The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 1 จุดมุ่งหมายของการออกแบบเครื่องมือ.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mr.Nattavirot Inyang, 2019-11-23 23:28:17

บทที่ 1 จุดมุ่งหมายของการออกแบบเครื่องมือ.docx

บทที่ 1 จุดมุ่งหมายของการออกแบบเครื่องมือ.docx

1

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE

บทท่ี 1
จุดมุง่ หมายของการออกแบบเคร่ืองมือ
1.1 การออกแบบเคร่ืองมือ
การออแบบเคร่ืองมือเป็นขบวนการของการออกแบบและปรั บปรุงเคร่ืองมือ
วธิ ีการและเทคนิคท่ีจาํ เป็นหลายๆอยา่ ง เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพในโรงงาน
อุตสาหกรรม และเพิม่ ผลผลิตให้สูงข้ึนดว้ ย การออกแบบเคร่ืองมือท่ีเก่ียวกับ
เคร่ืองจักรในโรงงานอุตสาหกรรม และเคร่ืองมือพิเศษอ่ืน ๆ
1.2 จุดประสงคข์ องการออกแบบเคร่ืองมือ
จุดประสงคส์ ว่ นใหญข่ องการออกแบบเคร่ืองมือ กค็ ือการลดคา่ ใชจ้ า่ ยใน
การผลิตงานอุตสาหกรรม แตใ่ นขณะเดียวกันทางดา้ นคุณภาพกย็ ังคงเดิมไม่
ลดลง นั กออกแบบเคร่ืองมือจึงตอ้ งปฏิบัติตามสงิ่ ตา่ งๆดังตอ่ ไปน้ี
1.2.1 หาวธิ ีการทาํ งานกับเคร่ืองมือให้เป็นแบบธรรมดาและงา่ ย
1.2.2 ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการผลิตโดยผลิตช้ินงานท่ีราคาตา่ํ
1.2.3 ออกแบบเคร่ืองมือให้มีคุณภาพสูง
1.2.4เพิม่ อัตราการผลิตดว้ ยเคร่ืองจักรท่ีมีอยูแ่ ลว้
1.2.5 ออกแบบเคร่ืองมือให้มีตัวกันโง่
1.2.6 เลือกวัสดุท่ีใชท้ าํ เคร่ืองมือซ่ึงมีอายุการใชง้ านอยา่ งพอเหมาะ
1.2.7 หาวธิ ีป้ องกันสาํ หรั บการออกแบบเคร่ืองมือเพ่ือให้หารใชเ้ คร่ืองมือ
นั น้ ๆมีความปลอดภั ยตอ่ ผูใ้ ชม้ ากท่ีสุด
1.3 การออกแบบเคร่ืองมือในงานอุตสาหกรรม
ในงานอุตสาหกรรมมีสว่ นท่ีสาํ คัญอยูอ่ ยา่ งหน่ึง คือ การออแบบเคร่ืองมือ
ซ่ึงจะครอบคลุมถึงการออกแบบผลิตภั ณฑ์ และทาํ ผลิตภั ณฑน์ ั น้ ๆ โดยขัน้ แรกจะ
ตอ้ งมีการกาํ หนดความจาํ เป็นและความตอ้ งการของผลิตภั ณฑเ์ สยี กอ่ นตอ่ มากเ็ ริ่ม
การเขียนแบบและระบุผลิตภั ณฑน์ ั น้ ๆ โดยท่ีนั กออกแบบผลิตภั ณฑแ์ ละวศิ วกรผู้
วางแผนงานจะตอ้ งทาํ งานใกลช้ ิดกันกับนั กออกแบบเคร่ืองมือเป็นอยา่ งมาก
บางครั ง้ บางคราวนั กออกแบบผลิตภั ณฑก์ จ็ ะเปล่ียนหรือปรั บปรุงการ
ออกแบบให้งา่ ยข้ึนซ่ึงจะทาํ การผลิตช้ินสว่ นของผลิตภั ณฑข์ ้ึนมากอ่ น หรือเร่ง
ผลผลิตให้มากข้ึนอีก ตามธรรมดาแลว้ นั กออกแบบผลิตภั ณฑจ์ ะเป็นผูก้ าํ หนด
จาํ นวนการผลิตการออกแบบช้ินสว่ น

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

2

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE

1.4 การวางแผนสาํ หรั บการออกแบบ
การวางแผนงานเก่ียวกับการออกแบบเคร่ืองมือจะมีผลอยา่ งมากตอ่ ผล
สาํ เร็จ หรือความลม้ เหลวในการผลิตนั น้ คือวธิ ีการปฏิบัติจะตอ้ งเป็นไปตาม
ระเบียบแบบแผน สาํ หรั บเร่ืองทัง้ หมดท่ีเก่ียวกับรายละเอียดและรายการตา่ ง ๆ
ของผลิตภั ณฑจ์ ะตอ้ งถูกเสนอและตีราคาเพ่ือท่ีจะให้ไดก้ ารผลิตท่ีมีประสทิ ธิภาพ
สูงสุด และเขา้ ใจผลิตภั ณฑแ์ ละรวมทัง้ ขบวนการผลิตเป็นอยา่ งดี ซ่ึงจะตอ้ ง
พิจารณาสว่ นตา่ ง ๆ ดังน้ี
1.4.1 แบบช้ินงาน
นั กออกแบบเคร่ืองมือจะไดร้ ั บแบบของช้ินสว่ นซ่ึงจะตอ้ งใชใ้ นการผลิตช้ิน
สว่ นของช้ินงานนั น้ ๆ ดังรูปท่ี 1.1และเม่ือทาํ การวเิ คราะหแ์ บบงานเสร็จแลว้ นั ก
ออกแบบเคร่ืองมือจะตอ้ งพิจารณาขอ้ เทจ็ จริงทั่วๆไป หลายๆอยา่ ง ท่ีมีผลกระทบ
โดยตรงตอ่ การออกแบบ ซ่ึงแฟคเตอร์ตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งพิจารณามีดังตอ่ ไปน้ี
1.4.1.1 รูปร่างและขนาดทัง้ หมดของช้ินสว่ น
1.4.1.2 ชนิดและเง่ือนไขของวัสดุท่ีจะนํามาใชท้ าํ ช้ินงาน
1.4.1.3 วธิ ีการทาํ งานและชนิดของเคร่ืองจักร
1.4.1.4 ความตอ้ งการในความละเอียดถูกตอ้ งมากน้อย
1.4.1.5 ปริมาณของงานท่ีตอ้ งทาํ การผลิต
1.4.1.6 ผิวหน้าของสว่ นท่ีจะเป็นท่ีกาํ หนด

รูปท่ี 1.1 ภาพเขียนแบบของช้ินงาน

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

3

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE

1.4.2 แผนผังการผลิต

แผนผังการผลิต เป็นหัวขอ้ ของการทาํ งานการผลิต และเรียงลาํ ดับการ
ทาํ งานและถูกคัดเลือกโดยวศิ วกรรผูว้ า่ งแผนการผลิต สาํ หรั บแบบฟอร์มของ
แผนผังการผลิตสามารถทาํ ไดห้ ลายแบบซ่ึงกแ็ ลว้ แตค่ วามตอ้ งการของบริษั ทนั น้ ๆ
แตอ่ ยา่ งน้อยจะตอ้ งมีคาํ อธิบายยอ่ ๆ ของการทาํ งานในแตล่ ะขัน้ ตอน ตลอดจน
ชนิ ดของเคร่ื องจั กรท่ีถูกเสนอ
นั กออกแบบเคร่ืองมือกใ็ ชแ้ ผนผังของการผลิตน้ีประกอบกับการออกแบบ
เคร่ืองมือดว้ ย และแผนผังการผลิตจะรวมถึงสงิ่ ตา่ ง ๆ ตอ่ ไปน้ี

1.4.2.1 รายละเอียดท่ีเก่ียวกับชนิดขนาดของเคร่ืองจักร
1.4.2.2 รายละเอียดท่ีเก่ียวขอ้ งกับชนิดและขนาดของเคร่ืองมือตัด
1.4.2.3 ลาํ ดับขัน้ กอ่ นหลังของการทาํ งาน
1.4.2.4 รายละเอียดของช้ินงานถูกกระทาํ มาอยา่ งไร
1.4.3 การเลือกวธิ ี
การตกลงใจในการเลือกใชว้ ธิ ีการใดวธิ ีการหน่ึงเป็นหัวขอ้ หน่ึงของขัน้ แรก
ของการแกป้ ั ญหา ซ่ึงวธิ ีการเดียวกันน้ีกถ็ ูกนํามาใชใ้ นการออกแบบเคร่ืองมือเพ่ือ
จะให้เขา้ ใจวา่ ไดเ้ ลือกวธิ ีการท่ีดีท่ีสุด ในระหวา่ งขัน้ ตอนการเลือกของการ
ออกแบบน้ี นั กออกแบบเคร่ืองมือจะตอ้ งคาํ นึงถึงการวเิ คราะหข์ อ้ มูลท่ีสาํ คัญ
ทัง้ หมดเพ่ือท่ีจะตอปั ญหาตา่ ง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนไดด้ ังตอ่ ไปน้ี
1.4.3.1 จะตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือพิเศษ
1.4.3.2 จะใชเ้ คร่ืองจักรแบบหมุนหลายแกนหรือแกนเดียว
1.4.3.3 เคร่ืองมือท่ีใชม้ ีจุดประสงคอ์ ยา่ งเดียว
1.4.3.4 คา่ ใชจ้ า่ ยของเคร่ืองมือจะประหยัดไดไ้ หม
1.4.3.5 ชนิดของเคร่ืองมือวัดตรวจสอบเป็นอยา่ งไร
คาํ ตอบของคาํ ถามเหลา่ น้ีและความสัมพันธอ์ ่ืน ๆ ของรายละเอียดของการ
ทาํ งานน้ี นั กออกแบบเคร่ืองมือจะขยายและเลือกแกไ้ ขปั ญหาได้
1.5 ขอบเขตการออกแบบเคร่ืองมือ

นั กออกแบบในงานอุตสาหกรรมมีงานตอ้ งรั บผิดชอบมากมาย อันไดแ้ ก่
เทคนิคในการออกแบบหรืออาจจะรวมถึงการกาํ หนดวัสดุ การอาํ นวยการดูแล
ห้องเคร่ืองมือและการตรวจสอบเคร่ืองมือ ซ่ึงนั กออกแบบเคร่ืองมือจะตอ้ งมีความ
เขา้ ใจขอบเขตหน้าท่ีของสว่ นตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

4

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE

1.5.1 การออกแบบ
ในขัน้ ตอนการออกแบบน้ี นั กออกแบบเคร่ืองมือมีหน้าท่ีในการรั บผิดชอบ
ท่ีจะตอ้ งปรั บปรุงการเขียนแบบแลภาพสเกต็ ความคดิ ตา่ ง ๆ ของการออกแบบ
เคร่ืองมือ
1.5.2 การอาํ นวยการ
โดยปกติแลว้ ขอบเขตของการอาํ นวยการของนั กออกแบบเคร่ืองมือจะถูก
กาํ หนดโดยขนาดของบริษั ท เป็นการอาํ นวยการสาํ หรั บแผนกหน่ึง ๆ ดังเชน่
การออกแบบ หรือการทาํ เคร่ืองมือ

1.5.3 การจัดหา
มีบอ่ ยครั ง้ ท่ีนั กออกแบบเคร่ืองมือตอ้ งรั บผิดชอบในกรกาํ หนดเลือกใชว้ ัสดุ
ท่ีใชท้ าํ เคร่ืองมือซ่ึงในสถานการณ์เชน่ น้ี ปกติแลว้ นั กออกแบบเคร่ืองมือจะอาศัย
ผูข้ าย สง่ วัสดุหรือช้ินสว่ นท่ีตรงกับรายละเอียดมาให้ในการเลือกผูข้ ายท่ีจะสง่
สนิ คา้ เลา่ น้ีมาให้นั น้ จะตอ้ งเลือกบริษั ทท่ีให้บริการแกล่ ูกคา้ มากท่ีสุด บริการในท่ี

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

5

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE
น้ีคือ กรชว่ ยเหลือ ในการออกแบบและชว่ ยแกไ้ ขปั ญหาท่ีเกิดข้ึนเม่ือสนิ คา้ เหลา่
นั น้ ถูกนําไปใชง้ าน

1.5.4 การตรวจสอบ
หลายครั ง้ ท่ีนั กออกแบบเคร่ืองมือจะตอ้ งมีความจาํ เป็นท่ีจะตอ้ งมีการตรวจ
สอบช้ินงานเพ่ือเป็นการแน่ใจวา่ เคร่ืองมือมีความถูกตอ้ งตามรายละเอียดนั น้ ๆ
การตรวจสอบน้ีโดยทั่วไปจะมี 2 ขัน้ ตอนใหญ่ ๆ ขัน้ แรกคือ เคร่ืองมือจะถูกตรวจ
สอบวา่ ถูกตอ้ งตามแบบดรออ้ิงหรือไม่ สว่ นในขอ้ ท่ีสองกค็ ือช้ินสว่ นท่ีถูกทาํ มา
แลว้ จะถูกตอ้ งตามรายละเอียดท่ีกาํ หนดหรือไม่ และหลังจากเคร่ืองมืออัน้ นั น้ ถูก
สง่ ไปยังแผนกการผลิตแลว้ นั กออกแบบจะตอ้ งมีการตรวจสอบเคร่ืองมือใน
ระหวา่ งการผลิตดว้ ย

1.6 สงิ่ ท่ีจาํ เป็นสาํ หรั บการเป็นนั กออกแบบเคร่ืองมือ

ในการท่ีจะเป็นนั กออกแบบเคร่ืองมือท่ีมีประสทิ ธิภาพสูงจะตอ้ งมีความ
ชาํ นาญในสงิ่ ตา่ ง ๆ ดังตอ่ ไปน้ี

1.6.1 ตอ้ งมีความสามารถเป็นอยา่ งดีในการเขียนแบบ และสเกต็ งานทา
งดา้ นเคร่ืองมือ

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

6

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บยึด
JIG&FIXTURE

1.6.2 มีความเขา้ ใจในขบวนการเคร่ืองมือและเทคนิคของงานอุตสาหกรรม
แบบทั นสมั ยใหม่

1.6.3 มีความสามารถประดิษฐ์คดิ คน้ งานดา้ นเคร่ืองกลไดเ้ ป็นอยา่ งดี
1.6.4 มีความเขา้ ใจเก่ียวกับขบวนการทาํ เคร่ืองมือขัน้ พ้ืนฐาน
1.6.5 มีความรู้ทางคณิตศาสตร์ทางชา่ ง และการใชว้ ชิ าตรีโกณเป็นอยา่ งดี

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค


Click to View FlipBook Version