The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รำลึกครบรอบ 25 ปี คณะศิลปศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by neopoint9, 2023-01-10 22:13:05

รำลึกครบรอบ 25 ปี คณะศิลปศาสตร์

รำลึกครบรอบ 25 ปี คณะศิลปศาสตร์

25รำ� ลึกครบรอบ ปี

คณะศลิ ปศาสตร์

25 ปี ท่ีรว่ มสร้าง

สศู่ นู ยก์ ลางการพฒั นาที่ยั่งยนื

25th Anniversary of Pride in Collaborative Efforts
to Create a Sustainable Development Hub
in the Lower ASEAN Region



สารบัญ 2

สาส์นแสดงความยนิ ดี 3
โดย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นิวัติ แกว้ ประดับ 6
อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ 14
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จนั ทร์แยม้ 21
คณบดีคณะศิลปศาสตร ์ 36
FLA History Timeline 2538-2565
ร �ำลึก การกโดอ่ ยต ั้งรคอณงศะาศสิลตปรศาจาสารตยร์์ ดร.รพพี รรณ สวุ รรณณัฐโชติ
อดตี คณบดีคณะศลิ ปศาสตร์ ล�ำดบั ท่ี 1 (2543-2547)
เลา่ ความหลัง ครัง้ เปน็ คณบดี คนท่ี 2
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.สจุ ติ รา จรจติ ร
อดตี คณบดีคณะศลิ ปศาสตร์ ล�ำดับที่ 2 (2547-2551)
คณะศลิ ปศาสตร์สู่การพัฒนาความเขม้ แข็ง
โดย รองศาสตราจารย์ ดร.อดศิ า แซ่เตยี ว
อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ ล�ำดบั ท่ี 3 (2551-2559)
ชว่ งเ วลาแโดหย่ง คผวู้ชา่วมยเปศาลส่ยี ตนรแาปจาลรงยป์ ดรรบั .กตาวั นแดลาะจพนั ฒั ทนรแ์ ายเพม้ ่อื สร้างความย่งั ยนื
คณบดคี ณะศิลปศาสตร ์ (2559 – ปจั จุบัน)

ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นวิ ตั ิ แกว้ ประดบั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จันทรแ์ ยม้
อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ คณบดคี ณะศิลปศาสตร์

เน่อื งในโขออกแสาสดงคครวบามรยอินบดี ปี
แหง่ การสถาปนาคณะศลิ ปศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์

FLA HistoryTimeline
2538 ได้รับความเห็นชอบโครงการจัดต้ัง 2552 เปิดใช้อาคารอเนกประสงค์
คณะศลิ ปศาสตร์ โดยสภามหาวิทยาลัยฯ จดั ประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ ICHiSS
ครงั้ ที่ 1
2540 สถาปนาคณะศิลปศาสตร์ วันที่ จัดต้ังวารสารศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัย
13 กันยายน พ.ศ. 2540 ตามประกาศใน สงขลานครินทร์
ราชกจิ จานเุ บกษา
แต่งตั้งคณบดีคนท่ี 1 รศ.ดร.รพีพรรณ 2553 เปดิ หลกั สตู รนานาชาติ ศศ.บ.(ภาษาจนี )
สุวรรณณฐั โชติ จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
จัดการเรียนการสอนวชิ าศกึ ษาท่ัวไป ICHiSS ครัง้ ท่ี 2
เปิดหลักสูตร ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์
ประยุกต์) 2554 ลงนาม MOU รว่ มกบั คณะมนษุ ยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่
2542 แบง่ สว่ นราชการ คอื ภาควชิ าสารตั ถศกึ ษา จัดตั้งสถานวิจัยเพ่ือศึกษาการพัฒนา
และภาควชิ าภาษาและภาษาศาสตร์ เอเชยี แปซฟิ กิ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ก�ำหนดวิสัยทัศน์ “คณะศิลปศาสตร์
2545 แบ่งส่วนราชการภายใน คือ ฝ่ายบริหาร เ ป ็ น ค ณ ะ ชั้ น น� ำ ท า ง วิ ช า ก า ร ด ้ า น
ทั่วไป และฝ่ายสนับสนุนวิชาการ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในระดบั
จัดตัง้ ศนู ย์การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ชาติและนานาชาติ”

2547 แตง่ ตงั้ คณบดคี นที่ 2 รศ.ดร.สจุ ติ รา จรจติ ร จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
เปดิ หลกั สตู ร ศศ.บ. (ภาษาเพอ่ื การพฒั นา) ICHiSS ครัง้ ท่ี 3

2548 เปดิ ใช้อาคารคณะศิลปศาสตร์ 2555 ปรับปรุงหลักสูตร ศศ.บ. (ภาษาและ
เปิดหลักสูตร ศศ.บ. (ภาษาจีนเพื่อ ภาษาไทยประยุกต)์
การสือ่ สาร) ปรับปรุงหลักสูตร ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
เปิดหลักสูตร ศศ.ม. (พฒั นามนษุ ย์และ ได้รับรางวัล PSU Best Practice 2554
สงั คม) โดย ศนู ยก์ ารเรียนรดู้ ้วยตนเอง
จดั ตั้งสโมสรนกั ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ จัดประชุมวิชาการ ระดับนานาชาติ
2549 จัดตั้งสถาบันขงจ๊ือแห่งมหาวิทยาลัย ICHiSS ครัง้ ที่ 4
สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตหาดใหญ่ 2556 จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ICHiSS ครง้ั ที่ 5
2550 เปิดหลักสตู ร ศศ.บ. (ชมุ ชนศึกษา) ลงนาม MOU รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
2551 แตง่ ตง้ั คณบดคี นที่ 3 รศ.ดร.อดศิ า แซเ่ ตยี ว 2557 ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ “คณะศิลปศาสตร์
ปรับปรุงหลักสูตร ศศ.ม. (การสอน เ ป ็ น ค ณ ะ ช้ั น น� ำ ท า ง วิ ช า ก า ร ด ้ า น
ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษานานาชาต)ิ มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ในระดับ
จัดแสดงละครเวทีคณะศลิ ปศาสตร์เป็น ชาติและภูมภิ าคเอเชีย”
คร้ังแรก จัดงานเทศน์มหาชาติ ครบรอบ ได้รับรางวัลผลงานดีเด่น สาขาท�ำนุบ�ำรุง
10 ปี คณะศลิ ปศาสตร์

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 3

ศิลปวัฒนธรรม ประจ�ำปี 2557 ของ จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์ ICHISS ครง้ั ที่ 9
2558 จัดตัง้ ชมรมศิษย์เกา่ คณะศิลปศาสตร์ ลงนาม MOU รว่ มกบั
จดั ตงั้ ศนู ยท์ ดสอบ TOEFL ITP รว่ มกบั IIE - เครอื ขา่ ยงานวจิ ัย
เปิดหลักสูตร ศศ.ม. (ภาษาไทยและ - ม.ศลิ ปากร ม.อ. และ มช.
ภาษาไทยประยุกต์) - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เปิดหลักสูตร ปร.ด. (การสอนภาษา - Fudan University
อังกฤษเป็นภาษานานาชาติ) - Guangxi Normal University
เปิดหลักสูตร ปร.ด. (พัฒนามนุษย์และ - Sichuan University
สังคม) - University College Bestari
ได้รับการรับรองคุณภาพวารสาร 2561 เปดิ ปา้ ยคณะศลิ ปศาสตร์
ศิลปศาสตร์ (TCI1) จัดประชุมวิชาการระดับชาติ NUCHSS
จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ คร้ังท่ี 3
ICHiSS ครัง้ ที่ 7 ได้รับการรับรอง EdPEx200 รุ่นท่ี 5
ลงนาม MOU ร่วมกับ พ.ศ. 2560 ทางดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละ
- สถาบัน IIE/SEA (TOEFL ITP) สงั คมศาสตร์ เป็นคณะแรกของประเทศ
- สถาบนั ขงจ๊ือ และเทศบาลเมอื งสะเดา ได้รับการรับรองคุณภาพวารสาร
- โรงแรมรายาวดี ดา้ นสหกิจศกึ ษา ศลิ ปศาสตร์ (TCI1/ACI)
2559 แต่งตั้งคณบดีคนที่ 4 ผศ.ดร.กานดา จดั โครงการประกวดสนุ ทรพจนภ์ าษาไทย
จันทรแ์ ย้ม ถน่ิ ใต้
จัดประชุมวิชาการระดับชาติ NUCHSS ลงนาม MOU ร่วมกบั
คร้งั ท่ี 1 - ม.อ. มทษ. และ มทร.ศรีวิชยั
ลงนาม MOU รว่ มกับ - สถาบันขงจ๊อื และเทศบาลนครสงขลา
- สถาบนั ขงจ๊ือและโรงเรียนเครอื ขา่ ย - สถาบนั IIE/SEA (TOEFL ITP)
การสอนภาษาจีน - อบต.ปากรอ
- National Defence University of - บรษิ ัท ไทยไฟลท์เทรนนง่ิ จำ� กดั
Malaysia - Fudan University
2560 ครบรอบ 20 ปี คณะศิลปศาสตร์ - Sichuan University
ครบรอบ 11 ปี สถาบันขงจ๊ือแห่ง - University College Bestari
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ - Universiti Sains Malaysia
ปรบั วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ คา่ นยิ ม - Guangxi Normal University
ของคณะศลิ ปศาสตร์ใหม่ 2562 เปิดหลักสูตรรายวิชาภาษาไทยส�ำหรับ
จัดประชุมวิชาการระดับชาติ NUCHSS นกั ศกึ ษาต่างชาติ
ครัง้ ท่ี 2 อนุมัติการเปิดหลักสูตร ศศ.บ.(การจัด
จัดประชุมวิชาการเครือข่ายด้าน การอุตสาหกรรมการบินและการบริการ)
การจัดการชุมชนเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน จัดประชุมวิชาการระดับชาติ NUCHSS
ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 2 ครัง้ ที่ 4

4 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

จดั ประชุมวิชาการระดบั นานาชาติ - Universitas Gadjah Mada
ICHiSS ครง้ั ที่ 11 - Universiti Sains Malaysia
จดั โครงการประกวดการพดู เชงิ สรา้ งสรรค์ 2564 จัดสอบ New PSU-TEP
ภาษาไทยถน่ิ ใต้ ครง้ั ที่ 2 จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ลงนาม MOU ร่วมกับ ICHiSS คร้งั ที่ 13
- คณะการบริการและการท่องเท่ียว ปรบั เปลยี่ นวสิ ยั ทศั นค์ ณะ “เปน็ ศนู ยก์ ลาง
ม.อ.ภูเกต็ การพัฒนาด้านภาษา วัฒนธรรมและ
- Confucius Institute Headquarters สงั คมในภมู ภิ าคอาเซียนตอนลา่ ง”
(Hanban) จดั โครงการประกวดการพดู เชงิ สรา้ งสรรค์
- Guangxi Normal University ภาษาไทยถ่ินใต้ ครงั้ ท่ี 4
2563 เผยแพรเ่ วบ็ ไซต์ www.naamchoop.com จัดเสวนาออนไลน์แหลงเรือ่ งใต้ให้เทือน
จัดตั้งศูนย์วิจัยด้านภาษา วัฒนธรรม หัวข้อ “แหลงใต้ไดห้ รอย ย้อนรอยตาม
และการพัฒนามนุษยใ์ นภูมภิ าคอาเซียน ยคุ สมัย”
ตอนล่าง (RC-LCHD) จดั ประชุมวิชาการระดับชาติ NUCHSS
เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั ร (Non-degree): ครัง้ ที่ 6
ชุดวิชามนุษย์ปัจจัยทางด้านการบิน จัดโครงการพิธีประดับปีกการบิน รุ่นท่ี 1
และ ชุดวิชานริ ภัยทางการบนิ นักศึกษาหลักสูตร ศศ.บ. สาขาวิชา
จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การจัดการอุตสาหกรรมการบินและ
เครือข่ายด้านการจัดการชุมชนเพื่อ การบริการ
การพัฒนาท่ยี ่ังยนื ครง้ั ที่ 5 จัดการประกวดตราสัญลักษณ์ครบรอบ
จัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติ 25 ปี คณะศิลปศาสตร์
ICHiSS ครัง้ ท่ี 12 เปดิ ใชห้ ้อง FLA Studio
จดั โครงการประกวดการพดู เชงิ สรา้ งสรรค์ เปิดใชห้ ้องประชุม “มะลวิ ลั ย์”
ภาษาไทยถ่ินใต้ ครั้งที่ 3 เปดิ ใช้ห้องดนตรี
จัดต้ังศูนย์ทดสอบวัดระดับความรู้ ลงนาม MOU ร่วมกบั
ภาษาจีน HSK และ HSKK ร่วมกับ - โรงเรียนเครือข่ายส่งเสริมการเรียน
ส ถ า บั น ข ง จ๊ื อ แ ห ่ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย การสอนภาษาจีน (ภาคใต้) 8 สถาบัน
สงขลานครนิ ทร์ - ม.อ. มทษ. และ มทร.ศรีวชิ ัย
จัดประชมุ วิชาการระดบั ชาติ NUCHSS 2565 ครบรอบ 25 ปี คณะศิลปศาสตร์
ครัง้ ท่ี 5 มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์
ลงนาม MOU รว่ มกับ ลงนาม MOU รว่ มกบั
- สถาบันพฒั นาองคก์ รชุมชน (องค์การ - สถาบันขงจื๊อ ม.อ. และโรงเรียน มอ.
มหาชน) วิทยานสุ รณ์
- สถาบันขงจอื๊ ม.อ. (HSK/HSKK) - IDP Education (IELTS)
- บริษัท ไทยไฟลท์เทรนน่งิ จำ� กัด - คณะศลิ ปศาสตร์ ม.มหิดล
- คณะมนุษยศาสตร์ มช. - คณะสงั คมศาสตร์ มช.

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 5

รำ� ลึกการกอ่ ต้งั

คณะศิลปศาสตร์

เวลาผ่านไปอย่างรวดเร็วนับจากวันสถาปนา รับผิดชอบสอนวิชาพ้ืนฐานทางสังคมศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์มาจนถึงปี 2564 คณะได้จัดต้ัง มนุษยศาสตร์และพลศึกษา จึงเสนอมหาวิทยาลัยฯ
มาเป็นเวลา 24 ปีแล้ว แต่หากจะนับกันไปจริง ๆ เพื่อให้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาการศึกษาระดับ
ก่อนท่ีจะได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา อุดมศึกษาระยะที่ 5 แต่ไม่ได้รับความเห็นชอบ
ให้จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ข้ึนในมหาวิทยาลัย การเสนอให้จัดต้ังคณะทางศิลปศาสตร์ในวิทยาเขต
สงขลานครินทร์น้ัน ใช้เวลาหลายปีและผ่าน หาดใหญ่นับเป็นเรื่องยากในขณะนั้น เพราะ
เหตุการณ์ต่าง ๆ มามากมาย เม่ือท่านคณบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีแนวคิดให้วิทยาเขต
(ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จันทร์แย้ม) ได้ขอ หาดใหญเ่ ป็นวทิ ยาเขตท่เี น้นทางดา้ นวิทยาศาสตร์
ให้ผู้เขียนเล่าเรื่องราวของคณะศิลปศาสตร์เพื่อ ปี 2528 ที่ประชุมคณบดีเห็นชอบให้จัดต้ัง
ตีพิมพ์ในหนังสือครบรอบ 25 ปีของคณะฯ ผู้เขียน คณะศิลปศาสตร์ และบรรจุไว้ในแผนพัฒนา
ก็ยินดี แต่การเขียนไม่ง่ายนักเพราะระยะเวลาผ่าน การศกึ ษาฯ ระยะที่ 6 มหาวทิ ยาลยั ฯ มคี ำ� สงั่ แตง่ ตง้ั
มานานมากแล้ว ได้อาศัยความทรงจ�ำ บันทึก คณะกรรมการด�ำเนินการพิจารณาจัดท�ำโครงการ
การท�ำงาน และความประทบั ใจในฐานะที่เปน็ ผ้รู ่วม จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ เพ่ือร่างโครงการจัดตั้งคณะฯ
บุกเบิกจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์มาต้ังแต่เริ่มแรก ผู้เขียนได้รับมอบหมายให้เป็นกรรมการและ
โดยจะเล่าจนถึงปลายปี 2547 ซ่ึงเป็นช่วงท่ีผู้เขียน เลขานุการ โดยมีผู้ช่วยอธิการบดี (ดร.เทอดไทย
หมดวาระการด�ำรงตำ� แหน่งคณบดี วัฒนธรรม) เป็นประธานกรรมการและมีอาจารย์
แนวคิดในการจัดต้ังคณะฯ ในระยะแรก จากภาควิชาภาษาต่างประเทศและภาควิชา
เกิดจากคณาจารย์ภาควิชาสารัตถศึกษา (สังกัด สารัตถศึกษาเข้าร่วมเป็นกรรมการอีก 3 ท่าน
คณะวทิ ยาการจดั การ) และภาควชิ าภาษาตา่ งประเทศ แต่โครงการน้ีไม่ได้รับความเห็นชอบจากทบวง
(สังกัดคณะวิทยาศาสตร์) กลุ่มหนึ่ง ได้ปรึกษาหารือ มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม แนวคิดในการจัดตั้ง
และมีความเห็นร่วมกันว่า น่าจะรวมสองภาควิชาน้ี คณะศลิ ปศาสตรก์ ย็ งั คงมีอยู่
เข้าด้วยกัน เพ่ือจัดต้ังเป็นคณะ เนื่องจากท้ังสอง ในการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษาฯ ระยะที่ 7
ภาควิชามีภารกิจเหมือน ๆ กัน คือ เป็นผู้รับผิดชอบ (2535-2539) ภาควิชาสารัตถศึกษาได้เสนอ
ส อ น วิ ช า พ้ื น ฐ า น ใ ห ้ แ ก ่ นั ก ศึ ก ษ า ทุ ก ค ณ ะ ใ น มหาวิทยาลัยฯ ขอจัดต้ังคณะเทคโนโลยีทางสังคม
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ส่วนภาควิชาภาษาต่างประเทศ เสนอขอจัดต้ัง
โดยภาควิชาภาษาต่างประเทศรับผิดชอบสอน สถาบันทางวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพฒั นา
ภาษาต่างประเทศ และภาควิชาสารัตถศึกษา แตค่ ณะกรรมการพฒั นามหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์

6 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

พิจารณาแล้ว เสนอให้รวมภาควิชาทั้งสองจัดตั้ง ด้วยนโยบายนี้ มหาวิทยาลัยฯ ได้แต่งตั้ง
เป็นคณะศิลปศาสตร์ ซ่ึงมหาวิทยาลัยฯ เห็นชอบ คณะทป่ี รกึ ษาพเิ ศษโครงการจดั ตง้ั คณะศลิ ปศาสตรข์ นึ้
ตามข้อเสนอของคณะกรรมการพัฒนาฯ และ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่าน และแต่งต้ัง
ได้เสนอขอความเห็นชอบจากทบวงมหาวิทยาลัย คณะกรรมการด�ำเนินงานจัดสัมมนาเพ่ือระดม
ซึ่งทบวงมหาวิทยาลัยได้ให้ความเห็นชอบให้บรรจุ ความคดิ ของคณะทป่ี รกึ ษาพเิ ศษ โดยมรี องอธกิ ารบดี
คณะศลิ ปศาสตรเ์ ป็นหนว่ ยงานใหม่ของมหาวทิ ยาลัย ฝ่ายวิชาการ (รองศาสตราจารย์ นายแพทย์
สงขลานครินทร์ในแผนพัฒนาการศึกษาฯ ระยะที่ 7 วิจารณ์ พานิช) เป็นประธานคณะที่ปรึกษาพิเศษฯ
ปี 2535–2539 โดยใหเ้ รม่ิ ดำ� เนนิ การในปงี บประมาณ มีการประชุมในปี 2535 ถึง 2 ครั้ง เพื่อระดม
2536 ความคิดเห็นเก่ียวกับแนวทางการจัดการเรียน
พฤษภาคม 2535 มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ การสอนและการสนับสนุนคณะศิลปศาสตร์จาก
แตง่ ตง้ั ใหร้ องอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ (รองศาสตราจารย์ มหาวิทยาลัยฯ และให้คณาจารย์ทั้ง 2 ภาควิชา
นายแพทย์วิจารณ์ พานิช) เป็นผู้อ�ำนวยการ เข้าร่วมประชุมในฐานะผู้สังเกตการณ์
โครงการจัดต้ังคณะศิลปศาสตร์ และ มีค�ำส่ังท่ี ต้นปี 2536 ผู้อ�ำนวยการโครงการ
1268/2535 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำ� เนนิ การโครงการ จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ได้ลาออกจากต�ำแหน่ง
จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ในเดือนมิถุนายน 2535 ปี 2538 มหาวิทยาลัยฯ แต่งตั้งให้รองอธิการบดี
มรี องอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ เปน็ ประธาน ผอู้ ำ� นวยการ ฝ ่ า ย วิ ช า ก า ร แ ล ะ ฝ ่ า ย กิ จ ก า ร นั ก ศึ ก ษ า
กองแผนงานเป็นกรรมการ และเลขานุการ และ {ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ต�ำแหน่งทางวิชาการขณะน้ัน)
แต่งต้ังคณะท�ำงานโครงการจัดต้ังคณะศิลปศาสตร์ ดร.สุนทร โสตถิพันธ์} เป็นประธานคณะกรรมการ
โดยมีอาจารย์รัชนี กัลยาณคุณาวุฒิ เป็นประธาน ด�ำเนินการจัดต้ังคณะศิลปศาสตร์ และให้แต่ละ
คณะท�ำงาน และอาจารย์อ�ำไพรัตน์ สุทธินนท์ ภาควชิ าฯ เสนอชือ่ คณาจารยเ์ ข้ารว่ มเป็นกรรมการ
เป็นคณะท�ำงานและเลขานุการ มีอาจารย์จาก ผู้เขียนได้รับมอบหมายจากประธานโครงการฯ
ทง้ั สองภาควชิ ารวมทง้ั ผเู้ ขยี นเขา้ รว่ มเปน็ คณะทำ� งาน ให้เป็นกรรมการและเลขานุการ คณะกรรมการฯ
ทา่ นอธกิ ารบดี (รองศาสตราจารย์ ดร.ศริ พิ งษ์ ศรพี พิ ฒั น)์ มีอ�ำนาจหน้าท่ี เสนอแนวคิดในการจัดตั้งคณะ
ได้ให้นโยบายการจัดต้ังคณะศิลปศาสตร์ไว้อย่าง ศิลปศาสตร์ และพิจารณาเสนอแนวทางในการ
ชดั เจนวา่ จัดองค์กร ตลอดจนก�ำหนดแผนงานและโครงการ
1) ไมใ่ ห้มีนักศกึ ษาระดบั ปริญญาตรีของตัวเอง ต่าง ๆ ในการด�ำเนินงานทุกด้าน ตั้งแต่วันที่
2) ให้บริการวิชาพื้นฐานทางด้านมนุษยศาสตร์ 1 กุมภาพันธ์ 2538 ในช่วงน้ีคณะกรรมการ
และสังคมศาสตร์ในวิทยาเขตหาดใหญ่ โดย ด�ำเนินการจัดต้ังคณะฯ ได้รับพนักงานมาช่วยงาน
การให้บริการน้ันไม่เหมือนกับคณะอื่น ๆ ไม่เป็น 1 ต�ำแหน่ง คือคุณวาสนา เพ็งนวล (นับเป็น
การบรรยายมากนัก มีวิธีการจัดการเรียนการสอนใน พนักงานเงนิ รายได้ สงั กัดคณะศิลปศาสตรค์ นแรก)
ลักษณะท่ีนักศึกษาเข้าใจสังคมอย่างแท้จริง ไม่เป็น ในการจัดท�ำแผนพัฒนาการศึกษาฯ ระยะที่ 8
direct learning เกินไป เสริมสร้างทักษะและ ภาควิชาสารัตถศึกษา เสนอให้เปิดสอนระดับ
ประสบการณจ์ รงิ แก่นกั ศกึ ษาเป็น active learning ปริญญาตรี ผลิตบัณฑิตด้าน Executive Secretary
3) ต้องการให้กิจกรรมของคณะซ่ึงหมายถึง ตามท่ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิริรัตน์ ธานีรณานนท์
ตัวอาจารย์ท้ังหลายด้วยอยู่ในลักษณะท่ีมีส่วนช่วย (ต�ำแหน่งทางวิชาการขณะนั้น) เสนอ ในส่วนของ
สังคม มีการท�ำวิจัยเป็นงานประจ�ำ และจัดการ ภาควชิ าภาษาตา่ งประเทศไดเ้ ปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาโท
ศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยการวิจัยนั้น มุ่งการ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ศึกษาปญั หาและแก้ไขปัญหาของทอ้ งถิน่ ภาษาศาสตร์ประยุกต์มาต้ังแต่ปีการศึกษา 2539

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 7

คณะกรรมการด�ำเนินการจัดต้ังคณะฯ มี กลั่นกรองผู้เหมาะสมเป็นผู้อ�ำนวยการโครงการ
การประชมุ กนั หลายครงั้ เพอ่ื พจิ ารณารา่ งโครงการจดั ตง้ั จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ และมีค�ำส่ังท่ี 1685/2540
คณะศิลปศาสตร์และได้เสนอโครงการจัดตั้งคณะฯ แตง่ ตง้ั รองศาสตราจารย์ ดร.รพพี รรณ สวุ รรณณฐั โชติ
พร้อมกับการขอเปิดหลักสูตรเลขานุการบริหาร เป็นผู้อ�ำนวยการโครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์
ต่อสภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ซ่ึงสภา ตามที่คณะกรรมการกล่ันกรองฯ เสนอ ตั้งแต่
มหาวิทยาลัยฯ ในคราวประชุมครั้งท่ี 192(8/2538) วันท่ี 2 กันยายน 2540
วันท่ี 25 พฤศจิกายน 2538 มีมติเห็นชอบ ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกา จัดต้ังคณะ
โครงการจัดต้ังคณะฯ แต่มีข้อเสนอแนะให้กลับไป ศิลปศาสตร์ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ
พิจารณาทบทวนการใช้ช่ือคณะว่าสมควรใช้ชื่ออ่ืน ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกา
แทนหรือไม่ เช่น “คณะสารัตถศึกษา” และให้ เล่ม 114 ตอนที่ 47ก วันที่ 12 กันยายน 2540
ความเห็นว่าเพื่อให้สามารถด�ำเนินการให้บริการ คณะศลิ ปศาสตรจ์ งึ ไดเ้ ปน็ คณะฯ ทส่ี มบรู ณ์ ภายหลงั
วิชาพ้ืนฐานท่ัวไปได้ตามวัตถุประสงค์ จึงไม่สมควร การประกาศในราชกิจจานุเบกษา 1 วัน คือวันที่
ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี หากมีความพร้อม 13 กันยายน 2540 จึงถือว่าวันท่ี 13 กันยายน
และความเหมาะสมที่จะผลิต ก็ให้ผลิตในระดับ 2540 เป็นวันสถาปนาคณะศิลปศาสตร์ เม่ือได้รับ
ปริญญาโท และยังเห็นว่า คณะฯ ไม่ควรแบ่งเป็น การจัดต้ังคณะเรียบร้อยตามกฎหมายแล้ว
ภาควิชามาก ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับลักษณะ มหาวิทยาลัยได้มีค�ำส่ังที่ 1881/2540 แต่งต้ัง
การปฏิบัติภารกิจของคณะฯ ในการให้บริการ รองศาสตราจารย์ ดร.รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ
สอนวิชาพ้ืนฐาน คณะกรรมการด�ำเนินการจัดต้ัง เป็นผู้รักษาการในต�ำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์
คณะฯ รับข้อเสนอแนะจากสภามหาวิทยาลัยฯ ตั้งแต่วันท่ี 13 กันยายน 2540 ต่อมาได้ก�ำหนด
ไปทบทวนมีมติให้คงช่ือคณะศิลปศาสตร์และ ปริญญาสาขาศิลปศาสตร์ ก�ำหนดสีประจ�ำสาขา
ถอนหลักสูตรเลขานุการบริหารออกจากโครงการ ในคณะศิลปศาสตร์เป็นสีแดงส้ม ประกาศใน
จัดตั้งคณะฯ เดือนตุลาคม 2539 มหาวิทยาลัยฯ ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกาเล่ม 116 ตอนที่
เสนอโครงการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ต่อทบวง 53ก วันที่ 28 มิถุนายน 2542 แต่ยังไม่มีประกาศ
มหาวทิ ยาลยั วนั ที่ 16 มกราคม 2540 คณะกรรมการ แบง่ สว่ นราชการจากทบวงมหาวทิ ยาลยั และยงั ไมไ่ ด้
ทบวงมหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบการจัดต้ังคณะ ตัดโอนต�ำแหน่งและเงินเดือนอาจารย์ ข้าราชการ
ศิลปศาสตร์แต่ยังไม่ได้มีการแบ่งส่วนราชการ วันที่ จ า ก สั ง กั ด เ ดิ ม ม า สั ง กั ด ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ์
11 กุมภาพันธ์ 2540 รัฐมนตรีว่าการทบวง จึงยงั ไม่สามารถด�ำเนนิ การสรรหาคณบดีได้
มหาวิทยาลัยได้ลงนามอนุมัติให้มหาวิทยาลัย เมอ่ื ผเู้ ขยี นไดร้ ับมอบหมายใหเ้ ป็นผูร้ กั ษาการ
สงขลานครินทร์จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ (นับเป็น คณบดีคณะศิลปศาสตร์ คณะฯ ยังไม่มีอาคาร
โชคดีของคณะศิลปศาสตร์ท่ีได้ด�ำเนินการและได้รับ และงบประมาณของคณะเอง ได้ประสานงานร่วมกับ
อนุมัติให้จัดตั้งคณะก่อนที่รัฐบาลจะประกาศ มหาวิทยาลัยและคณะต้นสังกัดเดิมขอตกลงใน
นโยบายไม่ให้มีการจัดตั้งหน่วยงานใหม่ข้ึนใน หลักการให้ทั้งสองภาควิชายังคงใช้อาคารที่อยู่เดิม
ส่วนราชการ เนื่องจากประเทศประสบปัญหาวิกฤติ ไปจนกว่าจะมีอาคารของตนเอง การขอใช้บริการ
ทางเศรษฐกจิ ) จากคณะต้นสังกัดเดิม การขอเกล่ียข้าราชการ
เม่ือประธานกรรมการด�ำเนินการจัดตั้งคณะ สาย ข และ ค เฉพาะส่วนท่ีปฏิบัติงานในส�ำนักงาน
ศิลปศาสตร์ได้รับการแต่งตั้งให้ด�ำรงต�ำแหน่ง เลขานกุ ารของตน้ สงั กดั เดมิ ไปสงั กดั คณะศลิ ปศาสตร์
อธิการบดี มหาวิทยาลัยฯ มีค�ำส่ังที่ 1290/2540 (ไม่นับรวมข้าราชการท่ีปฏิบัติงานอยู่ที่ภาควิชา
ลงวันที่ 9 กรกฎาคม 2540 แต่งตั้งคณะกรรมการ ท้ังสอง) ซ่ึงคณะฯ ได้ข้าราชการมาจากท้ังสองคณะ

8 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

คณะละ 1 คน การหารือเร่ืองการแยกงบประมาณ สภามหาวิทยาลัยเป็นผู้แต่งตั้ง ในช่วงน้ีคณะฯ
ให้คณะศิลปศาสตร์ และการขอแบ่งเงินรายได้สะสม ได้อัตราก�ำลังเพ่ิมขึ้น ท้ังรับโอนจากหน่วยงานอื่น
เมื่อได้ข้อตกลงเร่ืองงบประมาณแล้ว มหาวิทยาลัย การเกลี่ยอัตราก�ำลังจากภาควิชามาช่วยงานใน
ได้ออกค�ำสั่งมอบอ�ำนาจให้รักษาการคณบดี ส�ำนักงานคณะ และการรับเข้ามาใหม่ คณะฯ
คณะศิลปศาสตร์ บริหารเงินงบประมาณแผ่นดิน ได้รับโอน นายยุทธนา ขวัญทองย้ิม จากคณะ
ปี 2541 ของภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะ แพทยศาสตร์ท�ำหน้าที่เลขานุการคณะกรรมการ
วิทยาศาสตร์ (ท้ังนี้เพราะในการด�ำเนินงานปกติ ประจ�ำคณะฯ มีการจัดประชุมอาจารย์ข้าราชการ
คณะวิทยาศาสตร์ได้แยกงบประมาณแผ่นดินของ ของทัง้ สองภาควิชาเพอ่ื ให้ทราบความก้าวหน้า
ภาควิชาภาษาต่างประเทศไว้แล้วอย่างชัดเจน) และนโยบายในการบริหารคณะฯ
ส่วนงบประมาณแผ่นดินปี 2541 ของภาควิชา การด�ำเนินงานในช่วงแรก ๆ มหาวิทยาลยั ฯ
สารัตถศึกษาไม่ได้มีการแบ่งอย่างชัดเจน จึงยังต้อง จัดสรรเงนิ รายไดใ้ ห้คณะฯ ใช้สอยสว่ นหนึ่ง ยังไมม่ ี
ผ่านคณะวิทยาการจัดการ และให้อ�ำนาจรักษา ส�ำนักงานของคณะฯ แต่ได้รับความอนุเคราะห์
การคณบดีคณะศิลปศาสตร์ เป็นผู้อนุมัติการเดินทาง จากหัวหน้าภาควิชาสารัตถศึกษา (อาจารย์สุนันทา
ไปราชการและการลาของบุคลากรทั้งสองภาควิชาฯ เชื้อชาติ) ให้ใช้ส�ำนักงานภาควิชาฯ วัสดุอุปกรณ์
(ตั้งแต่วันที่ 15 พฤศจิกายน 2540 เป็นต้นไป) บางสว่ น และเจา้ หน้าทีข่ องภาคฯ ทงั้ 4 คน ช่วยงาน
แม้ว่าจะยังคงสังกัดคณะเดิมอยู่ก็ตาม งานส�ำคัญ ธุรการของคณะฯ ร่วมกับพนักงานเงินรายได้ของ
อีกเร่ืองคือการจัดท�ำโครงสร้างของคณะฯ และ คณะฯ ซึ่งมีอยู่ 1 คน กุมภาพันธ์ 2541 อาคารใหม่
นโยบายการบริหารซึ่งต้องผ่านความเห็นชอบจาก ของคณะวิทยาการจัดการสร้างเสร็จ จึงแบ่งพื้นที่
กรรมการประจ�ำคณะฯ ซ่ึงตาม พ.ร.บ.มหาวิทยาลัย ให้คณะศิลปศาสตร์ 2 ห้อง ซึ่งคณะฯ ได้ใช้เป็น
สงขลานครินทร์ พ.ศ.2522 คณะทึ่ไม่มีการแบ่ง ส�ำนักงานชั่วคราว 1 ห้อง ส่วนอีกห้องจัดแบ่งพ้ืนที่
ภาควิชาหรือมีไม่เกิน 2 ภาควิชา สามารถมี เปน็ หอ้ งท�ำงานคณบดี ห้องประชุม และหอ้ งจัดทำ�
กรรมการคณะได้ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน เอกสาร แม้จะได้ห้องจากคณะวิทยาการจัดการ
กองการเจ้าหน้าท่ีจึงเสนอให้แต่งต้ังรักษาการคณบดี เป็นส�ำนักงานชั่วคราวแล้วก็ตาม คณะฯ ได้
รกั ษาการรองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ประสานงานกับมหาวิทยาลัยขอให้จัดพ้ืนท่ีให้
จิตราภรณ์ เชิดชูพงษ์) และรักษาการรองคณบดี อาจารย์ ข้าราชการ และส�ำนักงานคณะฯ อยู่ใน
ฝา่ ยบรหิ าร (อาจารยค์ รรชติ มงคลสนิ ธ)์ุ เปน็ กรรมการ อาคารเดียวกัน แต่ไม่มีอาคารว่างมากพอท่ีจะให้
ประจ�ำคณะโดยต�ำแหน่ง และคณาจารย์ประจ�ำ ทั้งสองภาควิชามาอยู่รวมกันได้ ปี 2543 คณะ
เป็นกรรมการอีก 2 คน (อาจารย์สุนันทา เชื้อชาติ การจัดการสิ่งแวดล้อมได้กรุณาให้ใช้พ้ืนที่ อาคาร
และ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อดศิ า แซเ่ ตยี ว ขณะนนั้ คณะการจัดการส่ิงแวดล้อมชั้น 8 คร่ึงหนึ่ง
คณะฯ ยังไม่มีประกาศแบ่งส่วนราชการ) โดย เพือ่ ปรบั ปรงุ เปน็ ส�ำนักงานคณะฯ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 9

คณะฯ ได้ประสานงานกับมหาวิทยาลัยเพ่ือ ปงี บประมาณ 2545 จำ� นวน 19,000,000 บาท
หาพ้ืนท่ีในการก่อสร้างอาคารคณะฯ และเสนอ ปีงบประมาณ 2546 จำ� นวน 9,942,000 บาท
ให้มีการจ้างบริษัทสถาปนิกจากภายนอกมาเป็น ปงี บประมาณ 2547 จำ� นวน 70,858,000 บาท
ผู้ออกแบบอาคาร ปีงบประมาณ 2541 คณะฯ มหาวิทยาลัยฯ ประกาศให้บริษัทก่อสร้าง
ไดร้ ับงบประมาณในการจา้ งบรษิ ัทออกแบบอาคาร เสนอราคาค่าก่อสร้างเพ่ือคัดเลือกบริษัท ทุกบริษัท
จ�ำนวนเงิน 1.9 ล้านบาท มีหลายบริษัทสนใจ เสนอราคาค่าก่อสร้างสูงกว่างบประมาณที่ได้รับ
เข้ารับฟงั ความต้องการใชพ้ ื้นทเ่ี พ่อื ออกแบบอาคาร มาก เม่ือคัดเลือกบริษัทได้แล้วจ�ำเป็นต้องตัดอาคาร
คณะฯ (ซึ่งอาจารย์ในคณะฯ มีส่วนร่วมเสนอ ออกไป 1 หลัง และลด specification วัสดุท่ีใช้
ความต้องการในการใชพ้ นื้ ท่ีผา่ นทางหัวหน้าภาคฯ ลงไปบ้าง (เพื่อให้สอดคล้องกับงบประมาณค่า
ทั้งสอง) จากน้ันมีการประกวดแบบอาคารคณะ ก่อสร้างที่ได้รับ) นอกจากน้ันก็มีการเสนอให้ลดพื้นท่ี
ศิลปศาสตร์ โดยคณะกรรมการซ่ึงมหาวิทยาลัยฯ อาคารคณะฯ จาก 5 ช้ันเป็น 4 ช้ัน แต่คณะฯ
แต่งตั้งให้อาจารย์เจริญ จันทลักขณา จากภาควิชา ยืนยันให้คงเป็นอาคาร 5 ชั้น แม้ว่าช้ัน 5 จะเป็น
โยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นประธานกรรมการ พนื้ โลง่ ๆ ไปกอ่ นกต็ ามดว้ ยเหน็ วา่ คณะฯ จะสามารถ
รักษาการคณบดีคณะศิลปศาสตร์ และหัวหน้า ใช้เงินรายได้ตกแต่งเพ่ิมเติมได้ภายหลัง (ดูสรุป
ภาควิชาท้ังสองภาคฯ ร่วมกับอาจารย์จากคณะ โครงการก่อสร้างอาคารเรียนรวมและปฎิบัติการ
อ่ืน ๆ และเจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องจากส�ำนักงาน วิชาพ้ืนฐานฯ คณะศิลปศาสตร์ ซ่ึงคุณอัญญรัตน์
อธิการบดี เป็นกรรมการ หลังจากคัดเลือก ตั่นไพโรจน์ ได้กรุณารวบรวมสรุปไว้ในหนังสือเล่มนี้
แบบอาคารไดแ้ ลว้ ปรากฎวา่ บรษิ ทั ทช่ี นะการประกวด ประกอบ)
แบบอาคารได้ประเมินราคาค่าก่อสร้างอาคาร วันท่ี 23 กันยายน 2542 มีประกาศใน
ไว้ประมาณ 200 กว่าล้านบาท (จ�ำตัวเลขไม่ได้ ราชกิจจานุเบกษาฉบับกฤษฎีกาเล่ม 116 ตอนที่
ชัดเจน) ต่อมาคณะศิลปศาสตร์ ได้รับการจัดสรร 76ง หน้า 35 ข้อ 14 แบ่งส่วนราชการคณะ
งบประมาณแผ่นดิน เพื่อก่อสร้างอาคารเรียนรวม ศลิ ปศาสตรเ์ ปน็ 2 ภาควชิ า คอื ภาควชิ าสารตั ถศกึ ษา
และปฏิบัติการพื้นฐาน ในวงเงิน 99,800,000 บาท และภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
โดยผูกพันงบประมาณระยะเวลา 3 ปี ดงั น้ี สงขลานครินทร์จึงมีค�ำสั่ง ท่ี 1543/2542 ตัดโอน

10 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ต�ำแหน่งและเงินเดือนอาจารย์ ข้าราชการจาก และขออนุมัติท่านอธิการบดี (รองศาสตราจารย์
สังกัดเดิมมาสังกัดคณะศิลปศาสตร์ ตั้งแต่วันที่ ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ์) เพื่อส่งอาจารย์ไปพัฒนา
17 พฤศจิกายน 2542 จากนั้น มหาวิทยาลัยฯ การเรยี นการสอนที่ OSU ซง่ึ ทา่ นไดใ้ หค้ วามเหน็ ชอบ
ได้แต่งต้ังคณะกรรมการสรรหาคณบดี ซ่ึง และยังอนุมัติให้คณะฯ เข้าร่วมโครงการ Cohort
รองศาสตราจารย์ ดร.รพพี รรณ สวุ รรณณฐั โชติ ไดร้ บั กับ OSU ด้วย (มีอาจารย์ภาควิชาภาษาฯ ได้ไป
การสรรหาให้ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะศิลปศาสตร์ ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกท่ี OSU ตามโครงการ
ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2543 เป็นต้นไปโดยมีวาระ Cohort รวม 5 คน)
การด�ำรงตำ� แหน่ง 4 ปี วันท่ี 21 มิถุนายน 2545 มหาวิทยาลัย
ตลอดระยะเวลาตั้งแต่มีราชกิจจานุเบกษา ได้ลงนามในสัญญาจ้างห้างหุ้นส่วนจ�ำกัดคงมั่น
จัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ นอกจากการจัดโครงสร้าง การก่อสร้างด�ำเนินการก่อสร้างอาคารคณะ
คณะฯ การประสานงาน และงานบริหารต่าง ๆ ศิลปศาสตร์ราคา 99,800,000 บาท เม่ือเร่ิม
ดังที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้น อีกด้านหนึ่งที่ไม่สามารถ การก่อสร้างท่านอธิการบดี (รองศาสตราจารย์
ละเลยได้คือการพัฒนาอาจารย์และบุคลากร โดย ดร.ประเสริฐ ชิตพงศ์) ได้มอบหมายให้
การจัดอบรมสัมมนาภายในคณะฯ การเข้าร่วม รองศาสตราจารยน์ ายแพทยอ์ ดุ ม ชมชาญ เปน็ ประธาน
ประชมุ และอบรมกบั หนว่ ยงานภายนอก การสนบั สนนุ กรรมการตรวจรับฯ และคณบดี เป็นรองประธาน
แ ล ะ ส ่ ง เ ส ริ ม ใ ห ้ อ า จ า ร ย ์ ไ ป น� ำ เ ส น อ ผ ล ง า น รองคณบดฝี า่ ยบรหิ าร (อาจารยด์ ารณี กาญจนสวุ รรณ)
ทางวิชาการและผลงานวิจัย รวมท้ังการไปศึกษาต่อ และ อาจารยอ์ กี หลายทา่ นจากคณะวศิ วกรรมศาสตร์
ท้ังในและต่างประเทศ การส่งผู้บริหารและอาจารย์ และข้าราชการจากสำ� นกั งานอธกิ ารบดีเข้ารว่ มเป็น
ไปศึกษา ดูงาน เจรจาธุรกิจในต่างประเทศ (ตาม กรรมการ มีข้าราชการจากคณะศิลปศาสตร์ คือ
แต่กรณี) เดือนเมษายน 2544 ผู้เขียนได้เดินทาง คุณอัญญรัตน์ ตั่นไพโรจน์ เป็นผู้ช่วยเลขานุการ
ไปดูงานและเจรจาธุรกิจที่ Oklahoma State เมื่อบริษัทผู้รับเหมาเร่ิมวัดพื้นที่เพื่อวางผังอาคาร
University รว่ มกับคณบดคี ณะอนื่ ๆ อกี 3-4 ท่าน ปรากฏว่าไม่สามารถลงต�ำแหน่งอาคารได้ตามที่
ได้ปรึกษาหารือกับ Dr. John D. Vetek, Vice ก�ำหนดเน่ืองจากติดแนวอาคารคณะวิทยาการ
President for Academic Affair and Chairman จัดการ และ อาคารปฐมวัยของคณะพยาบาลศาสตร์
of General Education (ในฐานะคณบดีและ มหาวิทยาลัยได้จัดประชุมแก้ปัญหาร่วมกับผู้ท่ี
ส่วนหนึ่งในฐานะศิษย์เก่า OSU) ได้ข้อตกลงที่ เก่ียวข้องทุกฝ่าย และมีมติให้วางต�ำแหน่งตามที่
จะให้อาจารย์ของคณะฯ ไป Observe การเรียน ผู้รับจ้างเสนอ โดยตัดลดทางเช่ือมระหว่างอาคาร
การสอน “General Education” ภาคการศึกษา บริหารและอาคารเรียนออก 12 เมตร ในการ
ละ 2 คนเรม่ิ ตงั้ แต่ Fall Semester 2001 เปน็ ตน้ ไป ก่อสร้างจะมีการประชุมคณะกรรมการตรวจรับฯ
(ครั้งละประมาณ 1 เดือน) โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย เพื่อตรวจรับงานเป็นงวด ๆ ไป รองศาสตราจารย์
และใช้สิ่งอ�ำนวยความสะดวกได้ แต่ทางเราต้อง นายแพทย์อุดม ได้ให้ความกรุณามาก โดยทุกเช้า
รับผิดชอบค่าใช้จ่ายอื่น ๆ รวมทั้งค่าท่ีพักซ่ึงจะจัด ท่ีท่านว่ิงออกก�ำลังกายก็จะแวะไปดูงานก่อสร้าง
ให้พักในมหาวิทยาลัย (โครงการน้ีได้สิ้นสุดลงปลาย อาคารคณะฯ เพื่อดูความก้าวหน้า เพราะต้องการ
Fall Semester 2004) เมอื่ ผเู้ ขยี นกลบั จากการเดนิ ทาง ใหอ้ าคารสรา้ งเสร็จสมบูรณท์ นั ตามก�ำหนดเวลา
ไปเจรจาธุรกิจ ได้รีบด�ำเนินการจัดท�ำโครงการ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 11

เมื่อจัดตั้งคณะฯ เรียบร้อยแล้ว ทั้งสองภาควิชา บรจิ าคเงนิ ให้ กองทนุ คณะตา่ ง ๆ คณะละ 30,000 บาท
มีความเห็นร่วมกันว่าคณะฯ ควรมีนักศึกษาระดับ คณะศิลปศาสตร์จึงได้รับเงินก้อนนี้ด้วย นับเป็น
ปริญญาตรีเป็นของตนเองด้วย คณะฯ ได้แต่งต้ัง การเรม่ิ ตน้ กองทุนคณะศลิ ปศาสตรท์ ่ีไม่เลวนกั
คณะท�ำงานร่างหลักสูตรระดับปริญญาตรี มี อ า ค า ร ค ณ ะ ฯ ด� ำ เ นิ น ก า ร แ ล ้ ว เ ส ร็ จ
การประชุมร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อแลกเปล่ียน ด้วยความเรียบร้อยและรบั มอบในวนั ที่ 9 สงิ หาคม
ความคดิ เหน็ ในการจดั ทำ� หลกั สตู รปรญิ ญาตรี แตง่ ตงั้ 2547 ซ่ึงเป็นช่วงที่ผู้เขียนจะหมดวาระคณบดี
กรรมการร่างหลักสูตรปริญญาโท และเสนอ ในสิ้นเดือนสิงหาคม ผู้เขียนได้ปรึกษากับ
มหาวิทยาลัยขอปรับปรัชญาการด�ำเนินงานของ รองศาสตราจารย์ ดร. สจุ ติ รา จรจติ ร ซง่ึ ไดร้ บั การสรรหา
คณะฯ ให้สามารถจัดการศึกษาในระดับปริญญาตรี ให้ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคนต่อไป ถึงก�ำหนดเวลาที่
จากนั้นได้ขอเปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี จะย้ายเข้าไปปฏิบัติงานท่ีอาคารคณะฯ ท่านได้
2 หลักสูตร ในระยะแรกได้รับอนุมัติให้เปิดหลักสูตร เสนอให้ท�ำบุญข้ึนอาคารคณะฯ เสียก่อนท่ีผู้เขียน
ปริญญาตรีเพียงหน่ึงหลักสูตร คือ หลักสูตร จะหมดวาระ หลังจากร่วมพิจารณาหาวัน
ภาษาเพื่อการพัฒนา เริ่มรับนักศึกษารุ่นแรกใน ที่เป็นมงคลได้แล้ว จึงได้ท�ำบุญขึ้นอาคารคณะฯ
ปกี ารศกึ ษา 2546 จำ� นวน 40 คน โดยขอใชพ้ นื้ ทจี่ าก ในวันท่ี 12 สิงหาคม 2547 หลังจากน้ันคณาจารย์
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 3 ห้อง ปรับปรุงเป็น ต่างทะยอยย้ายสัมภาระของตนมายังอาคารใหม่
ห้องเรียน 1 ห้อง และห้อง Multimedia 2 ห้อง โดยตกลงเลอื กหอ้ งพกั อาจารยแ์ ละสำ� นกั งานภาควชิ า
สว่ นหลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาพฒั นามนษุ ย์ กนั เอง เมอื่ ผเู้ ขยี นหมดวาระคณบดี คณบดที า่ นตอ่ ไป
และสงั คมอยใู่ นระหวา่ งการจดั ทำ� และขอความเหน็ ชอบ ยงั คงใชส้ ำ� นกั งานคณะฯ ทคี่ ณะการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม
จากมหาวิทยาลัยชึ่งสามารถเปิดรับนักศึกษา ต่ออีกระยะหน่ึงก่อนที่จะย้ายมาท่ีอาคารคณะ
ร่นุ แรกได้ ในภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2547 ศิลปศาสตร์ การด�ำเนินงานจัดต้ังคณะฯ ทั้งหมด
กลางปี 2547 ผเู้ ขยี นเหน็ วา่ สมควรจดั ตง้ั กองทนุ สำ� เร็จไปได้ก็ด้วยความมุ่งม่ัน ตั้งใจ อดทนร่วมแรง
คณะศิลปศาสตร์จึงได้มอบเงินส่วนตัวจ�ำนวนหนึ่ง ร่วมใจของคณาจารย์และบุคลากรทุกคนของ
เปน็ ทนุ รองศาสตราจารย์ ดร.รพพี รรณ สวุ รรณณฐั โชติ คณะฯ แม้ว่าในระยะแรก ๆ อาจมีความไม่สะดวก
อยู่ในกองทุนคณะศิลปศาสตร์โดยมีข้อแม้ให้ใช้สอย และไมส่ บายใจกนั อยบู่ า้ งกต็ าม ผเู้ ขยี นใครข่ อขอบคณุ
เฉพาะดอกเบี้ยของทุนน้ีเท่านั้น และเป็นจังหวะ ทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ด้วย ทั้งหมดจึงเป็น
ท่ีสหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ความทรงจำ� และความประทับใจทีค่ งจะลืมไดย้ าก
ครบรอบ 30 ปีของการก่อตั้งสหกรณ์ฯ มีนโยบาย จากอดีตคณะฯ มีหน้าท่ีหลักในการจัด

12 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

การเรียนการสอนวิชาศึกษาท่ัวไป (General
Education) ใหน้ กั ศกึ ษาทกุ คณะในวทิ ยาเขตหาดใหญ่
และบางช่วงเวลายังรับหน้าที่สอนให้นักศึกษา
ที่วิทยาเขตตรังและภูเก็ต เพื่อสร้างให้นักศึกษา
มีความรอบรู้ มีทัศนะกว้างไกล รู้จักใช้ความคิด
วจิ ารณญาณ มคี วามเขา้ ใจซาบซง้ึ และเหน็ ความสมั พนั ธ์
ของธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม มนุษย์และสงั คม สามารถ
ประยุกต์ใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์แก่ตนเองและ
สังคมได้ จนถึงปัจจุบันคณะฯได้ขยายการจัด
การศึกษาในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท จนถึง
ปริญญาเอก ในหลายสาขาวิชาทั้งน้ีด้วยความมุ่งมั่น
ตั้งใจของท่านคณบดีทุกท่านร่วมกับคณาจารย์
ขา้ ราชการ พนักงาน และ เจ้าหน้าที่ทกุ คน
ในวาระครบรอบ 25 ปี ของการก่อตั้งคณะ
ศิลปศาสตร์ จึงเป็นปีแห่งความภาคภูมิใจและ
ช่ืนชมยินดีของชาวศิลปศาสตร์ทุกคน รวมทั้งผู้เขียน
ท่ีได้เห็นคณะฯพัฒนาเจริญก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ
และจะก้าวต่อไปอยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยืน

รองศาสตราจารย์ ดร.รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 13

เลา่ ความหลงั

ครัง้ เป็นคณบดี
คนท่ี 2

อารมั ภบท
ผู้เขียนได้รับการทาบทามจากคณบดี ตลอดมา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จนั ทรแ์ ยม้ ใหเ้ ลา่ ขาน ผู้เขยี นจะขอเล่าเปน็ 2 ตอน คอื
เรื่องราวในอดีต ช่วงท่ีผู้เขียนด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ตอนท่ี 1 ช่วงสร้างบ้านแปลงเมือง
คณบดีคนที่ 2 (ห้วงเวลา 1 กันยายน 2547- (กันยายน 2540-สิงหาคม 2547)
31 สงิ หาคม 2551) เพอื่ ตพี มิ พใ์ นหนงั สอื ครบรอบ 25 ปี ตอนที่ 2 ช่วงลงหลกั ปักฐาน
ของคณะศลิ ปศาสตร์ แมว้ า่ เวลาลว่ งเลยมา 14 ปแี ลว้ (กนั ยายน 2547-สิงหาคม 2551)
แต่เร่ืองราวต่าง ๆ ยังประทับอยู่ในความทรงจ�ำ

ตอนที่ 1 ช่วงสร้างบ้านแปลงเมือง วิชาภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศอ่ืน ๆ
เนื้อหาส่วนน้ีจะสรุปเช่ือมต่อ และเล่าเกร็ดเล็ก อาทิ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน ภาษา
เกร็ดน้อย ท่ีประทับในความทรงจ�ำ จาก “ร�ำลึก มลายู เปน็ ต้น
ก า ร ก ่ อ ต้ั ง ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร ์ ” ท่ี ค ณ บ ดี การสังกัดของภาควิชาท้ังสอง เหมือนกับอยู่
(รองศาสตราจารย์ ดร.รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ) ผิดท่ีผิดทาง โอกาสท่ีจะเติบโตยากมาก ในการที่
ไดเ้ ขยี นไว้ จะผลิตบัณฑิตสาขาต่าง ๆ ตามศักยภาพของ
ผู้เขียนขอใช้ค�ำว่า “สร้างบ้านแปลงเมือง” บุคลากรในสองภาควิชา ทั้งสองภาควิชาต่างก็คิด
ท้ังน้ีเพราะที่มาที่ไปของการจัดตั้งคณะศิลปศาสตร์ จะไปตั้งคณะใหม่ แต่มหาวิทยาลัยมีความเห็นว่า
เป็นเสมือนการสร้างบ้านแปลงเมือง จากแนวคิด ควรหลอมรวมสองภาควิชา แล้วต้ังเป็นคณะ
ของสองภาควิชา คือ ภาควิชาสารัตถศึกษา สังกัด ศิลปศาสตร์ ซ่ึงทบวงมหาวิทยาลัยได้อนุมัติให้จัดตั้ง
คณะวทิ ยาการจดั การ และภาควชิ าภาษาตา่ งประเทศ คณะศิลปศาสตร์ ในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2540
สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ ท้ังสองภาควิชามีภาระ และสถาปนาคณะศิลปศาสตร์ วันที่ 13 กันยายน
หน้าท่ีสอนวิชาศึกษาท่ัวไปให้กับนักศึกษาทุกคณะ 2540 และย้ายเข้าไปบ้านหลังใหม่อย่างสมบูรณ์
ภาควิชาสารัตถศึกษา รับผิดชอบสอนศึกษาท่ัวไป ในเดอื นตลุ าคม 2547
หมวดมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และพลศึกษา ผู้เขียนขอเล่าถึงความมหัศจรรย์ของพลังแห่ง
ส่วนภาควิชาภาษาต่างประเทศ รับผิดชอบการสอน

14 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ความสมัครสมานสามัคคีของ 58 ชีวิตในขณะนั้น มาขนวัสดคุ รุภัณฑม์ ายังบ้านใหม่
ในการย้ายเข้าบ้านหลังใหม่ หลังจากได้ท�ำบุญ ความยากล�ำบากมาก คือ การล�ำเลียงวัสดุ
คณะศิลปศาสตร์ในวันที่ 12 สิงหาคม 2547 ซึ่ง ครภุ ณั ฑท์ ง้ั หมดไปตามหอ้ งและชนั้ ตา่ ง ๆ ในขณะนนั้
เป็นช่วงทก่ี อ่ นหมดสมัยของคณบดีรพพี รรณ ท้ัง 2 อาคาร ไม่มีลิฟท์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุเมธ
การยา้ ยเขา้ อยู่ในบ้านใหม่ เดือนตลุ าคม 2547 ได้เสนอแนวคิดใช้การ “ชักรอก” ของข้ึนไปทีละชิ้น
เป็นช่วงทีผ่ ู้เขยี นรับต�ำแหนง่ คณบดใี หม่ ๆ ผู้ชายชักรอกของอยู่ชั้นบน สาว ๆ ผูกของ และ
การย้ายข้าวของต่าง ๆ จากคณะวิทยาการ ช่วยในการชักรอก ข้าวของขณะน้ันมีเยอะมาก
จัดการ คณะวิทยาศาสตร์ และคณะการจัดการ และหนัก ๆ ทัง้ สน้ิ
ส่ิงแวดล้อม ไปยังอาคารบริหาร 4 ช้ัน และอาคาร ผู้เขียนยังนึกไม่ออกว่าทุกคนเอาพลังท่ีไหน
เรียน 5 ช้ัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุเมธ พรหมอินทร์ กันมา จึงท�ำได้ถึงปานน้ัน จะไม่ให้กล่าวว่า
ได้ประสานค่ายเสนาณรงค์ ขอรถ และพลทหาร “มหัศจรรย์แห่งความสมคั รสมานสามคั คีได้อยา่ งไร”

ตอนท่ี 2 ชว่ งล งหลกั ปักฐาน
ผู้เขียนมีความเชื่อว่า ฐานรากท่ีแน่นหนา คณะศิลปศาสตร์ของเรามีอาคารบริหาร 4 ช้ัน
และมั่นคงมีความส�ำคัญอย่างยิ่งในการต่อยอดให้ เป็นส�ำนักงานบริหารท่ัวไป ส�ำนักงานวิชาการ
สมบูรณ์ ม่ันคง แข็งแกร่งข้ึน ช่วง พ.ศ.2547-2551 สำ� นกั งานกจิ การนกั ศกึ ษา หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอมพวิ เตอร์
จะเห็นได้ว่า บุคลากรทุกคนในคณะฯ มีความมุ่งม่ัน ห้องเรียนโปรแกรม ELLIS ส�ำหรับนักศึกษาทุกคณะ
ทจ่ี ะลงหลกั ปกั ฐานใหค้ ณะศิลปศาสตรม์ ัน่ คงแข็งแรง ให้เรียนรู้ด้วยตนเอง ห้องพักคณาจารย์ และห้อง
พรอ้ มทจี่ ะตอ่ ยอดใหย้ งิ่ ใหญใ่ นอนาคต ประชมุ ซงึ่ มที งั้ หอ้ งประชมุ ใหญ่ และหอ้ งประชมุ ยอ่ ย
ผเู้ ขยี นขอเลา่ เป็น 2 ประเด็น ดังต่อไปนี้ ใช้ช่ือเรียกเป็นนามดอกไม้ต่าง ๆ อาทิ ห้องประชุม
ประเด็นแรก กรรณิการ์ ห้องประชุมบุหงาส่าหรี ห้องประชุม
การด�ำเนินการจัดท�ำให้คณะฯ เป็นแหล่ง หิรัญญิการ์ เป็นต้น ส่วนห้องประชุมใหญ่ท่ีอยู่
การเรียนรู้ ใชป้ ระโยชนใ์ นการจดั การเรียนการสอน ช้ันล่างของอาคารเรียน ท่ีประชุมทีมบริหารมีมติ
การบริการวิชาการสูงสุด ภายใต้การน�ำของ ให้ต้ังชื่อห้องประชุมใหญ่ว่า “ห้องประชุมรพีพรรณ
รองคณบดีฝ่ายบริหาร (ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุธารี สุวรรณณัฐโชติ” เพ่ือเป็นเกียรติแก่คณบดีคนแรก
ประเสริฐสรรพ์) รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา ผบู้ กุ เบิกการจดั ตั้งคณะศลิ ปศาสตร์
(อาจารย์รัชนี กัลยาณคุณาวุฒิ) ผู้ช่วยคณบดีฝ่าย ส่วนอาคารเรียน 5 ชั้น เน่ืองจากถูกตัด
อาคารสถานท่ี (รองศาสตราจารยส์ เุ มธ พรหมอนิ ทร์ งบประมาณ จึงได้แต่ตึก 5 ช้ัน บางชั้นยังโล่ง ๆ
อาจารย์สุชาย อัศวพันธุ์ธนกุล) หัวหน้าฝ่ายบริหาร ต้องด�ำเนินการจัดการเก่ียวกับการท�ำห้องเรียน
ท่ัวไป (นางอัญญรัตน์ ตั่นไพโรจน์) ฝ่ายอาคาร ห้อง lab ภาษา สถาบันขงจื๊อฯ ศูนย์การเรียนรู้
สถานท่ี (นายโอฬาร รตั นบรุ )ี ด้วยตนเอง ห้องบริการสื่อประสม ห้องสมุดคณะ
ศิลปศาสตร์

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 15

ชว่ งนัน้ เป็นชว่ งที่ตอ้ งเหน็ดเหนื่อย เพอ่ื จัดซอ้ื ดร.ธัญภา ชิรมณี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
จัดจ้างวัสดุครุภัณฑ์ต่าง ๆ ซ่ึงเป็นจุดเส่ียงอย่างย่ิง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาลี สบายยงิ่ รองคณบดฝี า่ ยวจิ ยั
ของการบริหารจัดการ ทีมผู้บริหาร ฝ่ายวางแผน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไซนี แวมูซอ ผู้ช่วยคณบดี
การเงิน ฝ่ายพัสดุครุภัณฑ์ และฝ่ายอาคารสถานท่ี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตราภรณ์
คราวน้ัน ยึดม่ันในความซ่ือสัตย์ สุจริต สะอาด เชิดชพู งษ์ หัวหน้าภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์
โปร่งใส และตรวจสอบได้ เห็นได้จากการประมูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จันทร์แยม้ หวั หน้า
วัสดุครุภัณฑ์ใดท่ีมีมูลค่าสูงจะด�ำเนินการใช้ระบบ ภาควิชาสารัตถศึกษา และนางสลักใจ ศรีธราดล
E-Auction ซึ่งเป็นการประมูลการจัดซ้ือจัดจ้าง หัวหนา้ ฝา่ ยสนับสนุนวิชาการ
ด้วยระบบ Online ผ่านระบบ Internet เป็น ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ มีภาระงาน
คณะแรกในมหาวทิ ยาลยั ทใี่ ชร้ ะบบ E-Auction สอนภาษาต่างประเทศให้แก่นักศึกษาทุกคณะ
จากการยึดมั่นในความซ่ือสัตย์สุจริต โปร่งใส และมีหลักสูตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์
ตรวจสอบได้ ทำ� ใหไ้ มถ่ กู ครหา หรอื คดคี วามใด ๆ ทงั้ สน้ิ ประยุกต์มาต้ังแต่ พ.ศ.2539 ขณะนั้นยังสังกัด
ผู้เขียนอดไม่ได้ท่ีจะเล่าให้เห็นว่า บ้านใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ ส่วนภาควิชาสารัตถศึกษาสังกัด
เป็นอย่างไร อาคารทั้ง 2 หลังสวยงามมาก ออกแบบ คณะวิทยาการจัดการ มีภาระงานสอนกลุ่มวิชา
ทันสมัย เคร่ือง Compressor จะไม่เกะกะให้เห็น มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และพลศึกษา ให้แก่
เพราะจะถูกดึงไปอยู่บนดาดฟ้า ลานท้ัง 2 อาคารโล่ง นกั ศกึ ษาทกุ คณะในวทิ ยาเขตหาดใหญ่ ตรงั และ ภเู กต็
มีชุดเก้าอี้ให้นักศึกษามาอ่านต�ำราในยามค�่ำคืน มี เมื่อหลอมรวมเป็นคณะศิลปศาสตร์ จึงได้
เครื่องท�ำน้�ำร้อนน้�ำเย็น (น้�ำ OR) มีตู้ ATM มี มีแนวคิดที่จะผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีของ
ร้านอาหาร ร้านกาแฟ จึงมีนักศึกษาต่างคณะมา ตนเอง ต้ังแต่สมัยคณบดีรพีพรรณ ต้องร่วมมือกัน
ใช้บริการมากมาย ส่วนห้องเรียนจะมีอุปกรณ์ ทั้งสองภาควิชาผลิตบัณฑิตให้เก่ง 2 ภาษา คือ
การเรยี นการสอนทที่ นั สมยั เกา้ อใ้ี นหอ้ งเรยี นสวยงาม ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยคาดหวังว่า
จนมีค�ำกล่าวว่า “คณะศิลปศาสตร์สวยงาม หรูหรา ในอนาคตเม่ือมีความพร้อมทางด้านอาจารย์ผู้สอน
ก้าวล�้ำน�ำสมัย ไฮโซ” คนในคณะศิลปศาสตร์ ก็จะแยกเป็น 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรภาษาอังกฤษ
ยม้ิ กันแกม้ ปริ หายเหน่อื ย และหลักสูตรภาษาไทยได ้
ประเดน็ ทส่ี อง หลกั สตู รระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสูตรแรก คอื
จะเล่าขานเรื่องการลงหลักปักฐานทางด้าน “หลักสตู รภาษาเพ่ือการพัฒนา” เปดิ รบั นกั ศกึ ษา
วิชาการเกี่ยวกับการผลิตบัณฑิต บริการวิชาการ รนุ่ แรก 40 คน ในปี พ.ศ.2546 ปลายสมยั คณบดี
และการวิจัย ภายใต้การน�ำของ รองศาสตราจารย์ รพีพรรณ

16 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

สบื เนอื่ งจากการผลติ บณั ฑติ สาขาเพอื่ การพฒั นา ในการน้ี จึงเป็นอุตตมะสิริมงคลแก่คณะ
มาแล้วเป็นเวลาหนึ่ง ท่ีสามารถเข้าเกณฑ์ขอถวาย ศิลปศาสตร์ และยังความปลาบปล้ืมให้แก่คณาจารย์
ดุษฎีบัณฑิตกติ ตมิ ศักด์ิได้ คณะศลิ ปศาสตร์จงึ เสนอ ให้ไปสร้างความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ
สภามหาวิทยาลัย ขอทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวาย ในประเทศจีน
ดษุ ฎบี ณั ฑติ กติ ตมิ ศกั ดแ์ิ ดส่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ในห้วงเวลาดังกล่าว สาธารณรัฐประชาชนจีน
สยามบรมราชกุมารี ซึ่งสภามหาวิทยาลัย มุ่งหวังจะเผยแพร่ภาษาจีนในประเทศไทย โดย
ในคราวประชุม คร้ังท่ี 282 (6/2548) เม่ือวันท่ี การจัดตั้งสถาบันขงจื๊อ ณ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ
20 สิงหาคม 2548 มีมติอนุมัติ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติ ท่ัวประเทศไทย จ�ำนวน 11 แห่ง คณะศิลปศาสตร์
ให้ปรากฏและเป็นอุตตมะสิริมงคลแก่วงวิชาการ มีโอกาสดีมาก เพราะมีหลักสูตรภาษาจีน คุณฝางลี
ด้านภาษาและมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากสถานทูตจีน ขอมาเยือนคณะฯ และเสนอ
ตอ่ มานายกสภามหาวทิ ยาลยั (ศาสตราจารย์ ดร.เกษม ขอจัดตั้งสถาบันขงจื๊อ โดยขอพื้นท่ีท�ำการ และ
สุวรรณกุล) อธิการบดี (รองศาสตราจารย์ หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาจนี ในการตงั้ สถาบนั ขงจอ๊ื นนั้
ดร.บุญสม ศิริสมบูรณ์สุข) ได้น�ำทีมผู้บริหาร จะต้องมีสถาบันทางการศึกษาของจีนร่วมด้วย
คณะศิลปศาสตร์ เข้าเฝ้าทูลเกล้าทูลกระหม่อม เสมือนสถาบันพ่ีสถาบันน้อง ที่จะส่งอาจารย์จีน
ถวายปริญญาบัตรแด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มาช่วยสอนปลี ะไม่นอ้ ยกว่า 2 คน
สยามบรมราชกุมารี ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา
พระราชวงั ดสุ ิต

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 17

การจัดต้ังสถาบันขงจื๊อจะได้รับทุนปีละ ในเวลาถดั มา
5 ล้านบาทในการจัดท�ำกิจกรรมส่งเสริมการสอน หลกั สตู รปรญิ ญาตรี หลกั สตู รท่ี 3 คอื หลกั สตู ร
ภาษาจีน และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีน ในส่วน ชุมชนศึกษา เน้นผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ ความเข้าใจ
การบริหารจัดการ จะมีผู้อ�ำนวยการฝ่ายจีน และ ขนบประเพณี น�ำชุมชนสู่การพัฒนาอย่างมีส่วนร่วม
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายไทยมีกรรมการร่วมในการ หลักสูตรน้ีได้เปิดสอนในปี 2551 มีนักศึกษารุ่นแรก
พิจารณาโครงการต่าง ๆ ในแต่ละปี ผู้เขียนเป็น จ�ำนวน 95 คน
ผู้อ�ำนวยการฝ่ายไทย และอาจารย์หม่าจือ นอกจากหลักสูตรปริญญาตรีแล้ว คณะยัง
(Mr. Ma Zhi) เปน็ ผ้อู ำ� นวยการสถาบนั ขงจ๊อื ฝา่ ยจนี เปิดสอนวิชาเลือกภาษาต่าง ๆ ท่ีภาควิชาภาษาฯ
เหตุผลท่ีทีมบริหารตกลงให้ตั้งสถาบันขงจื๊อ รับผิดชอบ เช่น ภาษาญ่ีปุ่น ภาษาฝร่ังเศส
โดยใชพ้ นื้ ทชี่ นั้ 4 ของอาคารเรยี น และมมี หาวทิ ยาลยั ภาษามลายู เป็นต้น คณะฯ ได้มีนโยบายจะเปิด
Guangxi Normal University ที่กุ้ยหลิน เป็น ภาษาเกาหลี โดยการน�ำของรองอธิการบดี
สถาบนั รว่ ม เพอื่ สรา้ งความเขม้ แขง็ ทางดา้ นภาษาจนี ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ (รองศาสตราจารย์ ดร.ฉัตรไชย
ให้แก่นักศึกษาหลักสูตรภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร รัตนไชย) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ จิราพร จันจุฬา
สถาบันขงจ๊ือได้มีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตราภรณ์ เชิดชูพงษ์
ในวันท่ี 29 ธันวาคม 2549 โดยมีอธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไซนี แวมูซอ และผู้เขียนได้
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอธิการบดี เดินทางไปเจรจาเพ่ือเปิดโครงการดังกล่าวกับ
มหาวิทยาลยั ครกู วา่ งซี มารว่ มในพิธีเปิด Ewha Women University (EWU) ณ กรงุ โซล
สถาบันขงจ๊ือเป็นเสมือนเสาหลักค้�ำจุน ขณะนั้นมหาวิทยาลัยมีแนวคิดท่ีจะสร้าง
ด้านภาษาจีนท่ีจะสร้างความแข็งแกร่งทางภาษาจีน ความเข้มแข็งภาษาอาหรับ ท้ังสองวิทยาเขต
ให้แก่นักศึกษา บุคลากร และบุคคลภายนอก รองอธิการบดีฝ่ายวางแผน (รองศาสตราจารย์
มีโครงการต่าง ๆ มากมายในแต่ละปี ต่อมา ในปี ดร.บญุ สม ศริ บิ ำ� รงุ สขุ ) ไดน้ ำ� ทมี ผบู้ รหิ าร ผอู้ ำ� นวยการ
2551 ได้รับรางวัลเป็นศูนย์ทดสอบภาษาจีน (HSK) วิทยาลัยอิสลามศึกษา (รองศาสตราจารย์
และปี 2552 ได้รับรางวัลสถาบันขงจ๊ือดีเด่นท่ีสุด อิสมาแอ อาลี) และผู้เขียนไปเจรจาความร่วมมือ
จาก 12 แห่งในประเทศไทย ซ่ึงเป็นสมัยของ ทางภาษาอาหรบั กบั มหาวทิ ยาลยั Cairo University
คณบดคี นท่ี 3 (รองศาสตราจารย์ ดร.อดศิ า แซเ่ ตยี ว) ประเทศอียิปต์ และ Khartoum International
สาขาภาษาจีนได้รับความนิยมมาก มีนักศึกษา Institute for Arabic Language ประเทศซูดาน
รุ่นแรก 45 คน ต่อมาได้ขยายแนวคิดท�ำหลักสูตร คณะฯ มีโครงการ Study Abroad จัด
ภาษาจีน 3+1 คือ เรียนที่ศิลปศาสตร์ 3 ปี ในภาคฤดูร้อน นักศึกษาสามารถน�ำผลการเรียนมา
เรียนที่จีน 1 ปี เทียบโอนรายวิชาและรับปริญญา โอนหน่วยกิตเป็นวิชาเลือกเสรี เริ่มตั้งแต่ปีการศึกษา
ศลิ ปศาสตร์ โครงการ 3+1 ไดเ้ รม่ิ สง่ นกั ศกึ ษารนุ่ แรก 2548 มีนักศึกษาคณะต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการ
จ�ำนวน 45 คน ไปเรียนที่ Sichuan University ซึ่งมี 4 โครงการ คอื
ระหว่างวันที่ 25 มนี าคม 2549-15 มกราคม 2551 - English Language Courses ที่ USM
จากน้ันคณะฯ ได้มีแนวคิดจะเปิดหลักสูตร - Basic Chinese Courses ที่ JXNU
ภาษาจีน 2+2 (Dual Degree) คือ เรียนท่ีคณะ - Credit Transfer Courses ที่ JXNU
ศิลปศาสตร์ 2 ปี เรียนที่ประเทศจีน 2 ปี รับปริญญา - Korean Language Courses ที่ EWU
ทั้งของไทยและจีน ในคร้ังนั้น อาจารย์ธีริศรา ผลเกิด นอกจากหลักสูตรระดับปริญญาตรี คณะ
และหวางเหล่าซือ ได้ร่วมเดินทางไปเจรจาจัดท�ำ ศิลปศาสตร์ ได้เปิดสอนปริญญาโทในสาขาต่าง ๆ
หลกั สตู ร 2+2 ทปี่ ระเทศจนี โครงการนไ้ี ดด้ ำ� เนนิ การ ภาควชิ าภาษาฯ เปดิ สอนหลกั สตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ

18 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์ ซ่ึงเปิดสอนมา นักศึกษาศิลปศาสตร์และคณะอื่น ๆ ท่ีร่วมแสดง
ตง้ั แต่ พ.ศ.2539 และ พ.ศ.2551 ไดเ้ ปดิ สอนหลกั สตู ร เขา้ ใจการทำ� งาน การทำ� งานเปน็ ทมี ความรบั ผดิ ชอบ
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ ต่อหน้าที่ และซาบซ้ึงในวรรณกรรมเด่นของไทย
ภาควิชาสารัตถศึกษา เปิดสอนหลักสูตร ในคราวนั้นผู้ท่ีคณะฯ เชิญให้แสดงเป็นซูสีไทเฮา
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์ ในบางตอนด้วย คือ คุณรุ่งรัตน์ ชัยจิระธิกุล
และสังคม (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ซึ่งด�ำเนินการ ภรรยาประธานหอการค้าหาดใหญ่ (คุณนิมิต
ตั้งแต่ พ.ศ.2546 น�ำโดย รองศาสตราจารย์ ชัยจิระธิกุล) เป็นคุณแม่ของ อาจารย์ประภารัตน์
ดร.วันชัย ธรรมสัจการ และได้เปิดรับนักศึกษา ภาควิชาภาษาฯ ละครเรื่องแรกได้รับความส�ำเร็จ
ในปีการศึกษา 2548 หลักสูตรสาขาวิชาน้ีเน้นพัฒนา มาก มีผู้เข้าชมท้ังนักเรียน นักศึกษา และประชาชน
มนุษย์และสังคมในพ้ืนท่ีโดยใช้กระบวนการวิจัย ชาวหาดใหญจ่ ำ� นวนมากทุกรอบ
เป็นเครอ่ื งมอื อีกโครงการหนึ่งคือ โครงการ “เทศน์มหาชาติ
นอกจากการเปิดหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทรงเคร่ือง” ภายใต้การน�ำของ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
และปรญิ ญาโทแลว้ คณะฯ ยงั สนบั สนนุ ใหด้ ำ� เนนิ การ ดร.ศรีสุพร ช่วงสกุล ผู้สอนรายวิชาศาสนาและ
เก่ียวกับการสร้างเสริมความแข็งแกร่งให้แก่นักศึกษา วัฒนธรรมไทย ร่วมกับรายวิชาภาษาไทย โดย
ท้ังวิทยาเขตหาดใหญ่ เช่น โครงการฝึกอบรม มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่มเพาะความศรัทธาในศาสนา
ทางด้านภาษาเป็น ศูนย์สอบ Exit Exam ส�ำหรับ ให้อยู่ในจิตใจของนักศึกษา การท�ำงานร่วมกัน
นักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอก และมีโครงการ เพ่ือสืบสานศิลปวัฒนธรรมที่เรียกว่า เทศน์มหาชาติ
สร้างความเข้มแข็งโดยผ่านรายวิชาต่าง ๆ อาทิ ทรงเคร่ือง น้ัน หมายถึงมีการแสดงประกอบ
โครงการละครเวที เป็นโครงการที่เป็นส่วนหนึ่ง กณั ฑเ์ ทศน์ด้วย เป็นการจดั เทศนม์ หาชาตคิ รัง้ แรก
ของการเรียนรายวิชามนุษย์กับวรรณกรรม ของมหาวิทยาลัย มีอาจารย์ นักศึกษา และ
วรรณกรรมกับการแสดง น�ำโดย รองศาสตราจารย์ บคุ คลทว่ั ไปมารว่ มงานเปน็ จำ� นวนมาก เงนิ ทำ� บญุ คราวนน้ั
มนตรี มีเนียม เรื่องแรกคือ “ซูสีไทเฮา” นับว่า รวบรวมได้ประมาณส่ีแสนบาท และได้น�ำไปมอบ
เป็นละครเวทีเร่ืองแรกของมหาวิทยาลัย จัดแสดง ให้กับเจ้าคณะจังหวัด ณ วัดโคกสมานคุณ เพ่ือน�ำไป
ท่ีหอประชุมนานาชาติฯ มุ่งหวังจะหล่อหลอมให้ ช่วยเหลอื คณะสงฆท์ ีอ่ ยใู่ น 3 จงั หวัดชายแดนใต้

ด้านบริการวชิ า การ
คณะฯ ได้ด�ำเนินการบริการวิชาการแก่สังคม วาดเส้นระบายสีเพื่อความสุนทรีย์ เล่านิทาน
ภาควิชาภาษาฯ ด�ำเนินการเกี่ยวกับการจัดการ แต้มฝันแบ่งปันเด็กน้อย และโครงการศิลปศาสตร์
ทดสอบทางภาษา อบรม TOEFL, TOEIC, PSU-GET สัญจรตามรอยอารยธรรม เช่น ย่�ำท่ัวแคว้น ดินแดน
โครงการทดสอบความสามารถทางภาษาอังกฤษ คาบสมุทรสทิงพระ ตามรอยอารยธรรมทักษิณ
(English Proficiency) ปี 2548 จัด 4 ครั้ง เยือนหัวเขาแดงแหล่งอาณาจักรสุลต่านสุไลมาน
สัมมนาอาจารย์ผู้สอนภาษา Southern Thailand ตามรอยอารยธรรมตะลยุ เกาะปนี งั เกบ็ ตกมรดกศลิ ป์
English Language Teaching Conference แต่ละโครงการที่เอ่ยถึง (ต้องขออภัยหาก
คา่ ยภาษาองั กฤษ ศลิ ปศาสตรร์ งั สรรคป์ น้ั ปราชญน์ อ้ ย ขาดตกบกพร่อง) ล้วนแต่สร้างสรรค์ประโยชน์
ภาควชิ าสารัตถศึกษาจดั โครงการสอนวา่ ยนำ้� แก่สังคม ชื่อโครงการก็ใช้ถ้อยค�ำภาษาท่ีประณีต
ภาคฤดูร้อน ศิลปศาสตร์สืบสานดุริยางค์ไทย แสดงถึงความเปน็ ศลิ ปศาสตรอ์ ยา่ งแท้จรงิ
โครงการมัคคุเทศก์น้อยท้องถ่ินรู้รักษ์เมืองสงขลา

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 19

ปัจฉิมบท
จากเรื่องราวทเี่ ล่าขานมาขา้ งต้น พอสรุปได้วา่
ช่วงสร้างบ้านแปลงเมือง ลงหลักปักฐานของคณะ
ศลิ ปศาสตร์ บคุ ลากรของคณะฯ ทกุ คน เปรยี บเสมอื น
ฟันเฟืองที่ขับเคลื่อนองค์กรให้ก้าวหน้า หากเฟือง
ทุกตัว ไม่แข็งแกร่ง และหมุนไปในทิศทางเดียวกัน
คณะศิลปศาสตร์คงไม่แน่นหนา ม่ันคง ก้าวหน้า
อย่างทปี่ รากฏ
จึงขอขอบคุณทีมผู้บริหาร คณาจารย์ และ
บุคลากรทุกท่านที่สมัครสมาน ฮึดสู้ ยืนหยัด
เข้มแข็ง และร่วมกันท�ำงานเพ่ือน�ำพาคณะ
ศิลปศาสตร์ท่ีเป็นท่ีรักและหวงแหนให้ก้าวหน้า
อยา่ งไมห่ ยดุ ย้งั
ในวาระครบรอบ 25 ปี ของคณะศิลปศาสตร์
ผู้เขียนขออัญเชิญสิ่งศักด์ิสิทธิ์ทั้งหลายท่ัวสากลโลก
จงอภิบาล และอ�ำนวยพรให้คณะศิลปศาสตร์
กา้ วหน้า รงุ่ เรืองย่ิง ๆ ขึน้ ตลอดไป

รองศาสตราจารย์ ดร.สจุ ิตรา จรจิตร

20 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

คณะศิลปศาสตร์

สกู่ ารพฒั นา
ความเข้มแข็ง

เกรนิ่ นำ� ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากอาจารย์หลายท่าน
ในโอกาสที่คณะศิลปศาสตร์ก่อตั้งมาครบรอบ ทั้งภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์และภาควิชา
25 ปี ผู้เขียนได้รับการทาบทามให้เล่าเร่ืองราว สารัตถศึกษา ท่ีเสียสละเวลามาร่วมทีม ช่วยงาน
เกี่ยวกับ คณะศิลปศาสตร์ในช่วงที่ด�ำรงต�ำแหน่ง บริหาร และขับเคล่ือนการพัฒนาคณะ ในต�ำแหน่ง
คณบดีคนท่ี 4 สองวาระ เพื่อตีพิมพ์ในหนังสือที่ และห้วงเวลาท่ีแตกต่างกันไป ดงั รายนามตอ่ ไปน้ี
ระลึกการครบรอบน้ี
ในช่วงปี 2551-2559 ผู้เขียนในฐานะคณบดี

ต�ำแหน่ง วาระที่ 1 วาระท่ี 2
(1 กันยายน 2551-31 สิงหาคม 2555) (1 กนั ยายน 2555-31 สิงหาคม 2559)

รองคณบดฝี า่ ยบรหิ าร รองศาสตราจารย์มนตรี มีเนยี ม อาจารย์ดารณี กาญจนสวุ รรณ
รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการ รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญภา ชิระมณี รองศาสตราจารย์ ดร.ธัญภา ชิระมณี
(1 กันยายน 2555-31 กรกฎาคม 2558)
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์จิราพร จันจฬุ า
(1 สงิ หาคม 2558-31 สงิ หาคม 2559)

รองคณบดฝี า่ ยกจิ การนักศึกษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์นพดล นิ่มสุวรรณ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยน์ พดล นมิ่ สุวรรณ
(1 กนั ยายน 2551-31 ตลุ าคม 2553)
อาจารย์ดารณี กาญจนสุวรรณ
(1 พฤศจกิ ายน 2553-31 สงิ หาคม 2555)

รองคณบดีฝ่ายวิจยั และบณั ฑติ ศกึ ษา รองศาสตราจารยจ์ รุ รี ัตน์ บัวแกว้ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.มาลี สบายยงิ่
ผูช้ ว่ ยคณบดีฝ่ายประกนั คณุ ภาพ ผชู้ ่วยศาสตราจารยอ์ �ำไพรตั น์ สทุ ธนิ นท์
(1 กนั ยายน 2551-30 กนั ยายน 2552)

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 21

ตำ� แหนง่ วาระที่ 1 วาระท่ี 2
(1 กันยายน 2551-31 สิงหาคม 2555) (1 กนั ยายน 2555-31 สิงหาคม 2559)

รองคณบดีฝ่ายแผนและประกันคณุ ภาพ ดร.อุษา อนิ ทรกั ษา ดร.อษุ า อินทรักษา
(1 ตลุ าคม 2552-31 สิงหาคม 2555)

ผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยวเิ ทศสมั พันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.นิสากร จารุมณี
(1 กนั ยายน 2551-31 มีนาคม 2552)

ผชู้ ่วยคณบดฝี า่ ยบรกิ ารวิชาการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เปรมนิ ทร์ คาระวี
(1 มกราคม 2552-31 ตลุ าคม 2554)

รองคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ ์ อาจารยช์ ตุ ิมา สวา่ งวารี
สารสนเทศ และบริการวิชาการ (1 เมษายน 2552-31 สงิ หาคม 2555)

รองคณบดีฝ่ายวเิ ทศสมั พนั ธ์และ อาจารยช์ ตุ ิมา สว่างวารี
บรกิ ารวชิ าการ

ผูช้ ว่ ยคณบดฝี ่ายสารสนเทศ อาจารยส์ ชุ าย อศั วพนั ธุ์ธนกุล

การสร้างบ้านแปลงเมืองและลงหลักปักฐาน นอกเหนือจากการเล็งเห็นความจ�ำเป็นและโอกาส
ภายใต้การบริหารของคณบดีสองท่านแรก ในการพัฒนา โดยพิจารณาปัจจัยภายในดังกล่าว
(รองศาสตราจารย์ ดร.รพีพรรณ สุวรรณณัฐโชติ ข้างต้นแล้ว ปัจจัยภายนอกคณะ ในช่วงปี 2551-
และรองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา จรจิตร) ในช่วง 2559 เช่น การเปลี่ยนแปลงในระดับมหาวิทยาลัย
10 ปีแรก ของการก่อต้ัง และด�ำเนินงานของคณะ และส�ำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ศิลปศาสตร์ นับเป็นคุโณปการที่ส�ำคัญ เพราะ ในด้านนโยบาย ข้อก�ำหนด และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
เป็นการเตรียมความพร้อมอย่างเพียงพอ ส�ำหรับ หลักสูตรและการจัดการศึกษา การวิจัย และการ
การต่อยอดการพัฒนาคณะศิลปศาสตร์ให้เจริญ ประกันคุณภาพการศึกษา ตลอดจนการแข่งขัน
ก้าวหน้าและเข้มแข็งยิ่งข้ึน ดังนั้น เม่ือผู้เขียน กับภายนอก ล้วนเป็นส่ิงท้าทายและเป็นตัวเร่ง
ซึ่งคุ้นเคยกับการดำ� เนินงานของคณะ ตั้งแต่เมื่อครั้ง การพัฒนาความเข้มแข็ง ท่ีจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการ
มีสถานะเป็นโครงการจัดต้ังคณะศิลปศาสตร์ อย่างเป็นระบบ ท้ังน้ี การด�ำเนินการใด ๆ เพื่อ
ตลอดจนมีความเข้าใจและรู้จักคณะในระดับหน่ึง พัฒนาคณะศิลปศาสตร์สู่ความเข้มแข็ง ล้วนต้อง
ได้รับการสรรหาให้ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี จึงเล็งเห็น อาศัย ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากรทุกสายงาน
ความจ�ำเป็นและโอกาส ในการพัฒนาคณะ อันได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสาย
ศิลปศาสตร์สู่ความเข้มแข็งในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะ สนับสนุน และผู้บริหารทุกระดับ ในที่น้ี ผู้เขียน
ด้านวิชาการ รวมทั้งเล็งเห็นความส�ำคัญของ ขอเล่าเร่ืองราวความเป็นไปและพัฒนาการ
การยกระดับการด�ำเนินงานของคณะศิลปศาสตร์ใน ด้านต่าง ๆ ของคณะศิลปศาสตร์ ในช่วงท่ีผู้เขียน
มิติต่าง ๆ ที่จ�ำเป็นต่อการเป็นองค์กรด้านการศึกษา ปฏิบตั หิ น้าทค่ี ณบดี
และวิชาการที่มีคุณภาพและได้รับการยอมรับ

22 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ดา้ นวิชาการและพฒั นาศึกษา ด้านวชิ าการและพัฒนาศกึ ษา
ในช่วงปี 2551-2558 คณะศิลปศาสตร์มี เป็น สาขาวิชาภาษาจีน นักศึกษาหลักสูตรน้ี
ความเคลื่อนไหวและพัฒนาการด้านหลักสูตร สามารถเลือกเรียนที่คณะศิลปศาสตร์ตลอด 4 ปี
ค่อนข้างมาก ในระดับปริญญาตรี ในปี 2553 มีการ หรือเลือกโปรแกรม 3+1 ซ่ึงเรียนท่ีคณะศิลปศาสตร์
เปิดสอนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา 3 ปี และเรียนท่ีประเทศจีน 1 ปี ณ Guangxi
ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) ซึ่งคณบดีสุจิตรา Normal University, Sichuan University หรือ
ได้ริเร่ิมไว้ในช่วงปลายสมัยของท่าน หลักสูตรน้ี Fudan University ตามความสนใจในระดับ
มีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชั้นน�ำในประเทศจีน บัณฑิตศึกษา ในปี 2551 มีการเปิดสอนหลักสูตร
2 แห่ง คือ Shanghai Jiao Tong University ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน
และ Beijing Language and Culture University ภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ เพ่ือจัดการศึกษา
โดยจัดหลักสูตรแบบ 2+2 กล่าวคือ ในช่วง 2 ปีแรก ทก่ี า้ วทนั การเปล่ยี นแปลงในมุมมองเชิงวิชาการต่อ
นักศึกษาเรียนที่คณะศิลปศาสตร์ ส่วนอีก 2 ปีหลัง ภาษาอังกฤษ ในฐานะภาษานานาชาติ ตลอดจน
นักศึกษาเลือกเรียนท่ี Shanghai Jiao Tong นัยส�ำคัญของมุมมองนี้ ต่อการจัดการเรียนการสอน
University หรือ Beijing Language and ภาษาอังกฤษ หลังจากส่ังสมประสบการณ์
Culture University ตามความสนใจ เมื่อส�ำเร็จ การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามาระยะหน่ึง
การศึกษา นักศึกษาได้รับปริญญาบัตรจากทั้ง คณะศิลปศาสตร์ก็มีความพร้อม ในการขยาย
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัย หลักสูตรไปสู่ระดับปริญญาเอก รวมทั้งเปิดหลักสูตร
คู่ความร่วมมือในประเทศจีน แต่น่าเสียดาย ระดับปริญญาโทเพ่ิมอีก 1 หลักสูตร โดย
หลักสูตรน้ีจ�ำเป็นต้องปิดตัวลงในปี 2558 เน่ืองจาก ในปี 2558 คณะเปดิ หลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาเพม่ิ
การด�ำเนินการไม่คุ้มทุน อย่างไรก็ตาม หากพิจารณา อีก 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตร
จากมติ กิ ารไดเ้ รยี นรจู้ ากประสบการณก์ ารดำ� เนนิ งาน มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทย
และความท้าทายต่าง ๆ ในการจัดหลักสูตรร่วมกับ ประยุกต์ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา
ต่างชาติ ก็นับเป็นการส่ังสมประสบการณ์ด้าน การสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษานานาชาติ และ
การจัดหลักสูตรนานาชาติและวิเทศสัมพันธ์ ให้กับ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนา
คณะศิลปศาสตร์ไม่น้อยเลย ประสบการณ์ดังกล่าว มนุษย์และสังคม นับเป็นการเจริญเติบโต
เป็นประโยชน์ต่อการด�ำเนินงานด้านความร่วมมือ ดา้ นวชิ าการทส่ี ำ� คญั ของคณะ ซงึ่ สะทอ้ นความเชย่ี วชาญ
กับต่างประเทศในเวลาต่อมา ส�ำหรับหลักสูตร ของคณาจารย์และศักยภาพในการจัดการศึกษา
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาเพื่อการพัฒนา และการวิจัย ที่ต้องอาศัยความลุ่มลึกในศาสตร์
มีการปรับปรุงครั้งส�ำคัญในปี 2555 โดยแยก และวธิ ีการวจิ ัย
หลักสูตรดังกล่าวเป็น 2 หลักสูตร คือ หลักสูตร สรุปได้ว่า เมื่อถึงปี 2558 นอกเหนือจาก
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาและภาษาไทย รับผิดชอบจัดการศึกษารายวิชาศึกษาทั่วไป คณะ
ประยุกต์ และหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา ศิลปศาสตร์เปิดสอนหลักสูตรครบทั้งสามระดับ
วิชาภาษาอังกฤษ เพ่ือผลิตบัณฑิตท่ีมีความเข้มแข็ง ปรญิ ญา รวมทงั้ สน้ิ 9 หลักสตู ร ดงั นี้
ในแต่ละภาษา กอปรกับคณาจารย์ท้ังสาขาวิชา ระดบั ปรญิ ญาตรี
ภาษาไทยและสาขาวิชาภาษาอังกฤษมีความพร้อม 1. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
มากข้ึน ส่วนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาและภาษาไทยประยุกต์
ภาษาจนี เพอ่ื การสือ่ สาร ได้ปรับเปล่ียนชอ่ื สาขาวิชา

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 23

2. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา เชงิ วชิ าการ ผา่ นกระบวนการเรยี นการสอน การฝกึ งาน
ภาษาอังกฤษ และสหกิจศึกษา คณะยังจัดให้มีกิจกรรม/โครงการ
3. หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชา ต่าง ๆ เพ่ือเสริมสร้างบัณฑิตให้มีสมรรถนะสากล
ภาษาจีน และคุณธรรมบนพ้ืนฐานความเป็นไทย มีทักษะ
4. หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ชีวิต จิตสาธารณะ และสามารถด�ำรงตนอยู่ใน
ชมุ ชนศกึ ษา สังคมได้อย่างมีความสุข ตัวอย่างเช่น ในระดับ
ระดับปรญิ ญาโท ปริญญาตรี ต้ังแต่ปี 2554 เป็นต้นมา คณะจัดให้
5. ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต มีโครงการพัฒนาสมรรถนะสากล เพ่ือให้นักศึกษา
สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม (ภาคปกติ ทุกสาขาวิชา มีโอกาสเดินทางไปประเทศเพื่อนบ้าน
และภาคพิเศษ) อันเป็นการเปิดโลกทัศน์ให้แก่นักศึกษา และสร้าง
6. ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต ความตระหนักในความส�ำคัญของการมีสมรรถนะ
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษา ด้านการสื่อสารภาษาต่างประเทศ นอกจากนี้
นานาชาติ (ภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ) คณะยังส่งเสริมให้นักศึกษาจัดกิจกรรมต่าง ๆ
7. ห ลั ก สู ต ร ศิ ล ป ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต อย่างสร้างสรรค์ เป็นประโยชน์ต่อตนเองและ
สาขาวิชาภาษาไทยและภาษาไทยประยุกต์ สาธารณะ ในระดับบัณฑิตศึกษา คณะมีระบบ
ระดับปริญญาเอก สนับสนุนการท�ำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธ์ ตลอดจนมี
8. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา งบประมาณสนับสนุนการเดินทางไปน�ำเสนอผลงาน
พฒั นามนุษยแ์ ละสังคม วิจัย ในเวทีระดับชาติและนานาชาติ อีกทั้งคณะ
9. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา ให้ความส�ำคัญกับการสร้างและรักษาความผูกพัน
การสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษานานาชาติ ระหว่างคณะและศิษย์เก่าหลังส�ำเร็จการศึกษา
ในการผลิตบัณฑิต นอกเหนือจากการบ่มเพาะ ตลอดจนการสร้าง เครือข่ายศิษย์เก่า จึงจัดตั้ง
ให้บัณฑิตมีความรู้ ความสามารถ และทักษะ ชมรมศิษย์เกา่ คณะศลิ ปศาสตร์ ในปี 2558

ดา้ นวจิ ยั การศึกษาภายใน คณะศิลปศาสตร์ ด้านวิจัยในปี
ในปี 2552 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2550 อยู่ในระดับ “ต้องปรับปรุง” กลายเป็น
ได้รับการจัดให้เป็นหน่ึงในเก้ามหาวิทยาลัยวิจัย “ระดบั ด”ี ในปี 2557
แห่งชาติ คณะจึงจ�ำเป็นต้องพัฒนาความเข้มแข็ง ปี 2552 เป็นจุดเริ่มของอีกสองกิจกรรม
ด้านวิจัย เพ่ือร่วมขับเคล่ือนพันธกิจการเป็น สนับสนุนการวิจัยที่ด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง
มหาวิทยาลัยแห่งชาตินี้ ในช่วงที่ผู้เขียนด�ำรง จนถึงปัจจุบัน กิจกรรมแรก คือ การจัดการประชุม
ต�ำแหน่งคณบดี งานวิจัยของคณะศิลปศาสตร์ยังมี วิชาการระดับนานาชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และ
ไม่มากนัก ผู้เขียนจึงได้พยายามพัฒนาระบบและ สังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1 เพ่ือส่งเสริมการเผยแพร่
กลไกการด�ำเนินงานกองทุนวิจัย คณะศิลปศาสตร์ ผลงานวิจัยและสร้างเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง
ให้สามารถผลักดัน สนับสนุน และส่งเสริมการเพ่ิม นักวิจัย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงต่อมา
ผลิตภาพด้านการวิจัย อย่างครบวงจร ต้ังแต่ ได้พัฒนาไปสู่การมีเครือข่ายความร่วมมือในการ
ระดับต้นน�้ำ กลางน�้ำ และปลายน้�ำ ส่งผลให้ จัดประชุมในประเทศ และการสลับกันเป็นเจ้าภาพ
การด�ำเนินงานด้านวิจัยของคณะมีพัฒนาการท่ีดีข้ึน กับ National Defence University of Malaysia
ตามล�ำดับ ดังเห็นได้จากผลการประเมินคุณภาพ

24 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

กิจกรรมท่ีสอง คือ การจัดท�ำวารสารศิลปศาสตร์ ในปี 2555 วารสารศิลปศาสตร์ได้รับการประเมิน
แนวคิดการจัดท�ำวารสารฉบับนี้ คณบดีสุจิตรา คุณภาพ ครั้งที่ 1 และได้รับการจัดให้อยู่ในวารสาร
ได้ริเร่ิมไว้ก่อนหมดวาระการบริหาร และผู้เขียน กลุ่มที่ 1 ในฐานข้อมูล TCI เป็นระยะเวลา 3 ปี
ได้ด�ำเนินการต่อ โดยปรับปรุงองค์ประกอบ (2555-2557) ในปี 2558 วารสารศิลปศาสตรได้รับ
คณะท�ำงานให้เหมาะสมยิ่งข้ึน ต่อการขับเคล่ือน การประเมินคุณภาพ ครั้งท่ี 2 และยังคงได้รับการ
การด�ำเนินงานไปสู่เป้าหมายท่ีตั้งไว้ วารสาร จัดให้อยู่ในวารสารกลุ่มท่ี 1 ในฐานข้อมูล TCI
ศิลปศาสตร์ ฉบับปฐมฤกษ์ จึงได้ออกสู่สายตา เป็นระยะเวลา 5 ปี (2558-2562)
ประชาคมนักวิชาการ ในปี 2552 เช่นกัน ต่อมา

ดา้ นบรกิ ารวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ ใช้แบบทดสอบ PSU-GET
งานบริการวิชาการของคณะศิลปศาสตร์ (Prince of Songkla University Graduate
ทด่ี ำ� เนนิ การมาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง จำ� แนกเปน็ 3 ประเภท English Test) ซึ่งคณาจารย์ภาควิชาภาษาและ
คือ การอบรม การจัดทดสอบ และการแปลเอกสาร ภาษาศาสตร์เป็นผู้พัฒนา โดยมีนักศึกษาระดับ
โดยศักยภาพด้านบริการวิชาการที่ส�ำคัญและเป็นที่ บัณฑิตศึกษาเป็นกลุ่มเป้าหมายหลัก คณะเริ่มใช้
ยอมรับ คือ การจัดทดสอบ ในที่น้ี จึงขอกล่าวถึง ระบบรับสมัครสอบและแจ้งผลสอบ PSU-GET
พัฒนาการที่ส�ำคัญของงานบริการวิชาการด้านนี้ ออนไลน์ ในปี 2551 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้
ในช่วงท่ีผู้เขียนด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี การให้บริการ บรกิ าร ตอ่ มา ผขู้ อรบั บรกิ ารทดสอบมจี ำ� นวนมากขน้ึ
จัดทดสอบความสามารถด้านภาษาอังกฤษของ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 25

และหลากหลายข้ึน ในปี 2556 คณะจึงได้เปลี่ยนช่ือ ในภาคใต้ คณะจัดต้ังศูนย์จัดสอบ TOEFL ITP
แบบทดสอบดังกล่าวเป็น PSU-TEP (Prince of ร่วมกับสถาบันการศึกษานานาชาติ (Institute
Songkla University Test of English Proficiency) of International Education) โดยมีพิธีลงนาม
เพ่ือรองรับวัตถุประสงค์การน�ำผลสอบไปใช้งาน ความร่วมมือกัน ในเดือนสิงหาคม 2558 และ
ของผู้รับบริการ นอกจากนี้ เพื่อขยายศักยภาพ เปิดให้บริการจัดทดสอบ TOEFL ITP ตั้งแต่เดือน
การบริการจัดทดสอบความสามารถด้านภาษา ตลุ าคมในปีเดียวกัน จวบจนปัจจุบนั
อังกฤษ และตอบสนองความต้องการของชุมชน

นอกจากโครงการบริการวิชาการท่ีสร้างรายได้ We care) ตั้งแต่ปี 2557 เป็นต้นมา คณะพยายาม
คณะยังจัดให้มีโครงการบริการวิชาการที่เป็น ขับเคลื่อนการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่
ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชนแบบใหเ้ ปลา่ อาทิ โครงการอบรม สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย เพ่ือร่วม
ภาษาจีน ภาษามลายู และภาษาอังกฤษ ส�ำหรับ สร้างชุมชนเข้มแข็ง โดยก�ำหนดชุมชนเป้าหมาย
ผใู้ หบ้ รกิ ารในอำ� เภอหาดใหญ่ โครงการมคั คเุ ทศกน์ อ้ ย ในจงั หวดั สงขลาไวจ้ ำ� นวน 4 ชมุ ชน ไดแ้ ก่ ชมุ ชนคเู ตา่
ท้องถิ่น โครงการออกก�ำลังกายเพื่อสุขภาพ ชุมชนบางเหรยี ง ชมุ ชนควนโส และชุมชนคอหงส์
ผู้สูงอายุ และโครงการจูงมือน้องเดิน (We share,

26 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ด้านความร่วมมอื กับสถาบันในประเทศและตา่ งประเทศ
ในช่วงปี 2551-2559 คณะศิลปศาสตร์มี ส่วนการสานต่อความร่วมมือที่มีอยู่เดิม และ
การด�ำเนินงานด้านความร่วมมือทางวิชาการกับ การแสวงหาคคู่ วามรว่ มมอื ใหม่ สรปุ ไดพ้ อสงั เขป ดงั น้ี
สถาบันต่าง ๆ ในประเทศและต่างประเทศ ทั้งใน

ล�ำดับ คคู่ วามรว่ มมอื ประเทศ เรอ่ื ง ปเี รม่ิ ต้น

1 Guangxi Normal University จนี สถาบนั ขงจื๊อ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ 2549
หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาจนี

2 Sichuan University จนี หลกั สูตรศิลปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาจีน 2549

3 Fudan University จีน หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าภาษาจนี 2549

4 National Defence University มาเลเซยี การประชมุ วิชาการระดบั นานาชาต ิ 2552
of Malaysia ด้านมนษุ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์

5 University of Novi Sad เซอร์เบยี การวจิ ัยและแลกเปล่ียนอาจารย ์ 2553

6 คณะมนุษยศาสตร์ ไทย การศกึ ษา ดงู าน แลกเปลีย่ นเรยี นร้ ู 2554
และสังคมศาสตร ์ ดา้ นการจดั การศกึ ษา หลักสตู ร การฝึกงานและ
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น สหกิจศกึ ษาการพฒั นานักศกึ ษา การวจิ ัย
การบริการวชิ าการแกส่ ังคม การบริหารจัดการ
องค์กร การประกันคุณภาพการศกึ ษา และ
การแลกเปลีย่ นอาจารย์ นักศึกษา และบคุ ลากร

7 กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชน กัมพชู า มอบทนุ การศกึ ษาผ่านโครงการพระราชทาน 2556
และการกฬี า ความช่วยเหลอื แก่ราชอาณาจักรกมั พชู า
ดา้ นการศึกษา ในสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกมุ ารี

8 มหาวิทยาลัยมหดิ ล ไทย ความรว่ มมอื ดา้ นการจัดการศกึ ษาและการวจิ ยั 2556
การแลกเปลยี่ นบคุ ลากรทางการศกึ ษาเพอ่ื การวจิ ยั
และการพฒั นาดา้ นการศกึ ษา และการแลกเปลยี่ น
นกั ศกึ ษาเพ่อื การเรียนและการฝึกอบรม

9 คณะวิทยาการจดั การ ไทย ประชมุ วิชาการเครือข่ายด้านการจดั การชมุ ชน 2557
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร ระดับชาติ
คณะมนุษยศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 27

ลำ� ดับ ค่คู วามรว่ มมอื ประเทศ เร่ือง ปีเรม่ิ ตน้
10 Institute of International อเมรกิ า ศนู ย์ทดสอบ TOEFL ITP 2558
Education
11 สถาบนั ขงจอื๊ เทศบาลเมืองสะเดา ไทย การเรยี นการสอนภาษาและวัฒนธรรมจนี 2558
12 โรงแรมรายาวดี ไทย สหกิจศกึ ษา 2558

กล่าวได้ว่า Guangxi Normal University สถาบันขงจ๊ือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
จากประเทศจีน เป็นคู่ความรว่ มมอื ทีย่ าวนานท่สี ุด จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ภาษาและ
ของคณะศิลปศาสตร์ อีกท้ังเป็นสถาบันท่ีมี วัฒนธรรมจีน มีการด�ำเนินงานภายใต้การบริหาร
ความรว่ มมอื กับคณะในหลายดา้ น ไดแ้ ก่ ด้านการจดั ร่วมกันของผู้อ�ำนวยการฝ่ายจีนและผู้อ�ำนวยการ
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน ฝ่ายไทย ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจีนได้รับการแต่งต้ังโดย
โปรแกรม 3+1 ร่วมกัน โดยนักศึกษาท่ีเดินทาง Guangxi Normal University ส่วนผู้อ�ำนวยการ
ไปเรียนที่ Guangxi Normal University ในชั้น ฝ่ายไทย คือ คณบดีคณะศิลปศาสตร์ ซ่ึงได้รับ
ปีที่ 3 จะได้รับประกาศนียบัตรจากมหาวิทยาลัย มอบหน้าท่ีจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นี้ 1 ใบ ส่วนด้านการเรียนการสอน การบริการ ภายใต้การท�ำงานอย่างทุ่มเท และเข้มแข็งของ
วชิ าการแกช่ มุ ชน และการเผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรมจนี ผู้อ�ำนวยการฝ่ายจีนท่านแรก (Assoc.Prof.
ด�ำเนินงานผ่านความร่วมมือด้านสถาบันขงจ๊ือ Ma Zhi) สถาบันขงจ๊ือได้รับรางวัลอันทรงเกียรติ
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยอาจารย์ จากส�ำนักส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน
อาสาสมคั รประจำ� สถาบนั ขงจอื๊ ชว่ ยสอนบางรายวชิ า นานาชาติ (The Office of Chinese Language
ของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาจีน Council International: Hanban) 2 รางวัล ดงั น้ี
ท่ีจัดการเรียนการสอน ณ คณะศิลปศาสตร์ นับเป็น 1. รางวัล 2008 Overseas Chinese Test
โอกาส และความได้เปรียบของนักศึกษา ท่ีได้ Center of the Year ซึ่งเป็นรางวัล
สัมผัสและเรียนกับเจ้าของภาษาโดยตรง นอกเหนือ ส�ำหรับสถาบันขงจ๊ือท่ีมีผลการด�ำเนินงาน
จากน้ี สถาบันขงจื๊อมีการจัดบริการสอนภาษาจีน ดีเด่น ด้านการเป็นศูนย์ทดสอบวัดระดับ
ให้แก่บุคคลท่ัวไปในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมและ ความรูภ้ าษาจีน (HSK)
จัดกิจกรรมเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมจีน ให้แก่ 2. รางวัลสถาบันขงจื๊อดีเด่น ประจ�ำปี 2552
นักศึกษาและบุคลากรในมหาวิทยาลัย ตลอดจน (Confucius Institute of the Year
บุคคลภายนอก กิจกรรมต่าง ๆ เหล่าน้ี ถือเป็น 2009) ซึ่งเป็นรางวัลส�ำหรับสถาบันขงจ๊ือ
ประโยชน์ร่วมกันและเติมเต็มภารกิจของทั้งสอง ในประเทศไทยที่มีผลการด�ำเนินงาน
สถาบนั คคู่ วามรว่ มมือ โดดเดน่ ท่ีสดุ

28 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ดา้ นศิลปวัฒนธรรม กับวรรณกรรม และรายวิชาวรรณกรรมกับการแสดง
ในช่วงที่ผู้เขียนด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี คณะ นกั ศกึ ษาในรายวชิ าดงั กลา่ วไดเ้ กบ็ เกย่ี วประสบการณ์
ศิลปศาสตร์ตระหนักในความส�ำคัญของการสืบสาน การท�ำงานร่วมกัน ในการจัดแสดงละครเวที ท้ังยัง
ประเพณี และวัฒนธรรมไทยอันดีงาม จึงจัดกิจกรรม เป็นการเรียนรู้ชีวิตและสังคมผ่านละคร นอกเหนือ
ในวาระส�ำคัญต่าง ๆ ของสังคมไทย เป็นประจ�ำทุกปี จากการเรียนรู้ในห้องเรียน คณะได้จัดโครงการ
อาทิ กิจกรรมวันไหว้ครู กิจกรรมวันสงกรานต์ ละครเวทีประจ�ำปี ต้ังแต่ปี 2551 จนถึงปี 2558
กิจกรรมวันลอยกระทง ตลอดจนจัดกิจกรรม รวม 7 เรื่อง ได้แก่ ซูสีไทเฮา ราโชมอน รักที่ต้อง
ส่งเสริมวัฒนธรรมนานาชาติตามความเหมาะสม มนตรา ทรอย กากี จุฬาตรีคูณ และฝัน ณ คืน
ผู้เขียนได้ริเริ่มจัดกิจกรรมท�ำบุญวันคล้ายวัน กลางฤดูร้อน โดยมีรองศาสตราจารย์มนตรี มีเนียม
สถาปนาคณะศิลปศาสตร์ เป็นครั้งแรก เม่ือวันท่ี เป็นผู้รับผิดชอบด�ำเนินการ ด้วยผลงานอันทรง
13 กันยายน 2552 เพ่ือให้บุคลากรได้ร่วมร�ำลึกถึง คุณค่าและเปี่ยมคุณภาพที่ด�ำเนินการมาอย่าง
การก่อต้ังคณะศิลปศาสตร์ และตระหนักถึง ต่อเน่ืองถึง 7 ปี โครงการละครเวทีประจ�ำปี คณะ
ความสำ� คญั ของคณะ อกี ทง้ั การทำ� บญุ ยงั เปน็ การสรา้ ง ศิลปศาสตร์ จึงได้รับคัดเลือกเป็นผลงานดีเด่น
ขวญั กำ� ลงั ใจและเปน็ สริ มิ งคลแกผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน กจิ กรรม ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557
ดังกลา่ วยังถือปฏบิ ตั ิ สบื เนอื่ งมาจนถงึ ปัจจุบนั สาขาท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม แต่น่าเสียดาย
นอกจากนี้ คณะศิลปศาสตร์ยังมีโครงการ โครงการดังกล่าว ซึ่งต้องอาศัยความเช่ียวชาญ
ละครเวที ซ่ึงคณบดีสุจิตราได้ริเริ่มไว้ในปี 2551 พิเศษเฉพาะบุคคล จ�ำเป็นต้องยุติลง เนื่องจาก
และผู้เขียนได้ด�ำเนินการต่อ โครงการละครเวที การเกษียณอายุราชการของ รองศาสตราจารย์
เป็นการบูรณาการการเรียนการสอน การบริการ มนตรี มีเนียม ผู้เป็นหวั เรอื ใหญข่ องโครงการนี้
วิชาการ และการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม และ
เป็นส่วนหน่ึงของการเรียนการสอนรายวิชามนุษย์

ดา้ นประกันคุณภาพ มหาวทิ ยาลยั สำ� นกั งานคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา
คณะศิลปศาสตร์ด�ำเนินการประกันคุณภาพ (สกอ.) ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
การศึกษาภายใน ตามภารกิจหลัก ซึ่งประกอบด้วย คุณภาพการศึกษา (สมศ.) และส�ำนักงานคณะ
การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ และ กรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) และ
การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยมีระบบและกลไก นโยบายรัฐบาล อน่ึง ในช่วงที่ผู้เขียนด�ำรงต�ำแหน่ง
ในการขับเคล่ือนการประกันคุณภาพการศึกษา คณบดีน้ัน หลักเกณฑ์ องค์ประกอบ และตัวบ่งชี้
ภายในตามวงจรคุณภาพ PDCA-Par เพ่ือใหบ้ รรลผุ ล การประเมินเหล่านี้ ยังอยู่ในช่วงพัฒนา จึงมี
ตามแผนการด�ำเนินงาน เป้าหมาย และตัวช้ีวัดหลัก การเปลี่ยนแปลงไม่มากก็น้อยในทุกรอบการประเมิน
ตามแผนกลยุทธ์ที่ก�ำหนดไว้ โดยจัดท�ำรายงาน อย่างไรก็ตาม ระบบประกันคุณภาพนับเป็นสิ่งที่
การประเมินตนเอง (SAR: Self-Assessment มีประโยชน์ต่อการตรวจสอบการด�ำเนินงานของ
Report) ทุกปีการศึกษา เพ่ือให้คณะกรรมการ คณะ อกี ทงั้ เปน็ การใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลบั และขอ้ เสนอแนะ
ประเมินคุณภาพภายใน ตรวจสอบและยืนยัน ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาการดำ� เนนิ งานของคณะ
ผลการประเมินคุณภาพภายใน หลักเกณฑ์การ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายในจงึ เปน็ เรอื่ งหนงึ่
ประเมิน องค์ประกอบ และตัวบ่งช้ี มีท้ังของ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 29

ที่ผู้เขียนให้ความใส่ใจและพยายามถ่ายทอดทัศนคติ ทุกปีการศึกษา เฉพาะในปีการศึกษา 2553 คณะ
“การประเมินเพื่อการพัฒนา” ให้กับบุคลากร ศิลปศาสตร์ยังรับการประเมินคุณภาพภายนอก
ทุกสายงาน ตลอดจนพัฒนาระบบและกลไก รอบ 3 โดยคณะผ่านการรับรองมาตรฐาน ได้
การด�ำเนินงานด้านประกันคุณภาพ ให้สามารถ คะแนนประเมิน 4.22 (ระดับดี) ในภาพรวม ผลการ
เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนา และ ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะศิลปศาสตร์
ยกระดับผลการด�ำเนินงานของคณะ นอกเหนือจาก ปกี ารศกึ ษา 2550-2557 ดงั แสดงในตาราง
การประเมินคุณภาพภายใน เป็นประจ�ำ

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน คณะศิลปศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2550-2557

ล�ำดับ องค์ประกอบ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

1 ปรัชญา ปณิธาน วตั ถปุ ระสงค์ และ 4.33 4.67 5.00 4.59 4.54 5.00 5.00
แผนการด�ำเนนิ การ (ดี) (ดมี าก) (ดมี าก) (ดีมาก) (ดมี าก) (ดีมาก) (ดีมาก)

2 การผลติ บัณฑิต 3.56 4.19 4.01 3.93 3.97 3.92 3.72 2.72
(ดี) (ด)ี (ด)ี (ด)ี (ดี) (ดี) (ดี) (พอใช้)

3 กิจกรรมการพฒั นานักศกึ ษา 5.00 5.00 4.75 4.50 5.00 5.00 5.00
(ดมี าก) (ดมี าก) (ดมี าก) (ด)ี (ดมี าก) (ดมี าก) (ดมี าก)

4 การวิจยั 1.40 2.50 3.32 3.29 4.07 3.90 3.58 4.34
(ตอ้ ง (ควร (พอใช)้ (พอใช้) (ดี) (ด)ี (ด)ี (ดี)
ปรบั ปรงุ ) ปรบั ปรงุ )

5 การบรกิ ารวชิ าการแกส่ ังคม 4.50 4.38 4.38 4.50 4.50 5.00 5.00 3.00
(ดี) (ดี) (ดมี าก) (ด)ี (ดี) (ดีมาก) (ดมี าก) (พอใช้)

6 การท�ำนบุ �ำรงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม 3.66 4.00 4.67 4.33 5.00 4.33 4.67 4.00
(ด)ี (ดี) (ดมี าก) (ดี) (ดมี าก) (ด)ี (ดีมาก) (ดี)

7 การบริหารและการจดั การ 4.62 4.87 4.92 4.71 4.77 4.52 4.33 3.50
(ดีมาก) (ดีมาก) (ดีมาก) (ดมี าก) (ดีมาก) (ดมี าก) (ดี) (พอใช้)

8 การเงินและงบประมาณ 3.50 3.33 3.83 5.00 5.00 4.00 4.00
(พอใช้) (พอใช้) (ด)ี (ดีมาก) (ดีมาก) (ดี) (ดี)

9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 4.50 4.25 4.50 4.06 4.20 4.00 4.00
(ด)ี (ดี) (ด)ี (ดี) (ดี) (ด)ี (ดี)

10 ความสมั พนั ธข์ องมหาวิทยาลยั กับ 3.00 5.00 5.00
สงั คมและชุมชนภาคใต้ (พอใช)้ (ดมี าก) (ดีมาก)

30 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ผลการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน คณะศลิ ปศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2550-2557

ลำ� ดับ องค์ประกอบ 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557

11 วเิ ทศสมั พันธ ์ 4.00 5.00 5.00
(ดี) (ดีมาก) (ดีมาก)

12 องคป์ ระกอบของ ม.อ. 2.51 2.58
(พอใช)้ (พอใช)้

13 องคป์ ระกอบของ สมศ. 4.64
(ดมี าก)

98 ส�ำนกั งาน ก.พ.ร. (ผลการสอบผ่าน 0.00 2.52 รายงานแต ่ 2.00
ภาษาองั กฤษ) (ควร (พอใช)้ ไมป่ ระเมิน (ตอ้ ง
ปรบั ปรุง ปรบั ปรงุ )
อยา่ ง
เรง่ ดว่ น)

99 นโยบายรฐั บาล “สถานศกึ ษา 3 ด”ี 5.00 5.00 รายงานแต่
(3D) (ดีมา ก) (ดีมาก) ไมป่ ระเม ิน
ผลการประเมนิ เฉลีย่ 3.53 4.02 4.24 4.12 4.39 4.28 4.16 3.23
(ดี) (ด)ี (ด)ี (ด)ี (ด)ี (ด)ี (ด)ี (พอใช้)

หลังจากปีการศึกษา 2557 ส�ำนักงานคณะ เกณฑ์ AUN-QA (ASEAN University Network-
กรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ปรับเปลี่ยน Quality Assurance) ร่วมกับเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวบ่งช้ีและเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน หลักสูตร ที่ก�ำหนดโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ
โดยแบ่งการประเมินออกเป็น 3 ระดับ ได้แก่ การอุดมศึกษา (สกอ.) องค์ประกอบท่ี 1 โดยแต่ละ
ระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน หลักสูตรจัดท�ำรายงานการประเมินตนเอง เพื่อ
และต่อมา ต้ังแต่ปีการศึกษา 2558 เป็นต้นไป รายงานผลการด�ำเนินงานของหลักสูตรฯ ในทุกปี
การประเมินระดับหลักสูตรได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ การศกึ ษา

ด้านบรหิ ารจัดการ ให้มีอุปกรณ์ และโสตทัศนูปกรณ์ที่ทันสมัย เพิ่ม
ในช่วงปี 2551-2559 คณะศิลปศาสตร์มี จุดกระจายสัญญาน Wi-Fi และติดตั้งกล้องวงจรปิด
การพัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานอย่าง เป็นต้น ในปี 2552 คณะด�ำเนินการก่อสร้างอาคาร
สม่�ำเสมอ เพื่อให้อาคารคณะสามารถรองรับภารกิจ อเนกประสงค์ ประกอบด้วยอาคารชั้นเดียวและ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักศึกษา บุคลากร และ สนามกีฬากลางแจ้ง เพ่ือรองรับการจัดการเรียน
ผู้มารับบริการ มีความสะดวกและปลอดภัย เช่น การสอนรายวิชาพลศึกษา รายวิชากิจกรรม
ปรับปรุงห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และห้องประชุม

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 31

เสรมิ หลกั สตู ร ชมรม และสโมสรนกั ศกึ ษา คณะศลิ ปศาสตร์ คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) ทนุ สถาบนั ขงจอื๊
อกี ดา้ นหนง่ึ ทผี่ เู้ ขยี นใหค้ วามสำ� คญั คอื การพฒั นา และทุนรัฐบาลจีน นอกจากน้ี เพ่ือเพ่ิมอัตราก�ำลัง
ระบบและกลไกการบริหารจัดการ เพื่อรองรับและ อาจารย์คุณวุฒิปริญญาเอก อันเป็นการรองรับ
เพ่ิมประสิทธิภาพการด�ำเนินงานด้านต่าง ๆ ของ การขยายงานท้าทายในอนาคต คณะได้ตอบรับ
คณะ ตลอดจนการน�ำเทคโนโลยี และระบบ การเป็นสถาบันต้นสังกัดเพ่ือชดใช้ทุนของบุคคล
สารสนเทศมาใช้เพื่อการบริหารจัดการ ดังนั้น ทั่วไปท่ีรับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ใน
ในช่วงที่ผู้เขียนด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี จึงมีการพัฒนา โครงการพัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และ
ระบบสารสนเทศเพ่ือรองรับภารกิจด้านการเรียน สังคมศาสตร์ (ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และ
การสอน การพัฒนานักศึกษา การวิจัย การบริการ สังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย) และโครงการพัฒนา
วิชาการ และการบริหารจัดการ จ�ำนวนไม่น้อยกว่า อาจารย์/บุคลากรส�ำหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขต
20 ระบบ อาทิ ระบบช่วยจัดกรรมการคุมสอบ พัฒนาเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ ของส�ำนักงาน
ระบบสารสนเทศศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง คณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) อาจารย์ใน
ระบบรับสมัครทุนการศึกษา ระบบฐานข้อมูล คณะท่ีรับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอกเหล่าน้ี
ศิษย์เก่า ระบบลงทะเบียนออนไลน์ การประชุม ได้ทยอยส�ำเร็จการศึกษาและกลับมาปฏิบัติงาน
วิชาการระดับนานาชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และ ท่ีคณะ ในช่วงปลายวาระท่ีสองของผู้เขียน
สังคมศาสตร์ ระบบรับสมัครหลักสูตรอบรม จ�ำนวน 4 ราย ได้แก่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์
บริการวิชาการ ระบบธนาคารอิเล็กทรอนิกส์ ด ร . ส ม ฤ ดี ค ง พุ ฒ ด ร . อั ญ ช น า รั ก ท อ ง
(e-banking) ระบบแจ้งเงินโอนผ่านอีเมล์ ระบบ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไซนี แวมูซอ และ
ออกเลขหนังสือออนไลน์ ระบบฐานข้อมูลวัสดุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยิ า รตั นกานตะดลิ ก สว่ น
ระบบเฝ้าดู (network monitoring) ระบบจอง อาจารย์ในคณะรายอื่น ๆ (เช่น ดร.ปริวัฒน์
หอ้ งประชมุ ออนไลน์ และระบบประชมุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ธาราฤดี และ ดร.เฉลมิ วฒุ ิ วิจติ ร) และบุคคลทว่ั ไป
(e-meeting) เป็นต้น โดยทุกระบบเร่ิมใช้คร้ังแรก (เช่น ดร.อภิชญา แก้วอุทัย ดร.ห้าวหาญ ทวีเส้ง
ในวาระการบริหารของผู้เขียน บางระบบมีการ ดร.พิมพวรรณ ใช้พานิช และ ดร.อรอุมา จริงจิตร)
ปรับปรงุ เปล่ยี นแปลงในเวลาตอ่ มา ที่รับทุนศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ได้ทยอย
ในด้านการพัฒนาบุคลากรนั้น ในส่วนของ ส�ำเร็จการศึกษาและกลับมาปฏิบัติงานท่ีคณะ
บุคลากรสายวิชาการ คุณวุฒิของอาจารย์เป็น ในสมัยของคณบดีท่านถัดไป (ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ป ั จ จั ย ส� ำ คั ญ ใ น ก า ร ขั บ เ ค ล่ื อ น ภ า ร กิ จ ด ้ า น ดร.กานดา จันทร์แย้ม) นอกจากคุณวุฒิแล้ว
การเรียนการสอนและการวิจัย คณะศิลปศาสตร์ ต�ำแหน่งทางวิชาการก็เป็นอีกหน่ึงปัจจัยส�ำคัญ
จึงสนับสนุนให้อาจารย์ศึกษาต่อ ทั้งในประเทศ ในการด�ำเนินงานด้านหลักสูตร อีกท้ังเป็นตัวบ่งชี้
และต่างประเทศ เพ่ือให้มีคุณวุฒิสูงขึ้นถึงระดับ ด้านความก้าวหน้าและวุฒิภาวะทางวิชาการของ
ปรญิ ญาเอก โดยไดร้ บั ทนุ Ph.D. 50% ซง่ึ มหาวทิ ยาลยั คณาจารย์ ซึ่งจะส่งผลต่อภาพลักษณ์และการเป็น
และคณะร่วมกันสนับสนุน ฝ่ายละ 50% หรือ ท่ียอมรับของคณะอีกทางหน่ึง คณะจึงส่งเสริมให้
ได้รับทุนจากแหล่งทุนภายนอก เช่น ทุนโครงการ อาจารย์เสนอขอก�ำหนดต�ำแหน่งทางวิชาการ
พัฒนาก�ำลังคนด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เม่อื ถึงเวลาอันควร
(ทุนเรียนดีมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์แห่ง ในส่วนการพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
ประเทศไทย) และทุนโครงการพัฒนาอาจารย์/ เน้นการพัฒนาความรู้และทักษะเพื่อเพิ่มศักยภาพ
บุคลากรส�ำหรับสถาบันอุดมศึกษาในเขตพัฒนา และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การท�ำโครงการ
เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ ของส�ำนักงาน พัฒนางาน ซ่ึงเป็นประโยชน์ต่อทั้งความก้าวหน้า

32 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ใ น ส า ย ง า น ข อ ง บุ ค ล า ก ร ส า ย ส นั บ ส นุ น แ ล ะ เปล่ียนสถานภาพ จากหน่วยราชการ ไปเป็น
การดำ� เนนิ งานของคณะ ตลอดจนสง่ เสรมิ การทำ� งาน มหาวิทยาลัยในก�ำกับของรัฐ ตั้งแต่วันที่ 21
วจิ ยั สถาบนั และงานวิจัย R2R กรกฎาคม 2559 ส่งผลให้รูปแบบโครงสร้างภายใน
ในด้านวิสัยทัศน์ของคณะศิลปศาสตร์ ได้มี ส่วนงานของคณะศิลปศาสตร์ต้องปรับเปล่ียน
การก�ำหนดและทบทวนผ่านกระบวนการการมี ไปตามข้อก�ำหนด เพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกัน
ส่วนร่วมของบุคลากรทุกภาคส่วน โดยในปี 2554 และเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกสายงานจากทุก
วิสัยทัศน์ของคณะ คือ “คณะศิลปศาสตร์เป็น หน่วยงานภายในคณะ แสดงความคิดเห็นและ
คณะช้ันน�ำทางวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และ ข้อเสนอแนะต่อการปรับโครงสร้างองค์กร
สังคมศาสตร์ในระดับชาติและนานาชาติ” ต่อมา ของคณะศิลปศาสตร์ในบริบทการเป็นมหาวิทยาลัย
ในปี 2557 ได้ปรับเปลี่ยนวิสัยทัศน์ของคณะเป็น ในก�ำกับของรัฐ ผู้เขียนจึงได้จัดโครงการสัมมนา
“คณะศิลปศาสตร์เป็นคณะชั้นน�ำทางวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ หัวข้อ “การปรับโครงสร้างองค์กร
ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในระดับชาติและ ของคณะศิลปศาสตร์ในบริบทการเป็นมหาวิทยาลัย
ภูมิภาคเอเชีย” ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ ในก�ำกับของรัฐ” เม่ือวันท่ี 28-30 กรกฎาคม 2559
พฒั นาการของคณะและบริบททเี่ ปลีย่ นไป ณ โรงแรมอนันตรา สิเกา รีสอร์ท แอนด์ สปา
ต่อมา ในช่วงท้ายวาระที่สองของผู้เขียน อ.สิเกา จ.ตรัง ข้ึน นับเป็นการร่วมสัมมนากับ
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ บุคลากรทุกสายงานทง้ั คณะครง้ั สดุ ทา้ ยของผู้เขยี น
พ.ศ. 2559 ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ ในฐานะคณบดี ก่อนสง่ มอบงานให้คณบดที า่ นตอ่ ไป
วันที่ 21 มิถุนายน 2559 และมหาวิทยาลัยได้

ความสำ� เรจ็ ได้รับรางวัลโครงการดีเด่นด้านบ�ำเพ็ญประโยชน์
การเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับคณะศิลปศาสตร์ โครงการเข็มรวมช่อ ได้รับรางวัลโครงการดีเด่น
คงไมส่ มบูรณ์ หากไมก่ ล่าวถงึ นกั ศกึ ษาและบุคลากร ด้านกิจกรรมรับน้องเชิงสร้างสรรค์ และโครงการ
หลายท่าน ผู้ร่วมกันสร้างชื่อเสียงและเกียรติประวัติ กีฬา 14 คณะ ได้รับรางวัลชนะเลิศขบวนพาเหรด
ให้แก่คณะ ด้วยการสร้างผลงานเชิงประจักษ์และ การแข่งขันกฬี าศรตี รัง
เป็นท่ียอมรับในระดับมหาวิทยาลัย ผู้เขียนจึงขอ ปี 2552 โครงการไหวค้ รู ได้รบั รางวัลชนะเลศิ
ถือโอกาสบันทึกความส�ำเร็จเหล่าน้ีไว้ ณ ท่ีนี้ เพื่อ การประกวดพานดอกไม้และพานธูปเทียน โครงการ
เปน็ เกยี รติแก่ผูไ้ ด้รับรางวัล และผสู้ รา้ งผลงาน ประเพณีลอยกระทง ได้รับรางวัลชนะเลิศ
ความส�ำเรจ็ ของนักศึกษา การประกวดนางนพมาศ และรางวลั ชมเชยขบวนพาเหรด
ในทุกปีการศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี ประเภทสนุกสนาน
คณะศิลปศาสตร์ ได้รับรางวัลนักกิจกรรมดีเด่น/ ปี 2552-2556 นักศึกษาคณะศิลปศาสตร์
นักกิจกรรมตัวอย่าง ด้านต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอ ได้รับรางวัลชนะเลิศกีฬากรีฑา และกีฬาประเภท
เช่น ดา้ นบรหิ าร ดา้ นวชิ าการ ดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม ตา่ ง ๆ เชน่ ยงิ ปนื เทเบลิ เทนนสิ ฟตุ บอล ซอฟทบ์ อล
ด้านกีฬา ด้านวิเทศสัมพันธ์ ด้านประชาสัมพันธ์ บาสเกตบอล วอลเลย์บอล ปิงปอง ตะกร้อ และ
ด้านพัฒนาสังคมและด้านบ�ำเพ็ญประโยชน์ กีฬาพ้ืนบ้าน
นอกจากน้ี กิจกรรม/โครงการที่สโมสรนักศึกษาจัด ปี 2553 และ 2555-2556 โครงการโต้วาที
กไ็ ดร้ บั รางวัลต่าง ๆ เป็นประจ�ำเช่นกนั อาทิ น้องใหม่ ได้รับรางวัลชนะเลิศโต้วาทีน้องใหม่
ปี 2551 โครงการ 13 กนั ยา สถาปนาแดนศลิ ป์

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 33

ปี 2554 โครงการดูดีทุกวันพุธ สวยสุดด้วยพลีทยาว อาจารยต์ วั อยา่ งของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ไดร้ ับรางวัลโครงการดีเด่น ดา้ นวชิ าการ ประจ�ำปี 2554 ดา้ นการเรียนการสอน
ปี 2556 โครงการประกวดดาว-เดือน รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑา จาฏุพจน์
มหาวิทยาลยั ได้รบั รางวลั ชนะเลศิ ดาวมหาวทิ ยาลัย
ปี 2557 โครงการกีฬาน้องใหม่ ได้รับรางวัล ศนู ย์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง คณะศลิ ปศาสตร์
ชนะเลิศผู้น�ำเชียร์ และรางวัลชนะเลิศสแตน ไดร้ บั เลือกให้เปน็ หน่วยงานท่มี แี นวปฏิบัต ิ
สนั ทนาการ ทเ่ี ปน็ เลศิ ด้านการเรยี นการสอนและคุณภาพ
รางวัลดังกล่าวข้างต้น สะท้อนให้เห็นบุคลิก บัณฑติ ประจ�ำปี 2555

และเอกลักษณ์ของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ ท่ีมี อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานพิ นธด์ ีเด่น ประจำ� ปี
ท้ังศาสตร์และศิลป์อยู่ในตน มีทักษะหลากหลาย 2557 กลุ่มสาขาวชิ ามนุษยศาสตรแ์ ละ
มีความคิดสร้างสรรค์ กล้าแสดงออก มีทักษะ สงั คมศาสตร์
ทางกฬี า และมฝี ีมอื ทางศลิ ปะ รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศา แซเ่ ตยี ว
ในระดับบัณฑิตศึกษา ในช่วงปี 2551-2556 โครงการละครเวทีประจ�ำปี คณะศลิ ปศาสตร์
นักศึกษาปริญญาโท คณะศิลปศาสตร์ มีผลงาน ไดร้ บั คัดเลือกเป็นผลงานดเี ดน่ ของ
วิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์ที่ได้รับรางวัลต่าง ๆ รวม มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ประจ�ำปี 2557
12 รางวัล จ�ำแนกเป็นผลงานของนักศึกษาหลักสูตร สาขาทำ� นบุ �ำรุงศลิ ปวัฒนธรรม
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษา
อังกฤษเป็นภาษานานาชาติ จ�ำนวน 7 รางวัล
และผลงานของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตร รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศา แซ่เตียว ไดร้ บั
มหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคมจ�ำนวน คดั เลือกเป็นบุคลากรดเี ด่นของมหาวิทยาลัย
5 รางวัล สงขลานครินทร์ ประจำ� ปี 2558 กล่มุ ที่ 1
ความสำ� เรจ็ ของบุคลากรและผลงาน ต�ำแหน่งประเภทอ�ำนวยการ ระดบั สงู
ในช่วงปี 2550-2559 คณะศิลปศาสตร์มี ตำ� แหน่งประเภทวชิ าการ ระดบั เช่ยี วชาญ

บุคลากรและผลงานของบุคลากรได้รับรางวัล อาจารยต์ วั อยา่ งของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ต่าง ๆ รวม 9 รางวัล โดยประวัติความส�ำเร็จของ ประจำ� ปี 2559 ดา้ นกิจการนกั ศกึ ษา
บุคลากรคณะศิลปศาสตร์ เร่ิมคร้ังแรกในช่วง ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ เอมอร เจียรมาศ
ปลายสมัยของคณบดีสุจิตรา รายละเอียด
เรียงตามล�ำดับเวลา ดงั นี้ ผลงานดีเด่นของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์
ประจำ� ปี 2559 สาขาการวจิ ยั ดา้ นมนษุ ยศาสตร์
อาจารยต์ วั อยา่ งของมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ และสังคมศาสตร์
ประจำ� ปี 2550 ดา้ นการเรยี นการสอน
รองศาสตราจารย์ ดร.อดศิ า แซ่เตยี ว ผลงาน เรือ่ ง บทบาทผนู้ �ำมสุ ลิมในการดแู ล
เยาวชนตามวิถีอิสลามเพ่ือเสรมิ สรา้ งสนั ตสิ ขุ
ผลงานดเี ดน่ ของมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ในสามจงั หวัด ชายแดนภาคใต้ ของ
ประจำ� ปี 2550 สาขาการแตง่ ตำ� รา ผลงาน รองศาสตราจารย์ ดร.เกษตรชัย และหมี
ศิลปะเอเชีย และคณะ
ของ รองศาสตราจารย์ ปัญญา เทพสงิ ห์

34 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

สง่ ทา้ ย
ในวาระท่ีคณะศิลปศาสตร์มีอายุครบ 25 ปี
ผู้เขียนขอถือโอกาสน้ี ระลึกถึงและขอบคุณ
ทมี บรหิ ารและบคุ ลากรทกุ สายงาน ทไ่ี ดเ้ สยี สละ รว่ มมอื
ร่วมแรง และร่วมใจ รังสรรค์งานคุณภาพ มุ่งเน้น
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล และพัฒนาคณะ
ให้มีความเจริญก้าวหน้าในด้านต่าง ๆ มาตามล�ำดับ
สง่ ผลใหค้ ณะศลิ ปศาสตรม์ ผี ลงานและการดำ� เนนิ งาน
เป็นท่ียอมรับ ผู้เขียนรู้สึกภาคภูมิใจท่ีได้มีส่วนร่วม
ในการสร้างความเจริญเติบโตให้แก่คณะศิลปศาสตร์
ดังท่ีได้มุ่งมั่นตั้งใจไว้ เม่ือคร้ังได้รับการแต่งตั้งให้
ด�ำรงต�ำแหน่งคณบดี ขอถือโอกาสอันเป็นมงคลน้ี
อวยพรให้คณะศิลปศาสตร์ มีความเจริญก้าวหน้า
ยิ่ง ๆ ข้ึน สามารถบรรลุพันธกิจและวิสัยทัศน์ท่ี
วางไว้ ตลอดจนเป็นองค์กรด้านการศึกษาและ
วิชาการ ที่มีคุณภาพและคุณค่าต่อสังคมตลอดไป
หวังว่าการเล่าขาน เรื่องราวในทศวรรษที่สองของ
คณะศิลปศาสตร์ในคร้ังนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อ
ชาวศลิ ปศาสตรแ์ ละผู้อ่านทุกท่าน

รองศาสตราจารย์ ดร.อดิศา แซ่เตยี ว

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 35

แชห่ว่งงคเววลามา เปลี่ยนแปลง

ปรบั ตัว
และพัฒนา

เพอื่ สรา้ งความยง่ั ยืน

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจ ารย์ ดร.กานดา จนั ทร์แย้ม
เมื่อเข้าด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีในเดือนตุลาคม ศนู ยภ์ าษาและบรกิ ารวชิ าการ ศนู ยน์ วตั กรรมการศกึ ษา
2559 เป็นช่วงรอยต่อของการเปลี่ยนแปลงท่ี เพื่อการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ศูนย์การเรียนรู้
สืบเนื่องจาก พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ด้วยตนเอง และศูนย์วิจัยด้านภาษา วัฒนธรรม
สงขลานครนิ ทร์ พ.ศ. 2559 ไดก้ ำ� หนดใหม้ หาวทิ ยาลยั และการพัฒนามุนษย์ในอาเซียนตอนล่าง และย้าย
เป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นหน่วยงานในก�ำกับของรัฐ บุคลากรสายสนับสนุนท้ังหมดมาสังกัดส�ำนักงาน
ซ่ึงไม่ใช่ส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ หรือ บริหารคณะศิลปศาสตร์ ซ่ึงการเปลี่ยนแปลงน้ีมีผล
ท่ี เ รี ย ก สั้ น ๆ ว ่ า “ อ อ ก น อ ก ร ะ บ บ ” ซ่ึ ง ให้ต้องมีการวิเคราะห์อัตราก�ำลังของคณะทั้งระบบ
การเปลี่ยนแปลงน้ีส่งผลต่อการบริหารจัดการของ เพ่ือจัดก�ำลังคนรองรับการท�ำงานอย่างสมดุล
คณะศิลปศาสตร์ในวงกว้าง ทั้งในแง่ของงบประมาณ ปรับเปลี่ยนโยกย้ายก�ำลังคนบรรจุในต�ำแหน่งงาน
การบริหารจัดการ และก�ำลังคน หลังจากรับ ที่เหมาะสม จัดระบบงานทุกงานให้มีโครงสร้าง
ต�ำแหน่งคณบดีการปรับโครงสร้างการบริหาร การท�ำงานและขั้นตอนการท�ำงานที่ชัดเจน ถือได้ว่า
ของคณะจึงเป็นภารกิจแรกที่ต้องด�ำเนินการเพื่อ เปน็ การเปลยี่ นแปลงระลอกแรกของคณะศลิ ปศาสตร์
ให้สอดคล้องกับนโยบายของมหาวิทยาลัย โดยได้ ในรอบ 20 ปี ที่บุคลากรต้องปรับตัวเข้าสู่การบริหาร
ปรบั โครงสรา้ งเปน็ การบรหิ ารในแนวราบ ตามภารกจิ จัดการแบบใหม่ ภาระงานใหม่ และการประเมินผล
และให้มีการบริหารทรัพยากรแบบรวมศูนย์ โดย การปฏิบัติงานในรูปแบบใหม่อีกด้วย และในปี
คณะฯ ได้ใช้โครงสร้างใหม่ในปี พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2560 เป็นปีที่ครบรอบการก่อต้ังคณะ
มกี ารเปลยี่ นแปลงท่สี ำ� คญั คอื การปรบั การบรหิ ารใน ศิลปศาสตร์ 20 ปี จึงได้มีการก่อตั้งป้ายถาวร
ระบบภาควิชา เป็นสาขาวิชา และเปล่ียนช่ือจาก บริเวณหน้าคณะฯ เพื่อให้เป็นจุดส�ำคัญในการ
เดมิ ภาควิชาภาษาและภาษาศาสตร์ เปน็ สาขาวิชา ประชาสัมพันธ์ โดยได้รับเกียรติจาก ฯพณฯท่าน
ภาษาต่างประเทศ ภาควิชาสารัตถศึกษา เป็น ชวน หลีกภัย อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน
สาขาวิชาสังคม วัฒนธรรม และการพัฒนามนุษย์ ในพิธีเปิดป้ายถาวร เม่ือวันที่ 27 กุมภาพันธ์
และมีการตั้งหน่วยงานใหม่ 4 หน่วยงานคือ พ.ศ. 2561

36 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ส�ำหรับการบริหารจัดการคณะฯได้น�ำเกณฑ์ ที่ช่วยให้คณะศิลปศาสตร์ซ่ึงอยู่ในช่วงของ
คุณภาพการศึกษาเพื่อการด�ำเนินการที่เป็นเลิศ การเปล่ียนแปลง ได้มีการพัฒนาอย่างเป็นระบบและ
(Education Criteria for Performance มที ศิ ทางทช่ี ดั เจน โดยคณะฯไดร้ บั การรบั รองคณุ ภาพ
Excellence: EdPEx) มาใช้เป็นแนวทางในการ การศกึ ษาในระดบั 200 (EdPEx200) ในปี พ.ศ. 2561
บริหารจัดการ ซ่ึงถือได้ว่าเป็นเครื่องมือส�ำคัญ

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 37

การปรบั ตวั ด้านการจัดการศึกษา และใช้พ้ืนที่การเรียนรู้ได้ตามอัธยาศัยท้ังระบบ
จากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีท่ีมีการพัฒนา ออนไลน์และออฟไลน์ จัดการระบบคอมพิวเตอร์
ขึ้นอย่างต่อเน่ืองท�ำให้สังคมโลกสามารถก้าวข้าม และสารสนเทศท่ีมีความทันสมัยรองรับการท�ำงาน
ขีดจ�ำกัดทางกายภาพ เวลา และพรมแดน ตลอดจน อย่างทั่วถึง ปรับการให้บริการเข้าสู่ระบบออนไลน์
การด�ำเนินชีวิตในรูปแบบใหม่ ท่ีความรู้ไม่ได้จ�ำกัด เช่น การวัดประเมินผลการศึกษา การให้บริการ
อยู่แต่ในห้องเรียนเท่านั้น การจัดการศึกษาจึงต้อง จดั การทดสอบภาษา เปน็ ตน้ การสง่ เสรมิ บรรยากาศ
มีการปรับตัวเพื่อพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้เท่าทัน ความเป็นนานาชาติโดยจัดการเรียนการสอนเป็น
กับการเปล่ียนแปลงคณะศิลปศาสตร์ได้ปรับรูปแบบ ภาษาอังกฤษ จัดกิจกรรมพัฒนาสมรรถนะสากล
ของการจัดการศึกษา โดยได้การน�ำแนวคิด ให้นักศึกษาได้มีประสบการณ์ในต่างประเทศ
Outcome base learning มาใช้ในการด�ำเนินงาน กจิ กรรมแลกเปลยี่ นเรยี นรกู้ บั นกั วชิ าการตา่ งประเทศ
และออกแบบการจัดการศึกษาให้ได้มาตรฐาน ใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐานในการเรียนรู้และ
ในทุกขั้นตอน ควบคุมคุณภาพโดยใช้เกณฑ์ จัดให้มีการจัดประชุมวิชาการระดับชาติส�ำหรับ
AUN-QA มุ่งเน้นการจัดการเรียนรู้ในลักษณะ นักศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นครั้งแรกในปี 2561
Active Learning ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมและมี ส�ำหรับระดับบัณฑิตศึกษาส่งเสริมให้นักศึกษา
การปฏบิ ตั จิ รงิ ทง้ั ในและนอกหอ้ งเรยี น ในปกี ารศกึ ษา จัดเวทีเสวนาทางวิชาการทั้งในระดับชาติและ
2563 ปรับการจัดการศึกษาให้ทุกหลักสูตรมีการ นานาชาติทุกหลักสูตร อย่างไรก็ตามนอกจาก
ปฏิบัติสหกิจศึกษา (CWIE) เพื่อให้นักศึกษามี รูปแบบการเรียนรู้ในยุคศตวรรษท่ี 21 ที่มี
สมรรถนะและคุณลักษณะตรงกับความต้องการ การเปลย่ี นแปลงไป ประเทศไทยยงั เขา้ สสู่ งั คมผสู้ งู อายุ
ของตลาดแรงงาน และพร้อมสู่โลกแห่งการท�ำงาน อย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2564 ประชากรในวัยเรียน
จริง ปรับระบบการเรียนการสอนและการบริการ มีแนวโน้มลดลง คณะจึงจัดท�ำหลักสูตรการเรียนรู้
ให้มีความทันสมัยโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ี แบบออนไลน์ (Massive open online course:
ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่าง MOOC) จัดท�ำหลักสูตรในรูปแบบ Non-degree
หลากหลาย สามารถทบทวนบทเรียนได้ด้วยตนเอง เพื่อพัฒนาและยกระดับทักษะให้กับผู้เรียน
รวมทั้งสามารถเข้าถึงการเรียนรู้โดยไม่จ�ำกัดพื้นที่ ทั้งนักศึกษาในระบบการศึกษาปกติและบุคคลท่ัวไป
อาทิ ส่ือการสอนออนไลน์ในลักษณะ interactive ทุกช่วงวัยสามารถเข้าถึงและมีโอกาสร่วมเรียน
หอ้ งเรยี นสอ่ื ผสม หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา วางระบบ ได้ โดยบรรจุไว้ในหลักสูตรของคณะตั้งแต่
การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตให้มีจุดกระจายสัญญาณ ปกี ารศกึ ษา 2563
ไ ว ไ ฟ ท่ั ว ท้ั ง ค ณ ะ ผ น ว ก ห ้ อ ง ส มุ ด เ ข ้ า กั บ
ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองที่ผู้เรียนสามารถเข้าสืบค้น

เครือข่ายกบั การพัฒนา มีการพัฒนาความร่วมมอื ท่สี �ำคัญ ดงั นี้
คณะฯ ได้มีการปรับระบบการท�ำความรว่ มมือ ปี พ.ศ. 2560 ท�ำความรว่ มมอื กับ University
กับมหาวิทยาลัยและหนว่ ยงานท่ีมกี จิ กรรมร่วมกบั College Bestari ประเทศมาเลเซีย เพื่อพัฒนา
คณะ มกี ารเจรจาขอ้ ตกลงเพมิ่ ขนึ้ ท้งั กบั หนว่ ยงาน รายวิชา และแลกเปล่ียนนักศึกษาในลักษณะ
คคู่ วามรว่ มมอื เดมิ และหนว่ ยงานใหม่ ตามยทุ ธศาสตร์ Student mobility เพ่ิมข้อตกลงความร่วมมือเพ่ือ
การพัฒนาของคณะ โดยต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2560-2565

38 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนหลักสตู รภาษาจีน ร่วมผลิตหลักสูตรการจัดการอุตสาหกรรมการบิน
กับ Fudan University Sichuan University และการบริการ ซ่ึงถือเป็นหลักสูตรร่วมผลิต
และ Guangxi Normal University กับสถานประกอบการหลักสูตรแรกของคณะ
ปี พ.ศ. 2561 ท�ำความร่วมมือกับ สถาบัน ศิลปศาสตร์ และเปิดรับนักศึกษารุ่นแรกปีการศึกษา
ทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ ส�ำนัก 2563 ท�ำความร่วมมือกับ School of Humanities,
การจัดการนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี Universiti Sains Malaysia เพื่อจัดท�ำหลักสูตร
มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย เพอื่ สร้าง ร่วมผลิต หลักสูตรภาษาอังกฤษ การจัด
ความเขม้ แขง็ ทางวชิ าการดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ การเรียนการสอน วิจัย บริการวิชาการ และ
ภาคใต้และคาบสมุทรมลายู ท�ำความร่วมมือกับ การแลกเปลี่ยนนกั ศึกษาในลักษณะ Student
บริษัท ไทยไฟลท์เทรนนิ่ง จ�ำกัด เพ่ือจัดท�ำหลักสูตร mobility

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 39

ปี พ.ศ. 2562 ท�ำความร่วมมือกับคณะ ปี พ.ศ. 2564 ท�ำความร่วมมือกับโรงเรียน
การบริการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัย เครือข่ายส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีน
สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตภเู กต็ รองรบั การจดั การศกึ ษา (ภาคใต้) 8 สถาบัน เพื่อสนับสนุนและสร้าง
หลักสูตรภาษาอังกฤษ เจรจาความร่วมมือกับ ความเข้มแข็งทางวิชาการให้กับนักเรียนในระดับ
Faculty of Cultural Sciences, Universitas มัธยมศึกษา และสนับสนุนการจัดการศึกษาของ
Gadjah Mada ในการจัดการศึกษา วิจัย และ คณะศิลปศาสตร์ ร่วมมือกับสมาคมสังคมศาสตร์
บริการวิชาการ และเพิ่มข้อตกลงความร่วมมือกับ แห่งประเทศไทย เพ่ือร่วมจัดประชุมวิชาการ
Guangxi Normal University เพื่อเปิดหลักสูตร ระดับปริญญาตรีด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ร่วมผลิตแบบ inbound 3+1 หลักสูตร Thai ระดับชาติ
Language Program for Overseas Students ปี พ.ศ. 2565 ท�ำความร่วมมือด้านการจัด
ปี พ.ศ. 2563 ทำ� ความรว่ มมอื กบั สถาบนั พฒั นา การศึกษา วิจัย และบริการวิชาการ กับ คณะ
องค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เพื่อเป็นแหล่งฝึก สงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ คณะศลิ ปศาสตร์
และสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนหลักสูตร มหาวิทยาลัยมหิดล ท�ำความร่วมมือกับ IDP
ชุมชนศึกษาเพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน ท�ำความร่วมมือ Education ในการจดั ตงั้ Official IELTS Registration
กับคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Centre and Official IELTS Test Centre
School of Humanities, Universiti Sains ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Malaysia Faculty of Cultural Sciences, เจรจาความร่วมมือทางวิชาการกับส�ำนักงานฝ่าย
Universitas Gadjah Mada เพื่อร่วมมือในการ โปรแกรมการสอนภาษาอังกฤษประจ�ำภูมิภาค
จดั การศกึ ษา วจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ ทำ� ความรว่ มมอื (Regional English Language Office: RELO)
กบั Confucius Institute มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ สถานเอกอคั รราชทตู สหรฐั อเมรกิ าประจำ� ประเทศไทย
เพอ่ื ใหศ้ นู ยภ์ าษาและบรกิ ารวชิ าการ คณะศลิ ปศาสตร์ เจรจาความร่วมมือทางวิชาการด้านหลักสูตรและ
เป็นศูนยจ์ ดั ทดสอบภาษาจีน HSK/HSKK กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาจีนกับ
Beijing Language and Culture University (BLCU)

ภาวะโรคระบาดและการเปล่ยี นแปลงแบบพลิกผนั

ต้ังแต่ช่วงปลายปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา โปรแกรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ได้
ถือได้ว่าเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญอีกครั้งหนึ่ง อย่างทันท่วงที การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
ในการจัดการศึกษาของคณะศิลปศาสตร์ เนื่องจาก ให้สามารถอ�ำนวยความสะดวก และ จัดเตรียม
ภาวะการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ตให้พร้อม
COVID-19 ส่งผลให้การจัดการศึกษาในช้ันเรียน ส�ำหรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และ
ไม่สามารถด�ำเนินการได้ ต้องปรับเข้าสู่ระบบ การจัดสรรทุนสนับสนุนค่าธรรมเนียมการใช้
ออนไลน์อย่างกระทันหันระหว่างภาคการศึกษาท่ี อินเทอร์เน็ตให้กับนักศึกษา จนทุกรายวิชาสามารถ
2/2562 ซึ่งถือได้ว่าเป็นช่วงเวลาท่ีโกลาหล ปรับตัวเขา้ สรู่ ะบบออนไลนไ์ ดท้ ้ังหมดและสามารถ
ที่ทุกภาคส่วนต้องเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผันในช่วง ด� ำ เ นิ น ก า ร ใ ห ้ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ใ น
ข้ามคืนโดยไม่ได้ตั้งตัว คณะต้องด�ำเนินการ ภาคการศกึ ษาที่ 2/2562 ลลุ ว่ งไปได้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ การ
อยา่ งเรง่ ดว่ นในการดำ� นนิ การใหค้ ณาจารยส์ ามารถใช้ รว่ มแรงรว่ มใจครงั้ สำ� คญั ของบคุ ลากรคณะศลิ ปศาสตร์

40 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

ในการตั้งรับและร่วมมือโดยความมุ่งหวังให้ โดยบูรณาการเข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย
นักศึกษาได้รับการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ท่ีมุ่งหวัง และบริการวิชาการ เช่น การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
อย่างครบถ้วนและสามารถส�ำเร็จการศึกษาได้ตาม ออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ NAAMCHOOP.com
แผนการศึกษา จนสามารถผ่านพ้นสถานการณ์ที่ นอกจากน้ีคณะได้จัดสรรงบประมาณเพ่ือปรับปรุง
ยากลำ� บากไปได้ อยา่ งไรกต็ ามสถานการณแ์ พรร่ ะบาด อาคารสถานที่ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
ยังคงต่อเน่ืองตลอดปีการศึกษา 2563 และ 2564 เพ่ือรองรับการท�ำงานในยุคปกติวิถีใหม่ (New
การด�ำเนินงานตามพันธกิจของคณะจึงต้องน�ำเข้า normal) เช่น ห้องเรียนอัจฉริยะ ห้องประชุมท่ี
สู่ระบบออนไลน์ท้ังหมด ทุกส่วนงานต้องเรียนรู้ ติดต้ังระบบเพ่ือรองรับการประชุมและกิจกรรม
และพัฒนารูปแบบการท�ำงานและน�ำเข้าระบบ ต่าง ๆ ทั้งระบบออนไลน์ ออฟไลน์ และผสมผสาน
ออนไลน์ ปรับเปลี่ยนวิธีการท�ำงานในกรณีที่ ห้องส่ือโสตฯ ครบวงจร ห้องสตูดิโอ เป็นต้น
ต้องท�ำงานมาจากที่บ้าน ท�ำให้เกิดการพัฒนา จากการพฒั นาดงั กลา่ วทำ� ใหก้ ารดำ� เนนิ งานของคณะ
ระบบงานและนวัตกรรมข้ึนในคณะฯ ในทุกส่วนงาน เป็นไปได้อย่างต่อเนื่องและเกิดผลลัพธ์ที่ดี
เช่น กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ได้แก่ ในหลายเรอื่ ง เชน่ นกั ศกึ ษามคี วามพงึ พอใจตอ่ คณุ ภาพ
การปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ กิจกรรมปัจฉิมนิเทศ การจัดการเรียนการสอนสูงขึ้นท้ังในแง่ของหลักสูตร
การไหว้ครู การพัฒนาทักษะชีวิตและวิชาชีพซ่ึง คุณภาพการสอนของอาจารย์ สิ่งสนับสนุนการศึกษา
เป็นกิจกรรมหลักในการสร้างความสัมพันธ์กับ และการพัฒนาวิชาชีพ บัณฑิตคณะศิลปศาสตร์
นักศึกษาและคณะฯ ในด้านการเรียนการสอนได้มี มีทักษะในการท�ำงานเพิ่มสูงขึ้น และความพึงพอใจ
การพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ของผู้ใช้บัณฑิตมีแนวโน้มสูงข้ึน ทุกหลักสูตรมี
(Massive open online course: MOOC) นักเรียนเลือกเรียนเป็น 3 ล�ำดับแรกในภาคใต้
การจัดการเรียนการสอนผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ และเลือกเรียนเป็น 3 ล�ำดับแรกในระดับประเทศ
การจัดกิจกรรมทางวิชาการเพื่อให้นักศึกษาและ เพิ่มขึ้น สัดส่วนผลงานทางวิชาการในฐานข้อมูล
คณาจารย์ได้มีโอกาสในการแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ ISI/SCOPUS สูงข้ึนอย่างก้าวกระโดดจาก 0.05
นักวิชาการท้ังในระดับชาติ และนานาชาติผ่าน ในปี 2559 เป็น 0.26 ในปี 2563 มีรายได้จาก
ระบบออนไลน์ การบริการวิชาการ ได้มีการพัฒนา การบริการวิชาการในปี 2564 เพ่ิมขึ้นจากปี 2563
รูปแบบการให้บริการผ่านระบบออนไลน์ เช่น ร้อยละ 9 เป็นต้น อย่างไรก็ตามแม้ว่าในปัจจุบัน
การจัดทดสอบภาษาแบบออนไลน์จากที่บ้านเป็น สถานการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19 ได้ลด
ครั้งแรกในปี 2563 การให้บริการงานแปลโดย ระดับลงแล้ว แต่ด้วยระบบท่ีคณะได้พัฒนาข้ึน
พัฒนาระบบการรับส่งเอกสารออนไลน์ การให้ ท�ำให้ระบบการท�ำงานต่าง ๆ มีความทันสมัย
บริการอบรมทางวิชาการออนไลน์ เป็นต้น ในส่วน บุคลากรและนักศึกษามีความตื่นตัว สามารถตั้งรับ
ของการวิจัย ได้พัฒนาการจัดการประชุมวิชาการ และปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างรู้เท่าทัน
ท้ังในระดับชาติและนานาชาติ จัดกิจกรรมเสวนา สอดรับกับการด�ำเนินชีวิตในยุคความปกติวิถีใหม่
ทางวิชาการด้านการวิจัย การพัฒนานักวิจัย เข้าสู่ ให้สามารถก้าวข้ามขีดจ�ำกัดทางกายภาพ เวลา
ระบบออนไลน์ทั้งหมด ในส่วนของการท�ำนุบ�ำรุง และพรมแดน น�ำไปสู่การพัฒนาคณะเพ่ือเป็น
ศิลปวัฒนธรรม ได้พัฒนาเข้าสู่แพลตฟอร์มออนไลน์ ศูนย์กลางการเรยี นร้ทู ีไ่ ด้มาตรฐานในระดับสากล

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 41

การพฒั นาบคุ ลากรเพอ่ื สรา้ งความยงั่ ยืน กับทิศทางและยุทธศาสตร์ของคณะฯ ส่งผลให้
อาจกลา่ วไดว้ า่ ตลอดระยะเวลาทด่ี ำ� รงตำ� แหนง่ ตงั้ แตป่ ี 2561 บคุ ลากรสายวชิ าการเขา้ สกู่ ระบวนการ
คณบดีตั้งแต่ ตุลาคม 2559 คณะต้องเผชิญกับ และได้รับการแต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งทางวิชาการ
ความท้าทายจากการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา สูงขึ้นเพิ่มข้ึนทุกปี และบุคลากรสายสนับสนุน
พบว่าปัจจัยส�ำคัญท่ีท�ำให้คณะก้าวไปข้างหน้าได้ ไ ด ้ รั บ ก า ร แ ต ่ ง ตั้ ง ใ ห ้ ด� ำ ร ง ต� ำ แ ห น ่ ง ร ะ ดั บ
อยา่ งมนั่ คง คอื คณุ ภาพของบคุ ลากร คณะศลิ ปศาสตร์ ช�ำนาญการขึ้นไปเพิ่มขึ้น รวมทั้งเกิดนวัตกรรมและ
โดยต้ังแต่คณบดีท่านแรกคือ รศ.ดร.รพีพรรณ แนวปฏิบัตทิ ี่ดีเพ่มิ ข้นึ ในทุกปี
สุวรรณัฐโชติ คณะฯให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา จากท่ีกล่าวมาทั้งหมด ความส�ำเร็จของคณะ
บุคลากรอย่างสม�่ำเสมอ ที่เห็นอย่างเป็นรูปธรรม ศิลปศาสตร์จะเกิดข้ึนไม่ได้หากขาดซ่ึงความร่วมมือ
มากท่ีสุดคือการให้ทุนในการพัฒนาตนเองที่ ร่วมใจของบุคลากรทุกภาคส่วนท่ีมีใจมุ่งมั่นใน
สอดคล้องกับพันธกิจของคณะตามความถนัดและ การรกั ษาและพฒั นาคณะศลิ ปศาสตรท์ เี่ ปรยี บเสมอื น
ความสนใจ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่งที่เมื่อ บ้านหลังท่ีสองของทุกคนโดยยึดประโยชน์ของ
มีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ เกิดข้ึน คณะฯ มีก�ำลังคน คณะฯ เป็นท่ีต้ัง ดังปณิธานของมหาวิทยาลัย
รองรับการด�ำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สงขลานครินทร์ “ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัวเป็น
ต่อเน่ืองและทันเวลา ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนา ที่สอง ประโยชน์ของเพ่ือนมนุษย์เป็นกิจท่ีหนึ่ง
บุคลากรสามารถด�ำเนินไปได้อย่างต่อเน่ืองและ ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศ จะตกแก่ท่านเอง
เป็นระบบ ในปี 2561 คณะได้มีการจัดท�ำแผน ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ ให้บริสุทธิ์” รวมท้ัง
พัฒนาตามเส้นทางสายอาชีพ (Career path) ค่านิยมของคณะ “มุ่งพัฒนา รักษาคุณธรรม น�ำ
โดยจัดท�ำเป็นคู่มือเพื่อให้บุคลากรทุกส่วนงานได้ สังคม” และในโอกาสครบรอบ 25 ปีการก่อตั้ง
รับรู้เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพของตนเอง คณะศิลปศาสตร์ คณะฯ ยังคงมุ่งมั่นในการเป็น
อย่างชัดเจน ปี 2562 ได้จัดท�ำแผนพัฒนาบุคลากร สถาบันการศึกษาท่ีมุ่งเน้นในการสร้างก�ำลังคน
ในภาพรวมของคณะ และในปี 2563 บุคลากร สร้างองค์ความรู้ เพื่อเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้
ทุกคนมีแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) ที่สอดคล้อง ด้านภาษา วัฒนธรรม และการพัฒนามนุษย์
ท่ีน�ำไปสู่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สังคม และ
ประเทศชาติ อยา่ งมีคณุ ภาพและอย่างยั่งยนื ตอ่ ไป
25 ปีทีร่ ่วมสร้างสู่ศูนย์กลางการพฒั นาทยี่ ั่งยืน

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กานดา จนั ทร์แย้ม

42 ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์

คณะผจู้ ดั ทำ�

1. ผศ.ดร.กานดา จันทรแ์ ย้ม คณบดีคณะศิลปศาสตร ์
ทีป่ รกึ ษา

2. ผศ.ดร.ไซน ี แวมูซอ รองคณบดฝี ่ายวเิ ทศสัมพนั ธ์และสอื่ สารองค์กร
ประธานกรรมการ

3. ผศ.ดร.อัญชนา รักทอง รองคณบดฝี ่ายการศึกษา
กรรมการ

4. รศ.ดร.เกษตรชัย และหมี รองคณบดฝี า่ ยพัฒนาระบบและโครงสรา้ งองค์กร
กรรมการ

5. ดร.สติ า มูสิกรงั ษี รองคณบดฝี า่ ยพฒั นานกั ศกึ ษาและศิษย์เกา่ สมั พนั ธ ์
กรรมการ

6. ดร.บุษกร โกมลตร ี กรรมการ

7. ดร.จอมใจ สุทธนิ นท ์ กรรมการ

8. นางอัญญรตั น์ ตน่ั ไพโรจน ์ กรรมการ

9. นางสาวจิราพร บุญช่วย กรรมการ

10. นางสาวกัลยกร นราวัฒนะ กรรมการ

11. นางสาวอรุณพร แช่เตยี กรรมการและเลขานกุ าร

12. นางสาวชณัฐกานต์ โสมพะยอม กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

ครบรอบ ปี ศิลปศาสตร์ 43






Click to View FlipBook Version