The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 3 แบบดรออิ้งของจิ๊กและฟิกเจอร์.docx

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Mr.Nattavirot Inyang, 2019-12-07 22:20:37

บทที่ 3 แบบดรออิ้งของจิ๊กและฟิกเจอร์.docx

บทที่ 3 แบบดรออิ้งของจิ๊กและฟิกเจอร์.docx

16

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

บทท่ี 3

แบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิ กเจอร์
3.1 แบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์กับแบบดรออ้ิงของการผลิต
แบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์ถูกใชส้ าํ หรั บการถา่ ยทอดรายละเอียดใน
การกอ่ สร้างจ๊ิกและฟิกเจอร์จากนั กออกแบบไป่ สูผ่ ูท้ าํ จ๊ิกและฟิกเจอร
(Tool

Maker) สาํ หรั บแบบฟอร์ม และรายและรายละเอียดเก่ียวกับแบบบดรออ้ิงน้ีปกติ
จะถูกทาํ กาํ หนดตามความตอ้ งการของละบริษั ท แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม บริษั ททัง้ หมดก็
ยังมีแนวทางวางแบบฟอร์มมาตรฐานเดียวกันทุบริษั ท
แบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์น้ีจะแตกตา่ งจากแบบดรออ้ิงของการผลิต

ตรงท่ีปริมาณการแสดงรายละเอียดของสว่ นปลีกยอ่ ย ผูท้ ่ีทาํ จ๊ิกและฟิกเจอร์จะ
ตอ้ งเป็นผูท้ ่ีรู้เทคนิค มีความชาํ นาญสูง เพราะฉะนั น้ เขาเหลา่ นั น้ จึงมีความ
ตอ้ งการแบบดรออ้ิงท่ีไมต่ อ้ งมีรายละเอียดมากนั กแบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์
มีอยู่ 2 อยา่ งคือ แบบประกอบรวม (Assembly) และแบบแยกสว่ น (Detail) แบบ
ดรออ้ิงบางแบบกม็ ีเฉพาะแบบประกอบเทา่ นั น้ ถา้ หากจ๊ิกและฟิกเจอร์นั น้ เป็น
แบบบธรรมดางา่ ยๆ แตถ่ า้ จ๊ิกและฟิกเจอร์นั น้ มมีความยุง่ ยาดมากนั กกจ็ าํ เป็นท่ีจะ
ตอ้ งมีการเขียนแบบแยกสว่ นแสดงรายละเอียดสว่ นตา่ งๆ ออกมา
3.2 แบบดรออ้ิงประกอบรวม
แบบดรออ้ิงประกอบรวมน้ีจะแสดงรายละเอียดของสว่ นตา่ งๆ ของจ๊ิกและฟิก
เจอร์ท่ีอยูใ่ นตาํ แหน่งของมันจริงๆ ดังแสดงในรูป 8.1 จ๊ิกตัวน้ีเป็นแบบงา่ ยๆ ท่ีจะ
แสดงทุก ๆ สว่ นดว้ นการเขียนแบบ ดรออ้ิงประกอบรวมเพียงอยา่ งเดียวเทา่ นั น้

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

17

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

รูปท่ี 8-1 แบบดรออ้ิงประกอบรวม

รูปท่ี 8-

2แบบดรออ้ิงแยกสว่ น

3.3 แบบดรออ้ิงแยกสว่ น
แบบดรออ้ิงแยกสว่ นน้ีใชส้ าํ หรั บแสดงแบบของจ๊ิกหรือฟิกเจอร์ท่ีมีช้ินสว่ าน
เป็นจาํ นวน

มาก ซ่ึงจาํ เป็นท่ีจะตอ้ งเบียนแบบแยกสว่ นแสดงขนาดและรูปร่างท่ีแทจ้ ริง ดัง
แสดงในรุปท่ี 8.2
ซ่ึงแสดงจ๊ิกท่ีมีความยุง่ ยากมากเกินกวา่ ท่ีจะเขียนแบบประกอบรวมเทา่ นั น้ จึงตอ้ ง
ใชใ้ นการเขียน
แบบดรออ้ิงแยกสว่ น
3.4 การเขียนแบบดรออ้ิงท่ีไมย่ ุงยาก

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

18

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

การเขียนแบบดรออ้ิงท่ีไมย่ ุง่ ยากน้ีจะอธิบายไวใ่ นบทท่ี 6 โดยท่ีนั กออกแบบ
จ๊ิกและฟิ กเจอร์
ตอ้ งพยายามทีจะลดเวลาให้มากท่ีสุดในการเขียนแบบดรออ้ิง และตอ่ ไปน้ีคือจุดท่ี
ควรจาํ ในการ
ท่ีจะเขียนดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิ กเจอร์

3.4.1 ควรใชข้ อ้ ความหรือคาํ พูดแทนแทรรูป หรือแบบของรายละเอียด
ตา่ งๆ ในการ

ปฏิบั ติงาน
3.4.2 กาํ จัดหรือตัดท้งิ ในสงิ่ ท่ีเกิดความจาํ เป็นตา่ งๆ ของพวกววิ (view)
ภาพฉาย

(Projection) หรือทาํ รายละเอียด (Detaild)
3.4.3 ถา้ เป็นไปไดค้ วรใชส้ ัญลักษณ (Symbols) แทนรายละเอียดตา่ งๆ
3.4.4 ใชแ้ ผน่ แบบหรืแทมเพลต (Template) และตัวนําชว่ ยในการเขียน
แบบ เพ่ือชว่ ยลด

เวลาไดน้ ้อบลง
3.4.5 ช้ินสว่ น ท่ีเป็นมาตรฐานควรจะเขียนเพ่ือให้เหน็ ไดช้ ัดเจนเทา่ นั น้
ไมต่ อ้ งเขียนราย

ละเอียดและควรจะอว้ ช้ินสว่ นเหลา่ น้ีดว้ นตัวเลขหรือช่ือของช้ินสว่ น
นั น้ ๆ
3.5 การเขียนแบบดรออ้ิงขัน้ เริ่มแรก
ขัน้ แรกของการท่ีจะเขียนแบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์กค็ ือ การเขียน
แบบคร่าวๆ หรือการสเกต็ ภาพ (Sketchching) การเขียนภาพสเกต็ น้ีทาํ ให้นั กออ
กบบไดเ้ หน็ ความคดิ ของการออกแบบคร่าวๆ กอ่ นหน้าท่ีจะเริ่มตน้ ดว้ ยการเขียน
แบบดรออ้ิงของจ๊ิกและฟิกเจอร์เม่ือการเขียนภาพสเกต็ น้ีเป็นขัน้ เริ่มแรกของการ
ออกแบบ ดังนั น้ นั กออกแบบจึงตอ้ งแน่ใจภาพท่ีสเกต็ น้ีใกลเ้ คียงหรือเป็นแบดร
ออ้ิงท่ีแทจ้ ริงได้ รายละเอียดทัง้ หมดของเคร่ืองจักรตอ้ งถูกนํามาพิจารณาในการ
เขียนแบบสเกต็ น้ีดว้ ย ดังตัวอยา่ งเชน่ ฟิกเจอร์ในรูปท่ี 8-11

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

19

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

รูปท่ี 8.11ความสัมพันธก์ ันของเคร่ืองมือตา่ งๆ
3.6 การพัฒนาการเขียนภาพสเกต็

ขัน้ แรกของการเขียนแบบสเกต็ ของจ๊ิดหรือฟิกเจอร์ใดๆ จะตอ้ งเริ่มดว้ ยการ
เขียนภาพช้ินงานกอ่ น ดังรูปท่ี 8-12 ช้ินงานหน้าแปลนตอ้ งการทาํ เกลียวในรูท่ีรู
แกลนของหน้าแปลนน้ี หลังจากท่ีช้ินงานถูกเขียนหรือสเกต็ ภาพเรียบร้อยแลว้ ก็
เริ่มหาตาํ แหน่งท่ีจะทาํ การติดตัง้ ตัวกาํ หนดตาํ แหน่ง (Locator) กจ็ ะไดดังรูปท่ี
8.13 โดยใชส้ ลัก 2 ตัว ตัวใหญจ่ ะเป็นสลักรูปเพชรซ่ึงจะทาํ ให้สะดวกในการใส่
งานเขา้ และถอดงานออก

รูปท่ี 8-12 ช้ินงานหน้าแปลน รูปท่ี 8-13 การเลือก

จุดทีจะกาํ หนดตาํ แหน่ง
3.7 การกาํ หนดขนาดบนดรออ้ิง
ขนาดตา่ งๆจะถูกกาํ หนดไวล้ งบนสว่ นตา่ งๆ ของช้ินงานหรือช้ินสว่ ยยอ่ ย

ตา่ งๆ สาํ หรั บขนาดท่ีจะตอ้ งกาํ หนดลงไปน้ีเป็นสงิ่ จาํ เป็นอยางยงิ่ สาํ หรั บงานใน
โรงงาน และการตรวจสอบช้ินสว่ นตา่ งๆ รวมทัง้ การเขียนแบบดรออ้ิงของจ๊ิกและ
ฟิกเจอร์ดว้ ย
มีอยู่ 2 วธิ ีท่ีจะทาํ การอธิบายขนาดหรือระยะหา่ งตา่ งๆ บนแบบดรออ้ิง คือ
การกาํ หนด ขนาดจาํ กัด (Limit dimensioning) และการกาํ หนดแบบอิงขนาด
หลัก (Basic Size dimensioning)ซ่ึงโรงงานอตสาหกรรมแตล่ ะแหง่ จะเลือกใช้
แตล่ ะวธิ ีการตามความตอ้ งการ

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

20

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

3.7.1 การกาํ หนดขนาดหลัก
การกาํ หนดขนาดหลักแบบน่ีจะแสดงให้เหน็ คาสูงสุดและตา่ํ สุดของแตล่ ะช้ิน
สว่ นตา่ งๆดังแสดงในรูปภาพที 8.17 สาํ หรั บการบอกขนาดภายนอก ปกติแลว้ จะมี
การบอกขนาดโดยให้ ขนาดสูงสุดอยูด่ า้ นบน สว่ นขนาดท่ีตา่ํ สุดอยูด่ า้ นลา่ ง แตถ่ า้
เป็นลักษณภายในกจ็ ะตรงกันขา้ ม โดยให้ ขนาดสูงสุดอยูด่ า้ นลา่ ง สว่ นขนาดท่ีตา่ํ
สุดอยูด่ า้ นบน

รูปท่ี8-17 การ กาํ หนดขนาด

จาํ กัด
3.7.2 การกาํ หนดขนาดแบบอา้ งอิง
การกาํ หนดขนาดแบบอา้ งอิงน้ีจะถูกใชส้ าํ หรั บการบอกขนาดโดยใชข้ นาด
และคา่ ท่ีสามารถเปล่ียนแปลงไดม้ ากน้อยเพียงไร ดังแสดงในรูปท่ี สาํ หรั บการ
บอกขนาดภายนอกจะแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คือแบบออกขนาดดา้ นเดียว และ แบบ
ออกขนาดสองขา้ งสาํ หรั บการบอกขนาดแบบดา้ นเดียวจะใชเ้ ม่ือขนาดหลักมีคา่ ผิด
พลาดท่ียอมรั บไดค้ า่ เพียงดา้ นเดียวเทา่ นั น้ ในรูปท่ี8.18
สาํ หรั การบอกขนาดแบบสองดา้ นจะใชเ้ ม่ือขนาดหลัดมีคา่ ผิดพลาดท่ียอมรั บ
ไดส้ องทศิ ทางหรือทัง้ สองคา่ ถา้ คา่ บวกหรือลบมีขนาดเดียวกันฏจ้ ะถูกพิจารณเป็น
คา่ ผิดพลาดท่ียอมรั บไดท้ ัง้ สองขา้ ง ดังแสดงในรูปท่ี8.19

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

21

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

รูปท่ี8.18 การกาํ หนดขนาดอา้ งอิงหลัก

รูปท่ี8
-19​8.8 การระบุ

รายละเอียดความฟิ ต
มาตรฐานการประกอบเขา้ ดว้ ยกันของเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางภายนอกและภายใน

(เชน่ เพลา และรู) จะถูกกาํ หนดโดยนั กออกแบบจ๊ิกหรือฟิกเจอร์วา่ ควรจะใชข้ นาด
ไหนและตอ้ งบอกลายละเอียดท่ีแทจ้ ริงไปดว้ ยวา่ ตอ้ งการให้สว่ นท่ีสัมผัสกันมี
ความฟิตแบบไมอ่ ัดแน่น หรือแบบอัดแน่น
3.9 การบอกขนาดตามระบบเมตริก และระบบอังกฤษ

การวัดขนาดทั่วๆป จะใชก้ ันอยู่ 2 ระบบ ซ่ึงพบสว่ นมากในโรงงานอตสาหกร
รมทั่วโลกกค็ ือระบบเมตริก และระบบอังกฤษโรงงานอตสาหกรรมเป็นจาํ นวน
มากในสหรั ฐอเมริกาจะมีระบบงานอุตสาหกรรมท่ีเป็นมาตฐานโดยใชร้ ะบบ
เมตริกทาํ การวัดโดยทั่วไป

3.9.1 แบบดรออ้ิงท่ีใชข้ นาดร่วมกัน
แบบดรออ้ิงท่ีใชข้ นาดร่วมกันนีจะเป็นแบบดรออ้ิงท่ีบอกขนาดทัง้ ระบบ

อังกฤษและระบบเมตริก ดังรูปท่ี 8.21 ในรูปแบบน้ีของแบบดรออ้ิง ระบบท่ีเริ่ม

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

22

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

แรกหรือขนาดเดิม (Primarry Sytem) จะถูกกาํ หนดขนาดให้อยูบ่ นดา้ นบน
สาํ หรั บการบอกขนาดแบบตัง้ (Vertical Dimension) หรืออยูซ่ า้ ยมือ สาํ หรั บการ
บอกขนาดตามแนวนอน

รูปท่ี 8.21
แบบดรออ้ิงท่ีใชข้ นาดร่วมกัน

3.9.2 แบบดรออ้ิงระบบเอสไอท่ีอา้ งอิงดว้ ยระบบอังกฤษ
แบบดรออ้ิงแบบน้ีเป็นการปรั บปรุงมาจากแบบดรออ้ิงท่ีใชข้ นาดร่วมกัน โดย
กาํ หนดไวใ้ นแบบดรออ้ิงเพียงระบบเดียว สว่ นการบอกขนาดอีกระบบหน่ึงนั น้ จะบ
บอกไวใ้ นตารงแบบดรออ้ิง ดังแสดงในรูปท่ี 8-22

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

23

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

3.9.3 แบบดรออ้ิงทีใชร้ ะบบเอสไอ
สาํ หรั บการเขียนแบบดรออ้ิงแบบน้ีจะใชก้ ารบอกขนาดของสว่ นตา่ งๆโดย
ขนาดเป็น ม.ม ดังแสดงนรูปท่ี 8-23
รูปท่ี

8-23 แบดรออ้ิงระบบเอส-ไอ

3.10 กฎการใชแ้ บบดรออ้ิงระบบเอสไอ
การเขียนแบบดรออ้ิงระบบเอสไอน้ีกเ็ หมือนกับการเขียนแบบดรออ้ิงดว้ ย

ระบบอังกฤษแตจ่ ะแตกตา่ งกันตรงท่ีกฎการให้ขนาดลายละเอียดตามหัวขอ้ ขา้ งลา่ ง
น้ี และเป็นกฎท่ีนั กออกแบบจ๊ิกและฟิกเจอร์จัตอ้ งจดจาํ ไดด้ ว้ ย ดังตอ่ ไปน้ีคือ

3.10.1 หน่วยการวัดหมดแบบดรอ้ิงจัตอ้ งเป็นมิลิเมตร (ม.ม)
3.10.2 เม่ือมีเคร่ืองหมายน้ิว (") ถูกละเวน้ ไมใ่ ห้ใสใ่ นแบบดรออ้ิงของ

ระบบอังกฤษสาํ หรั บแบบ
3.10.3 ตัวเลขทีมีคา่ จุดทศนิยมตา่ํ กวา่ หน่ึงจะตอ้ งมี (0) นําหน้าจุทศนิยม

เสมอเชน่ 0.15มม.
3.10.4 กลุม่ ของตัวเลขทีมีปริมาณมากๆ นิยมถูกให้แยกดว้ ยชอ่ งวา่ ง

มากกวา่ ท่ีจะใชเ้ คร่ืองหมาย
คอมมา่ (commas) เชน่ 1 234 567 หรือ .123 456 7

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

24

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

3.10.5 คา่ ท่ีเป้ นศูนยจ์ ะ๔กยกเวน้ ไว้ เชน่ คร่ึงหนึงของมิลลิเมตรจะเขียนวา่
0.5 มม. โดย

จะไมเ่ ขียนวา่ 0.500
3.10.6 หน่วยท่ีถูกเป็นมุมจะถูกแทนดว้ ยเคร่ืองหมาย ( 0​ ) องศา
3.10.7 คา่ ของเกลียวจะยังคงให้อยูใ่ นลักษณะเดิม โดยไมจ่ าํ ป็นตอ้ งเปล่ียน
หน่วย เชน่ ของ
เดิมคือ 1/2-20 UNF. กไ็ มต่ อ้ งเปล่ียนมาเป็น M 12.7-1.27
3.11 กระดาษเขียนแบบมาตฐาน

ขนาดของกระดาษเขียนแบบมาตรฐานไดถ้ ูกพัฒนาปรั บปรุงให้มีขนาดโดย
การประชุมร่วมกั นของโรงงานอุตสาหกรรม การท่ีมีขนาดมาตรฐานน้ีกท็ าํ ให้
ปั ญหาท่ีเกิดจาการใชแ้ ละเกบ็ รั กษาออกถูก

3.12 อัตราสว่ นการลดขนาดและการขยายขนาด
มีบอ่ ยครั ง้ ท่ีช้ินสน่ ของจ๊ิกฟิกเจอร์ไมส่ ามารถเขียนแบบในขนาดท่ีแท้

จริงได้ เน่ืองจากช้ินสว่ นนั น้ ๆ ใหญไ่ ปหรือวา่ เลก็ มากจนไมส่ ามรถจะเขียนแบบให้
ไดพ้ อดีกับกระดาษเขียนแบบท่ีมีอยูไ่ ด้ ดังนั น้ เม่ือเกิดกรณีเชน่ น้ีจึงตอ้ งมีการลด
หรือการขยายสว่ นของแบให้พอดี สาํ หรั บอัตราสว่ นมาตรฐานท่ีใชก้ ันอยูท่ ัง้ ของ
ระบบอั งกฤษและระบบเอสไอเมตริก
3.13 การเปรียบเทียบคา่ ความผิดพลาดท่ียอมรั บไดแ้ ละคา่ ความเผ่ือ
ระบบบตา่ งๆ ท่ีใชใ้ นการทาํ ช้ินสว่ นจะตอ้ งมีรายละเอียดท่ีเก่ียวขอ้ งกับของ
คา่ ท่ีแทจ้ ริงระดับความเท่ียงตรงในงานอุตสาหกรรม ไดแ้ กค่ วามผิดพลาดท่ี
ยอมรั บได้ (Tolerance)
3.14 ภาพฉาย
ความแตกตา่ งท่ีสาํ คัญอีกอยา่ งหน่ึงของการเขียนแบบดรออ้ิงระหวา่ งระบบ
อังกฤษกับระบบเมตริกกค็ ือวธิ ีกา รเขียนภาพฉาย (Projection) แบบดรออ้ิง
ระบบเมตริกท่ีใชใ้ นอเมริกาเหนือจะแตกตา่ งกับยุโรปคือ ภาพฉายและการวาง
ตาํ แหน่งภาพจะไมเ่ หมือนกัน สาํ หรั บแบบดรออ้ิงของยุโรปจะใชม้ ุมแรกของภาพ
ฉายเป้ นหลักสาํ หรั บการเขียนดรออ้ิงเคร่ืองจักรกลทุกชนิด ดังแสดงในรูปท่ี 8-27
แตส่ ว่ นของแบบดรออ้ิงและอเมริกาและแคนนานดาจะใชม้ ุมท่ีสามของภาพฉาย
เป็ นหลั ก

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค

25

งานสร้างอุปกรณ์นําเจาะและจั บ ยึด
JIG&FIXTURE

รูปท่ี8-27 ภาพฉายโดยใชม้ ุมแรก

อาจารยณ์ ั ฐวโิ รจน์ อินยัง แผนกเทคนิคอุตสาหกรรม
วทิ ยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก อีเทค


Click to View FlipBook Version