาย
อะไรบางทจ่ี ะนาํ ไปสกู ารขยายอาชพี เพอื่ สรางความเขม แข็งยง่ั ยืนใหก บั ตนเองไดดวยการคิดวเิ คราะหจาก
องคป ระกอบในตารางนี้ แลว ระบขุ อบขา ยอาชพี ทค่ี วรจะเกี่ยวขอ ง

1. อาชีพของผเู รยี นท่ีประกอบการอยูคอื ......................................................................
2. ผลการวเิ คราะหขอบขา ยอาชพี ท่คี วรจะเกยี่ วขอ งเพ่อื สรางความเขมแข็งยั่งยืนใหกับตนเองและ
สมั พนั ธก ับอาชพี ท่ีทาํ อยูได

13

คาํ ชแ้ี จง : ใหก ลุมผูเ รียนและครรู วมกนั นําผลการวิเคราะหของตนเองมาบูรณาการเปนขอบขายการขยายอาชีพ
ของกลมุ

1. กลุม ผเู รียนหมูที่..........ตาํ บล...............อาํ เภอ...................จังหวดั .........................
2. ผลการวเิ คราะหข อบขายอาชพี ท่คี วรจะเกย่ี วขอ งเพอื่ สรา งความเขม แขง็ ยั่งยืนใหก ับชมุ ชน

14

ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภูมภิ าค 5 ทวปี ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า

คาํ ชีแจง : ขอใหผเู รียนไดใชเวลาทบทวนนกึ คดิ บนฐานประสบการณตรงวา สภาวะแวดลอมตา ง ๆ ทีเ่ กย่ี วของ
กบั ตวั เรามีอิทธพิ ลทาํ ใหอาชพี ทเ่ี คยทาํ อยูตอ งขยายขอบเขตออกไปมีลักษณะเหตุผลความจําเปนอยางไร เม่ือ
วเิ คราะหแลวขอใหบ นั ทึกลงในแบบบันทึกนี้

15

16

17

คาํ ชีแจง : ใหกลุมผูเรียนรวมกันทําบันทึกผลการคิดหาเหตุผลในการขยายอาชีพจากประสบการณจริงของ
ตัวผูเรียนมาสรุปจดั เปน ความคิดของกลมุ

18

ใบงานที
การขยายอาชีพในชุมชน ประเทศ และ ภมู ภิ าค 5 ทวีป ไดแ ก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า

คาํ ชแ้ี จง : ใหคณะครูและผูเรียนรว มกันทําความเขาใจในการพิจารณาคิดตัดสินใจวาประเด็นเหตผุ ลความจําเปน
ในแตละตัว มีปฏิสัมพันธในทางเดียวกันกับตัวแปรดานคุณคาแตละตัวหรือไม ถาสัมพันธใหคะแนน 1
ไมสมั พนั ธใ ห 0 แลว รวมคะแนนในแตล ะประเด็น เม่ือพิจารณาครบทุกประเดน็ แลว ใหจดั ลําดับความสาํ คญั จาก
คะแนนมากไปนอย ดงั ตัวอยาง

อภิปรายผลการวเิ คราะห จากตารางสามารถอธิบายไดวา ประเด็นเหตุผลขยายอาชีพการปลูกไมใชงาน
และการเลยี้ งปลานิลกินใบมันเทศ เปน ประเดน็ ทีม่ คี วามสาํ คญั ทสี่ ุด

19

คาํ ชีแจง : ใหผเู รียนรวมกันพิจารณาคิดตัดสินใจจัดลําดับความสําคัญของเหตุผลความจําเปนของการขยาย
ขอบขายอาชีพของกลมุ หรอื ชุมชน

20

เรืองที 3 : การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพในชุมชน

1. การกําหนดแนวทางขยายอาชีพ

1.1 เหตผุ ลการขยายขอบขายอาชพี
เหตผุ ลความจาํ เปน ในอาชพี ทีก่ ลา วไวใ นเบอื้ งตน สามารถสรปุ เหตผุ ลของการขยายขอบขายอาชีพได
ดงั นี้
1. สภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจ
2. สภาพแวดลอ มทางสงั คม
3. สภาพแวดลอ มทางวัฒนธรรม
4. สภาพแวดลอมทางสิง่ แวดลอม
ในการปฏิบัติเหตุผลในการขยายขอบขายอาชีพ ในแตละสภาพแวดลอมนั้นไมอิสระตอกัน แตมี
ความเช่อื มโยงผกู พนั กนั และเปนไปเพ่ือการเพิม่ รายไดข องอาชีพหลกั ทจ่ี ะผลิตผลมาหมนุ เวยี นเปล่ียนรปู สราง
มลู คาเพ่ิม ดงั ตวั อยางตามแผนภมู นิ ี้

1.2 ความคดิ รวบยอดของหลักการขยายอาชีพ
ในการกาํ หนดแนวทางขยายอาชีพ เราควรสรปุ กจิ กรรมหลักของการขยายอาชีพใหมองเห็นชัดเจน
เปนความคิดรวบยอดท่ีประกอบดวย ปัจจัยนําเข้าเพอื การขยายอาชีพ คืออะไร กระบวนการผลิตทําอยางไร
และสุดทายจะเกิดอะไรขนึ้ ดงั ตวั อยางน้ี

21

จากแผนภมู สิ ามารถอธบิ ายไดว า ความคดิ รวบยอดของการขยายขอบขา ยอาชพี เปน การขยายอาชีพมาจากการ
ใชยอดและหวั มนั เทศไมไ ดม าตรฐาน มาแปรรปู เปนอาหารใหห มกู ิน ใชเวลาเลย้ี งไมเ กนิ 4 เดอื นจะไดน ํา้ หนัก
เฉลี่ยตวั ละ 90 กก.

1.3 วิเคราะหพอเพียงในการดําเนนิ งาน
เปนกิจกรรมตอ เนอื่ งจากผูเรียน สามารถหาเหตุผลและสรา งความคดิ รวบยอดได แลวนาํ ความเขา ใจ
มาวิเคราะหห าปฏิสัมพันธระหวางตัวแปรการผลิต ประกอบดวย ผลผลิตที่จะทําการลดตนทุน และตัวแปร
ความพอเพยี งท่ีประกอบดว ยความมเี หตุผล ความพอเพยี ง ภูมิคุม กัน ความรอบรูและคุณธรรม ผลการวิเคราะห
จะทาํ ใหม องเห็นส่งิ ที่เกดิ และส่งิ ทีจ่ ะตอ งทําในขอบเขตของความพอเพยี ง ดังนี้

22

ตัวอยา ง : ตารางแสดงผลการวเิ คราะหหาปฏิสมั พันธระหวางตัวแปรกิจกรรมขยายอาชีพกับตวั แปรเศรษฐกิจ
พอเพียง

23
1.4 การกาํ หนดแนวทางขยายอาชพี

หลงั จากนาํ ความคิดรวบยอดการขยายขอบขา ยอาชพี มาวเิ คราะหความพอเพยี งในการดาํ เนนิ การ
จะทาํ ใหเ ราเห็นสภาพปฏสิ มั พนั ธ ระหวา งตัวแปรการผลติ กบั ตวั แปรปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งท่ีจะบอกใหเรารู
วาความคดิ การขยายอาชีพเหมาะสมท่ีจะทําหรือไมจากตัวอยางการวิเคราะหเราจะพบวาตัวแปรทางปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียงจะควบคมุ ความคดิ ของเราใหอยใู นขอบขา ยทเี่ หมาะสมมีภมู ิคมุ กนั โอกาสประสบความสาํ เร็จ
มีสงู

การกาํ หนดแนวทางของอาชพี จงึ อาศยั ความรทู ี่ไดจากผลการวเิ คราะหมากาํ หนดโดยใชวงจร I-P-O
(ปจจยั นําเขา-กระบวนการ-ผลผลติ ) เปนฐานในการกําหนดแนวทางขยาย อาชีพดังตัวอยา งน้ี

จากแนวทางการขยายอาชีพดังกลา วน้ี จะทําใหเ รามองเห็นภาพชวี ติ ของงานอยาง แจมชดั ดวยตนเอง
สามารถนําไปสกู ารเรียนรเู พอ่ื การขยายขอบขา ยอาชพี สคู วามเขมแขง็ ยัง่ ยนื ตอไป

24

1.5 การจดั การความรู
กรอบความคดิ การจัดการความรู้

จากรปู สามารถอธบิ ายไดว า การจัดการความรเู ปน รปู แบบทม่ี ีองคป ระกอบรวม คือองคก รหรือบคุ คล
ในการประกอบอาชีพ กรอบความรูของอาชพี และการปฏบิ ัติการอาชพี ทม่ี เี ปา หมายสรา งความเขม แข็ง มนั่ คง
ยั่งยืนใหก ับอาชีพ ดงั น้ันการประกอบอาชีพจงึ มีความจาํ เปน ที่จะตองพัฒนากรอบความรขู องตนเองใหยกระดับ
ความรูพ อเพียงท่จี ะใชป ฏิบัตกิ าร สรางอาชพี สูความเขมแข็งยัง่ ยืนของกลมุ อาชพี

จากสาระขา งตนอาจจะสรุปรปู แบบการจัดการความรูไ ดเ ปน 2 ข้ันตอน คอื
1. การยกระดับความรขู องการประกอบอาชพี
2. การปฏิบตั กิ ารใชความรสู รางความเขม แข็ง ม่นั คง ยงั่ ยนื ใหอาชีพ (จะกลาวในบทตอไป)
การยกระดับความรขู องการประกอบอาชพี เปน กิจกรรมจัดการกรอบความรขู องการประกอบอาชีพ
ใหยกระดับความรูสูงขึ้นเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ือง เพื่อใชปฏิบัติการในระบบของธุรกิจอาชีพใหเกิดความ
เขม แข็ง ยงั่ ยืน ซ่งึ ประกอบดวยกิจกรรมไมนอ ยกวา 5 กิจกรรม คอื
1. กําหนดหัวขอความรูเพื่อใชพัฒนาธุรกิจอาชีพวาควรจะมีหัวขอความรูอะไรบาง ที่สามารถ
ครอบคลมุ ใชพฒั นาการดาํ เนินสูความเขม แขง็ มนั่ คงย่ังยืนได

25

2. การแสวงหาความรู เปน กจิ กรรมตอเน่ืองจากการระบุหัวขอความรู คณะทํางานของกลุมอาชีพ
จะตองปฏิบัติการสืบคนขอมูลสารสนเทศจากภูมิปญญาในกลุมอาชีพและแหลงความรูตาง ๆ โดยใช
กระบวนการ ดงั นี้

3. การแลกเปล่ียนเรียนรู เพ่ือสรุปแนวทางการพัฒนาเปนกิจกรรมที่ใหคณะทํางานแยกกันไป
แสวงหาความรู ทาํ ผลสรุปความรู หลกั ฐานรอ งรอยตาง ๆ มานําเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรูแ ละรว มกนั สรุปจดั เขา
ระบบงานทเี่ ปน รปู แบบแนวทางเพอ่ื การพัฒนา

4. การประยุกตใ ชความรู เปน กจิ กรรมตอเน่ืองจากการแลกเปล่ยี นเรียนรูดว ยการนาํ รูปแบบแนวทาง
มาทดลองประยุกตใชความรู ความจริง บันทึกผลการทดลอง ทดลองซ้ํา จนม่ันใจในขอมูล นําผลการทดลองท่ีได
แลว ประเมินสรปุ ผล

5. การสรปุ องคความรู เปนการนําขอมูลสารสนเทศ ผลสรุปการทดลองมาเขียนเปนเอกสารคูมือ
ดาํ เนินงานทีป่ ระกอบดว ย

1) ภาพรวมระบบของงาน
2) ระบุคุณภาพและมาตรฐานของผลผลิตท่ีตอ งเกดิ ข้นึ
3) ระบกุ ิจกรรมแสดงข้นั ตอนการจัดการปฏิบตั กิ ารใชภาษาทรี่ ัดกุม สามารถเรียนรทู าํ ตามได

26

4) ระบปุ จ จยั ดาํ เนนิ งานและมาตรฐานท่ีตองการ
เอกสารคมู ือดาํ เนนิ งานหรอื องคความรู จะเปนเอกสารความรใู ชด ําเนนิ งานและควบคมุ การทาํ งานให
เกิดคณุ ภาพได จึงเปน ความรูที่ถกู ยกระดบั ใหสูงขึ้นเปนระยะ ๆ อยางตอเน่ือง ใชปฏิบัติการสรางความสําเร็จ
ความเขมแขง็ ม่นั คง ยัง่ ยนื ใหก ลมุ อาชีพ

เรืองที 4 : คณุ ธรรม จริยธรรม

การขยายกระบวนการจดั การงานอาชีพของตนเองใหมีความม่ันคงในธุรกิจอาชีพ ผูประกอบอาชีพ
จะตอ งมคี ุณธรรม จริยธรรม

หลักการพัฒนาตนเองเพือ่ พฒั นาอาชีพ
1. การพัฒนาตนเองตามแนวพระราชดําริ
1.1 ความรู ความสามารถ ในขอ น้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงเนนวา

ควรเปน ความรคู วามสามารถท่เี บ็ดเสร็จของผูปฏิบัติ ประกอบกับความมีระเบียบแบบแผนในการปฏิบัติงาน
อนั จะเปน ปจ จัยที่ทาํ ใหก ารทาํ งานไดผ ล

1.2 การรูจ ักการประยกุ ตใชในขอ นี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงย้ําวา
การจะทํางานใหส ําเรจ็ ผปู ฏิบตั ิตองรูจักประยุกตใ ชดงั น้ี

1) พจิ ารณาใหรอบคอบกอ นทจ่ี ะประกอบกิจการใด ๆ
2) พิจารณาใหว างใจเปน กลาง จะชวยใหปฏบิ ตั ไิ ดถ ูกตอ งเหมาะสม
3) พิจารณาถงึ สภาพความเปน อยูของทอ งที่และผลสะทอนที่อาจเกดิ ข้นึ
4) พยายามหยิบยกทฤษฎที างวชิ าการมาปรบั ใชใ หเหมาะสม
1.3 การคิดอยางรอบคอบ ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ทรงแนะนาํ วา
1) ใชความคดิ ใหเ ปน เคร่อื งชว ยความรู จะไดใ ชค วามรใู หถ ูกตอ ง
2) ใชความจริงใจอันเที่ยงตรงตามเหตุผล และมีความเท่ียงธรรม จะไดสรางสรรค
ประโยชนไ ดอยา งสมบรู ณแ ละมีประสทิ ธิภาพ
1.4 การใชปญญา ในขอ นี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช ทรงอธิบายวา
“การประมาทหม่ินปญญาคนอน่ื ไมย อมทาํ ตามความคิดและความรูของคนอื่นนี่แหละเปนเหตุ
สําคัญที่ทําใหงานอื่น ๆ หยุดชะงัก ตองเร่ิมใหมอยูร่ําไป จะตองลมเหลวมากกวาครั้งท่ีแลว ผูมีความคิดควร

27

จะตอ งเขา ใจวา ปญญาของผอู ื่นท่ีเขาคิดมาดีแลว ใชไดม าดแี ลว ในงานน้ันยอมเปนพ้นื ฐานอยางดีสําหรับเรา
ท่ีจะกอ สรางเสริมความรงู อกงามมั่นคงตอ ไป การประมาทปญ ญาผอู นื่ เทากบั ไมไ ดใ ชพนื้ ฐานท่ีมอี ยูแลว ใหเปน
ประโยชน” นอกจากน้ียงั มีสาระสาํ คญั พอท่จี ะสรุปได คอื

1) ปญญา คือ ความรูผนวกกับความเฉลียวฉลาด จัดเปนความสามารถพิเศษท่ีมีอยูใน
ตวั บคุ คล

2) ตอ งใชปญ ญาในการคิดอานอยูเสมอ จึงจะม่ันคงแข็งแรง เพราะทุกคนจําเปนตองใช
ปญญาตลอดชวี ิต

3) ไมควรประมาทปญญาของตนและผูอ ื่น ดงั แนวพระบรมราโชวาทที่พระราชทานไว
1.5 การมีสติและสงบสํารวม ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมี
พระราชดํารัสกลา วโดยสรปุ วา สติเปน คูกับปญญา และทรงใชความหมายของสตวิ า เปนความระลกึ ได ความรู
ความไมวิปลาส ความรูจกั รบั ผดิ ชอบ สวนคาํ วา “สงบสาํ รวม” หมายถึงความ เรยี บรอยเปน ปกติทั้งจิตใจและ
การกระทาํ การรจู ักสาํ รวมระวังกายใจใหส งบเปนปกตนิ น้ั จะชว ยใหมีการยัง้ คดิ ในการทํางานทกุ อยา ง
1.6 ความจรงิ ใจและการมีสัจจะ ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงสอนวา

1) บคุ คลผปู รารถนาความสาํ เร็จและความเจริญ จะตอ งเปน ผูที่ยอมรับความจริง และยึดมั่น
ในความจรงิ มคี วามจริงใจทงั้ ตอตนเองและผูอ ่นื อยา งมนั่ คง

2) ตอ งมสี จั จะ คอื ความจริงใจในดานคาํ พดู และการกระทํา และปฏิบตั ใิ หไดโ ดยเครง ครัด
ครบถวน

1.7 การมวี ินัย ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงอธบิ ายวา บคุ คลผมู ี
วินยั คือ คนมรี ะเบียบ ไดแ ก ระเบยี บในการคิดและการกระทํา ผูใดไมมีระเบียบไว ถึงแมจะมีวิชา เร่ียวแรง
ความกระตือรอื รน อยเู พียงไรก็มักทํางานใหเ สรจ็ ดไี มได เพราะความคิดอานวาวุนสับสนท่ีจะทําอะไรก็ไมถูก
ตามลาํ ดับข้นั ตอน มีแตค วามลังเล ความขัดแยงในความคิด ทั้งในการปฏิบัติงาน การมีวินยั หมายถึง การมี
ระเบียบ จําแนกเปน 2 ประเภท

1) วนิ ยั ทางกาย คอื การปรบั กริ ยิ ามารยาทใหเปน ผูท รี่ จู กั ขวนขวายหาความรู เพอื่ นําไปสู
ความสําเร็จ

2) วนิ ยั ทางใจ คอื การเปน ผูทีร่ ูจักย้ังคิดและคิดอยางมีเหตุผล การรูจักประสานกับผูอ่ืน
ในขอ นี้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ทรงแนะนําวา

(1) งานแตละชิ้นจะตองปฏิบัติใหประสานสอดคลองกัน และพัฒนาไปพรอม ๆ กัน
ฉะนั้น ตอ งมกี ารเตรียมตัวทจี่ ะปฏบิ ตั งิ านประสานกบั ผอู นื่ อยา งฉลาด

28

(2) ตองเปดใจใหกวาง หนักแนนและมีเหตุผล มีวิจารณญาณ เห็นแกประโยชน
สวนรวมเปนหลกั

1.8 การสรางสรรคและพฒั นา ในขอน้ี พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช ทรงยา้ํ วา
1) การสรางสรรคความเจริญกา วหนาตองเร่ิมที่การศึกษาพื้นฐานเดมิ มากอน รักษาสวนที่มี

อยูแลวใหค งไว และพยายามปรบั ปรุงสรา งเสรมิ โดยอาศัยหลกั วชิ า ความคิด พิจารณาตามกําลังความสามารถ
2) การพัฒนาปรับปรุงควรคอย ๆ ทําดวยสติ ไมตองรีบรอน ผลที่เกิดขึ้นจะแนนอนและ

ไดผ ลดี
1.9 การวางแผนในการทํางาน ในขอนี้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

ทรงแนะนาํ วา
1) งานทุกอยา งจําเปนตองมีโครงการทแี่ นนอนสาํ หรับดําเนินงาน
2) ตง้ั เปาหมาย ขอบเขต และหลกั การไวอยางแนน อน เพราะจะชว ยใหปฏิบัติไดรวดเร็ว

และถกู ตอ งเหมาะสม
3) ตอ งมีอุดมการณแ ละหลักทีม่ ั่นคง จึงจะทํางานใหญ ๆ ไดส ําเร็จ
4) ตองมงุ มั่นทํางานดวยความซ่ือสตั ยแ ละมีคุณธรรม

2. การพฒั นาตนเองตามแนวพุทธศาสนา
2.1 ทาน คอื การให เปนหลักปฏิบัตใิ นการพฒั นาตนเองสาํ หรับที่จะใชใ นการเกอื้ หนนุ

จุนเจอื ซึง่ กนั และกนั
2.2 ศีล คอื การรกั ษา กาย วาจา ใจ ใหตั้งอยอู ยา งปกติ ไมเบียดเบยี นกนั ความสงบสขุ

ยอ มเกดิ ขน้ึ
2.3 ปรจิ าคะ คือ การสละส่งิ ท่ีเปน ประโยชนน อ ย เพอื่ ประโยชนทีม่ ากกวา การสละเพอื่

รักษาหนา ที่ รกั ษากิจทีพ่ ึงกระทาํ รักคณุ ความดี เพือ่ ความสขุ ความเจรญิ ในการอยูร ว มกนั
2.4 อาชวะ คือ ความเปน ผูซอื่ ตรงตอ ตนเอง บคุ คล องคก ร มิตรสหาย หนา ทก่ี ารงาน
2.5 มัทวะ คือ ความออ นโยน มีอัธยาศัยไมตรี ออ นโยน มีสัมมาคารวะตอผูใหญ ไมด้ือดึง

ถอื ตนวางอํานาจ
2.6 ตบะ คือ ความเพยี ร ผูมีความเพียรสามารถปฏบิ ตั ิหนา ทใ่ี หบรรลุลวงสําเรจ็ ไดดวยดี

มักเปนผมู คี วามอดทนสูง

29

2.7 อกั โกธะ คอื ความไมโ กรธ ตลอดจนไมพยาบาทมงุ ทาํ รา ยผอู นื่ ความไมโกรธมีขน้ึ ได
เพราะความเมตตา หวังความสขุ ความเจริญซึง่ กันและกนั

2.8 อหงิ สา คอื การหลกี เลีย่ งความรนุ แรง และไมเบียดเบยี นหรือเคารพในชีวติ ของผอู น่ื
คําวา “อหงิ สา” เปนภาษาสนั สกฤต หมายถงึ การหลกี เลย่ี งการบาดเจบ็ ทีเ่ รยี กวา หิงสา อหิงสาเปน แกนใน
ศาสนาพทุ ธ ศาสนาฮนิ ดู และศาสนาเชน อหงิ สา มกี ารกลา วไวในปรชั ญาอินเดยี ประมาณ 800 ปก อ น
พทุ ธศกั ราช

2.9 ขันติ คอื ความอดทน อดทนตอ การตรากตราํ ประกอบการงานตา ง ๆ อดทนตอ ถอ ยคาํ
ไมพงึ ประสงค หรอื ส่ิงอนั ไมชอบใจตา ง ๆ ในการอยรู วมกันของคนหมมู าก

2.10 อวิโรธนะ คือ ความไมผดิ ผดิ ในทน่ี ้หี มายถงึ ผดิ จากความถูกตอง ทกุ อยา งทคี่ นท่วั ไป
ทาํ ผิด เพราะไมร วู าผิด หรอื รวู าผิดแตย ังดอ้ื ดงึ ทาํ ทัง้ ๆ ที่รู ถา ปลอยเชน น้ไี ปเรอื่ ย ๆ กไ็ มรจู กั ไมอาจปฏิบัติ
ในสง่ิ ทถี่ ูกตองไดเ ลย

3. คณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชพี
ผูประกอบการจะตองมีคุณธรรม จรยิ ธรรม เก่ียวกับเร่ืองความรับผิดชอบใน การผลิตสินคา

เชน ความสะอาด ความประณีต ความซ่ือสัตย เขาสูตลาด โดยเฉพาะดานความปลอดภัยตอสุขภาพของ
ผบู ริโภค หรอื การใหบริการท่ปี ลอดภัยแกผ ูรบั บรกิ าร

ในสวนตวั ของผูผลติ การประกอบอาชพี ใหมีความมนั่ คงได ผูประกอบการจะตองมคี ณุ ลกั ษณะ
เปนคนขยัน ซอ่ื สตั ย รูจักประหยัด อดออม มคี วามพากเพยี ร มอี ตุ สาหะ เพือ่ ความมั่นคงในการพัฒนาอาชีพ
ของตนเองใหมคี วามมัน่ คง

30

เรืองที 5 : การอนรุ ักษ์พลงั งานและสิงแวดล้อมในการขยายอาชีพในชุมชน สังคม และ

ภูมิภาค 5 ทวปี ไดแก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวปี อเมรกิ า ทวปี ยุโรป
และทวีปแอฟริกา

การขยายขอบขายอาชีพ ผูประกอบอาชีพจําเปนจะตองคํานึงผลกระทบท่ีเกิดจากการใช
ทรัพยากรธรรมชาติ เชน ปาไม ดิน น้ํา ทรัพยากรมนุษย และตนทุนในการผลิตอยางคุมคา และไมเกิด
ผลกระทบตอสภาพแวดลอมและวิถีชีวิตของคนในชุมชน สังคม และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย
ทวีปออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวีปยโุ รป และทวปี แอฟรกิ า ดงั กรณตี วั อยาง

ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : ผลกระทบของสารเคมี

31

เชือก่อโรคในของหมักดอง

อาหารหมักดอง เปนภูมิปญญาพนื้ บานของไทยมาชานาน คนสมัยโบราณจงึ คิดคนหาวิธีถนอมอาหาร
ใหเก็บไวไดน าน ๆ จนมีคาํ กลาวท่ีวา “เกิดเปนคนไทย อยทู ไี่ หนกไ็ มอ ดตาย”

เพราะทุก ๆ ครง้ั ทเ่ี ราสามารถหาส่ิงมชี ีวติ ใกลตัวนํามาปรับปรุง และประยุกตเปนอาหารใหเขากับ
ลักษณะความเปน อยไู ดเ ปน อยางดี ถา ทาํ ทานเองในครอบครวั ก็ไมเ ปนไร

แตถ า ไมมีเวลาทาํ แลวไปหาซือ้ ตามทองตลาด วันนีข้ อเตอื นใหตอ งระวงั กนั สกั นิด โดยเฉพาะอาหาร
หมกั ดอง

เนอ่ื งจากอาหารหมักดองพ้นื บา นหลายชนดิ นั้น อาจยงั ไมไดม าตรฐาน เพราะยังขาดการควบคุมใน
เรอ่ื งของความสะอาดของวตั ถุดบิ ขนั้ ตอนการทําและภาชนะบรรจุ รวมถงึ การปอ งกนั อาหารจากการปนเปอ น
ของเช้อื กอโรค ซึ่งหากซ้ืออาหารหมักดองที่ไมมีการควบคุมความสะอาดมาทาน อาจทําใหเ กิดอันตรายแก
รางกายได

เหมือนเชนวันนี้ สถาบันอาหารไดสุมตัวอยางของหมักดองและหนอไมดอง เพ่ือวิเคราะหหาการ
ปนเปอนของเชอื้ ทีม่ ชี ่ือวา คลอสทรเิ ดยี ม เปอรฟ รงิ เจมส (Clostridium pergringens) ซ่ึงเปนสาเหตทุ ที่ ําใหเ กดิ
อาหารเปน พษิ เชอ้ื นี้สามารถพบไดในดิน นํ้า และอากาศ

หากวัตถดุ ิบ เชน พชื ผัก ท่ีนาํ มาทาํ เปนของหมักดองมีความสะอาดไมเพยี งพอ กอ็ าจทาํ ใหรางกาย
ไดร ับเชือ้ ชนิดนีเ้ ขาไปโดยไมรูตัว

สาํ หรบั คนท่ีช่ืนชอบทานผักกาดดองและหนอ ไมด องบอย ๆ ลองดูผลวเิ คราะหข องสถาบันอาหารได
ตามตารางดานลา ง กอนตดั สนิ ใจรับประทานเขา ไป

32

ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : อาหารเป็ นพษิ

ยาฆ่าแมลงไร้กลนิ ไม่สินอนั ตรายสูดดมมีสิทธิคลนื ไส้

อย. ช้ียาฆาแมลง ไรกล่ิน ไมสิ้นอันตราย สูดดม มีสิทธ์ิคลื่นไส เวียนหัว และเปนอันตรายตอ
สขุ ภาพได

เมื่อวันท่ี 3 กพ. ภญ.ศรีนวล กรกชกร รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เปดเผยวา
ปจจุบนั ยังมผี บู รโิ ภคทีใ่ ชผ ลิตภัณฑวตั ถุอันตรายทใ่ี ชต ามบา นเรือน หรอื ทางสาธารณสขุ อาทิ ผลติ ภณั ฑปองกัน
กาํ จัดแมลง และสตั วอนื่ ผลิตภณั ฑฆ าเชอื้ โรค และผลติ ภัณฑทาํ ความสะอาด เกิดความเขาใจท่ีคลาดเคล่ือน
ในเรือ่ งของความเปน อันตรายของ ผลติ ภณั ฑว ัตถุอันตรายวา ผลิตภณั ฑว ตั ถอุ ันตรายท่ีมีกลิ่นหอม ไมมีกลิ่นฉุน
หรือมกี ล่นิ ออ นมีความเปน อนั ตรายนอย หรอื ไมอ นั ตราย โดยการแสดงทา ทางสดู ดมพรอมคําท่ีสื่อใหรูสึกวา
ผลิตภณั ฑห อมนา ดม หรอื การแสดงขอ ความทท่ี ําใหเขาใจวา ผลิตภัณฑทาํ จากธรรมชาติ

แตในความจรงิ แลว กลน่ิ หอมเกดิ จากการปรงุ แตงกลน่ิ ดว ยนาํ้ หอมสงั เคราะห โดยอาจเปน นา้ํ หอมท่ี
ใหก ลน่ิ หอมคลา ยดอกไมห รอื นํา้ มนั หอมระเหยสกดั จากธรรมชาติ ซึ่งในความเปนจริง หากผูบรโิ ภคสูดดมกล่ิน
ของผลติ ภณั ฑว ัตถอุ ันตรายเขา ไปจะทาํ ใหปวดศีรษะ วิงเวียน คลน่ื ไส และเปนอนั ตรายตอสขุ ภาพได

โดยประโยชนท่ีแทจริงของการแตงกล่ินของผลิตภัณฑวัตถุอันตรายน้ัน ก็เพ่ือกลบกล่ินที่ไมพ ึง
ประสงคข องสารออกฤทธขิ์ องผลติ ภณั ฑ หรอื สารเคมีที่ใสเ ขาไปในผลติ ภณั ฑเ พอ่ื ใชเปน ตวั ทาํ ละลาย ตลอดจน
คณุ สมบติทางเคมีและกายภาพของตวั ผลติ ภณั ฑ ซ่ึงมักจะมีกลิ่นฉุนอยางรุนแรง จึงตองแตงกลิ่นเพ่ือชวยลด
ความรนุ แรงของกล่นิ ในผลิตภณั ฑใ หน อยลง เพือ่ ใหผูบริโภคหนั มาเลอื กบรโิ ภคสินคามากย่ิงขนึ้ .

33

ภาพข่าวหนงั สือพมิ พ์ : การประสบอุทกภัย สืบเนอื งมาจากการทาํ ลายป่ าไม้

เกิดฝนตกหนักใน มอ.หาดใหญ ทําใหนํ้าทวมขัง เครดิต : @BBalaka สงขลา ประกาศภัยพิบัติ
10 อําเภอ หาดใหญชักธงแดง สั่งอพยพคนแลว หวั่นคืนนี้คันก้ันนํ้าจะรับ นํ้าไมไหวและทะลักทวมเมือง
ขณะที่กรมอุตุ ฯ เตือนพายุเขาภาคใตฝงตะวันออกเท่ียงคืนน้ี เตรียมรับมือฝนตกหนัก นํ้าปาไหลหลาก
อกี ระลอก

ประกาศเตือนภัย “พายุดีเปรสชั่นในอาวไทย และอากาศหนาวเย็นบริเวณประเทศไทยตอนบน”
ฉบับที่ 3 ลงวนั ท่ี 01 พฤศจิกายน 2553

เมอ่ื เวลา 04.00 น. วนั นี้ (1 พย.) พายุดีเปรสชันบรเิ วณอา วไทยตอนลาง มีศูนยกลางหางประมาณ
350 กิโลเมตร ทางตะวันออกเฉยี งใตข องจังหวดั สงขลา หรอื ที่ละตจิ ดู 6.5 องศาเหนือ ลองตจิ ดู 104.0 องศา
ตะวนั ออก มคี วามเรว็ สงู สดุ ประมาณ 15 กม./ชม. คาดวาจะเคลอ่ื นตวั ผานบรเิ วณภาคใตต อนลา ง ในชว งวนั ที่
1 - 2 พฤศจกิ ายน ลกั ษณะเชน น้ที ําใหบ รเิ วณภาคใตต ั้งแตจงั หวดั สุราษฎรธานลี งไปมีฝนตกชกุ หนาแนน และ
มีฝนตกหนักถงึ หนกั มากหลายพน้ื ท่แี ละอาวไทยมคี ล่นื สูง 2 - 4 เมตร

จึงขอใหประชาชนทอ่ี าศัยในพืน้ ทเ่ี สยี่ งภยั บรเิ วณท่ลี าดเชิงเขาใกลทางนํ้าไหลผาน และพ้ืนท่ีราบลุม
ริมฝงแมน้ํา บริเวณจังหวัดสรุ าษฎรธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส กระบี่
ตรัง และสตลู ระมัดระวังอันตรายจากฝนตกหนัก ที่อาจทําใหเกิดสภาวะนํา้ ทวมฉับพลัน น้ําปาไหลหลาก
และนา้ํ ลน ตลิ่งได สาํ หรบั ประชาชนที่อาศยั อยตู ามชายฝงทะเลของภาคใตฝงตะวันออก ขอใหระวังอันตราย
จากคลน่ื ลมแรงทพ่ี ดั เขาสูฝ ง ในระยะนี้ไวดวย ชาวเรือบริเวณอาวไทยตอนกลางลงไป ควรงดออกจากฝงใน
ระยะนีไ้ วด ว ย

34
อนง่ึ ในระยะ 1 - 2 วนั นี้ บรเิ วณความกดอากาศสงู หรือมวลอากาศเย็นกําลังแรงจากประเทศจีนยังคง
แผลงมาปกคลุมประเทศไทย ทําใหบริเวณประเทศไทยตอนบนมีอากาศหนาวเย็นโดยทั่วไปกับมีลมแรง
สําหรบั ภาคเหนอื ตอนบน และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ อุณหภูมิต่ําสุด 12 - 16 องศาเซลเซียส สวนบริเวณ
ยอดดอยและยอดภู อณุ หภูมิตาํ่ สุด 6 - 12 องศาเซลเซยี ส

ภาพนาํ ท่วมหาดใหญ่ สงขลา
ในระยะน้ขี อใหประชาชนตดิ ตามขา วพยากรณอากาศและเตือนภยั จากกรมอุตนุ ยิ มวิทยาอยางใกลชดิ
อยา งไรก็ตาม ลา สดุ มรี ายงานวา ทางหาดใหญไ ดเ ปลี่ยนจากธงเหลืองเฝาระวังสถานการณ เปนธง

สีแดงแลว ซ่ึงหมายความวา น้ําจะทวมไดภายใน 3 - 60 ชั่วโมง โดยสั่งอพยพประชาชนทันที เนื่องจาก
คาดวาในคืนนีค้ นั ก้นั นา้ํ จะรับน้ําไมไหวและทะลักทวมเมือง

โดยในตอนน้ี การไฟฟา สงขลาทาํ การตัดไฟ ทาํ ใหไฟดับเกอื บท่ัวท้ังจังหวัด และโรงประปาจมนํ้า
จนเหลอื แคโรงเดยี ว เจา หนาที่แจงใหสํารองนํ้าไวใชโดยดว น

35

ใบงานที่ 6
การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน

คําชี้แจง : ใหผูเรียนคิดวิเคราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควรจะตองมีความรู
อะไรบา งทจ่ี ะใชพ ฒั นาอาชีพใหเ กิดความเขมแขง็ ยัง่ ยืน โดยอาศยั องคประกอบของการคดิ ตามตวั อยา งดงั นี้

36

37

ใบงานที่ 7
การขยายกระบวนการจัดการงานอาชีพในชุมชน

คําชีแ้ จง : ใหก ลมุ ผูเรียนคิดวิเคราะหจากประสบการณของตนเองวา การประกอบอาชีพควรจะตองมีความรู
อะไรบางทจ่ี ะใชพฒั นาอาชพี ใหเกิดความเขม แข็ง ยั่งยนื โดยอาศยั องคป ระกอบของการคดิ ตามตวั อยางดงั น้ี
ตัวอยา ง ผลการวิเคราะหธ ุรกิจเกษตรอนิ ทรีย

38

39

ใบงานที่ 8
ตวั อย่างบันทึกแสวงหาความรู้เรืองการพฒั นาคุณภาพดนิ

คําชี้แจง : ผูเรียนรวมกันพิจารณาตัดสินใจ เลือกหัวขอความรูที่เห็นวามีความสาํ คัญและจําเปนตองนํามา
ยกระดบั ความรูดว ยการแสวงหาความรู แลกเปล่ียนเรียนรปู ระยกุ ตใชค วาม รแู ละสรุปองคความรู

40

41

ใบงานที่ 9
ตวั อยางบันทึกแสวงหาความรูเร่ืองการพฒั นาคุณภาพดิน

คําชี้แจง : กิจกรรมนี้เปนการนําผลสรุปจากการแสวงหาความรูของผูเรียนแตละคนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู
ความรู ขอ มลู ทไี่ ดมาเปน องคค วามรูเบื้องตน สาํ หรับเปน แนวทางในการปฏบิ ตั ิยกระดบั ความรู ดังตัวอยา งนี้
ตวั อย่างบันทกึ แสวงหาความรู้เรืองการพฒั นาคณุ ภาพดิน

42

43

ใบงานท่ี 10

คําชี้แจง : การบันทึกกจิ กรรมการประยุกตใ ชความรู ตารางน้เี ปน กระบวนการจดบันทกึ ขอมลู ผลได ผลเสยี
และการแกไ ขขอ บกพรอ งอยางเปน ระบบ

ตวั อยา ง บันทึกผลการประยกุ ตใชค วามรู


Click to View FlipBook Version