The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเปิดภาคเรียน-แบบ-ON-Site โรงเรียนบ้านย่านอุดม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by hello.fon, 2021-11-15 03:34:25

แผนการเปิดภาคเรียน-แบบ-ON-Site โรงเรียนบ้านย่านอุดม

แผนการเปิดภาคเรียน-แบบ-ON-Site โรงเรียนบ้านย่านอุดม

แผนเปดิ เรียน ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๔

การจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ On-Site

โรงเรยี นบา้ นยา่ นอุดม

ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

โรงเรยี นบ้านย่านอดุ ม
อาเภอลาทบั จงั หวดั กระบ่ี
สังกัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษากระบี่

๒๕

คำนำ

แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เล่มนี้ โรงเรียนบ้านย่านอุดม สังกัดสำนักงานเขตพื้นการศึกษา
ประถมศกึ ษากระบ่ี จัดทำขึ้นเพอื่ ใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิงานสำหรับเตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่
2 ปีการศกึ ษา 2564 เพอ่ื สรา้ งความมั่นใจให้แก่นักเรยี น ผู้ปกครอง และประชาชนท่ัวไปว่า โรงเรียนบ้านย่าน
อุดมมีแนวทางการสรา้ งความปลอดภัยใหก้ บั นักเรียนกอ่ นเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 และระหว่างท่ี
จดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา ซ่ึงสอดคลอ้ งกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
กำหนด

โรงเรียนบ้านย่านอุดม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อสถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

ขอบคุณคณะทำงานและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำแนวทางการเตรียมการเปิดภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-
19) เลม่ น้ี จนสำเรจ็ ดว้ ยดี

คณะทำงาน

สารบัญ ๒๖

เร่อื ง หน้า
คำนำ
สารบญั 2
ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพนื้ ฐานโรงเรยี น 4
สว่ นที่ 2 ข้อมูลการวางแผนการเปิดเรยี น
4
- แผนการเปิดเรียน On-site ของโรงเรยี นบา้ นยา่ นอุดม4 4
สว่ นที่ 3 มาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 4
4
- 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) 6
- 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
- 7 มาตรการเข้มงวด 15
- แผนเผชิญเหตุ 15
ส่วนท่ี 4 การวางแผนการทำงานร่วมกับหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง 15 15
ส่วนที่ 5 ในกรณที ไ่ี มส่ ามารถเปดิ การเรยี นการสอนแบบ On-site ได้มีการวางแผนดังนี้
- ปฐมวยั (อ.3) 16
- ประถมศึกษา (ป.1-6) 18
- มธั ยมศึกษา (ม.1-3) 19
ส่วนท่ี 6 บทบาทของผูเ้ ก่ียวข้อง 20
- บทบาทของนักเรียน16 22
- บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา 22
- บทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษา
- บทบาทของผู้ปกครองนักเรียน
- บทบาทขององค์กรสนบั สนุน
ส่วนท่ี 7 การตดิ ตามและประเมนิ ผล
ส่วนที่ 8 ข้อเสนอแนะ / ข้อคิดเหน็ อน่ื ๆ



ประกาศโรงเรียนบา้ นย่านอุดม
เร่อื ง ให้ใช้แผนเปิดเรยี น Onsite ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564
ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

-------------------------------------------
แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) แนบท้ายประกาศเล่มนี้ โรงเรียนบ้านย่านอุดม สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี รับนโยบายจากท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และท่าน
ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จัดทำขึ้นโดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานเพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับเตรยี มความพร้อมกอ่ นเปิดภาคเรยี นท่ี ๒ ปี
การศกึ ษา ๒๕๖๔ ในวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ เพือ่ สร้างความม่นั ใจให้แก่นักเรยี น ผูป้ กครอง และประชาชน
ทัว่ ไปว่าโรงเรียนบ้านย่านอดุ ม มแี นวทางการสรา้ งความปลอดภัยให้กับนกั เรียนก่อนการเปดิ ภาคเรยี นที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และเป็นไปตามนโยบายตน้ สงั กัดทกุ ประการ

โรงเรียนบ้านย่านอุดม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ปฏบิ ัติงานในสถานศึกษาได้เป็นอยา่ งดี ขอบคุณคณะทำงาน ทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำจนสำเรจ็
บรรลตุ ามวัตถุประสงค์

ประกาศ ณ วันที่ ๒9 ตลุ าคม ๒๕๖๔

(นางโสภา ชวู วิ ฒั นร์ ัตนกุล)
รักษาราชการแทน ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นยา่ นอดุ ม

15 พฤศจิกายน ๒๕๖๔



แผนการจัดการเรยี นสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) และแผนเผชญิ เหตุ
ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564

ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
วนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2564 โรงเรยี นบ้านยา่ นอุดม
สังกดั สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี

------------------------------------------------

ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานโรงเรียน

1.ชือ่ สถานศึกษา: โรงเรยี นบา้ นย่านอุดม

ทอ่ี ยู่: เลขที่ 179 หม่ทู ี่ 7 ตำบลลำทบั อำเภอลำทบั จังหวัดกระบี่

รหัสไปรษณยี ์ ๘1190 โทรศพั ท์: 086-2773571 E-Mail:

2.ชอ่ื ผู้บรหิ าร นายฐาปกร วงั บวั โทรศพั ท์ 086-2773571
E–mail : -

3.ข้อมูลนักเรยี น เปิดสอนระดบั ชนั้ อนุบาลปีที่ 3 ถึงระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3จำนวนนกั เรียน

235 คน ( ข้อมลู 25 มิถุนายน 2564 ) ห้องเรียน จำนวน ...10.... ห้อง อาคารเรียน จำนวน ....3... หลงั

ช้ัน/เพศ ชาย หญิง รวม ห้องเรยี น

อบ.1 - - - -

อบ.2 - - - -

อบ.3 17 12 29 1

รวม อนุบาล 17 12 29 1

ป.1 13 11 24 1

ป.2 7 11 18 1

ป.3 15 14 29 1

ป.4 15 11 26 1

ป.5 7 14 21 1

ป.6 12 18 30 1

รวมประถม 69 79 148 6

ม.1 13 8 21 1

ม.2 7 10 17 1

ม.3 6 14 20 1

รวมมัธยม 26 32 20 3

รวมทัง้ หมด 112 123 235 -

4. การจดั การเรยี นการสอนปกติ  ใช้ DLTV  ไม่ใช้ DLTV
5. ครูและบุคลากรจำนวน .....16.... คน

6. ขอ้ มูลผลการประเมินประเมนิ เตรียมความพร้อม ๓

บุคลากร ผบู้ รหิ าร ข้าราชการ พนกั งาน ครอู ัตราจา้ ง เจ้าหนา้ ที่ รวมท้ังหมด
ครู ราชการ 2 อื่นๆ 16

จำนวน 1 12 1 -

เสน้ ทางการนำส่งนักเรียนไปโรงพยาบาลลำทับเมื่อมีเหตุฉุกเฉนิ
ระยะทางจากโรงเรยี นบ้านย่านอดุ ม ถงึ โรงพยาบาลลำทับ
เปน็ ระยะทาง 6.7 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ 8 นาที
โทรด่วนฉุกเฉิน 1669



สว่ นท่ี 2 ข้อมูลการวางแผนการเปิดเรียน โรงเรียนมีการวางแผนการเปิดเรียนดังนี้

แผนการเปิดเรียน ON Site ของโรงเรียนบา้ นยา่ นอดุ ม
โรงเรียนบ้านยา่ นอุดม รูปแบบ On-Site การจัดการเรียนการสอนแบบปกติทีโ่ รงเรียน มาโรงเรียนทกุ

ระดบั ชั้น หอ้ งเรยี นท่ีมีนักเรียนไม่เกิน ๒๐ คน จัดทีน่ ัง่ ในหอ้ งเรียนเวน้ ระยะห่าง ไดแ้ กน่ กั เรยี น ชัน้ ป.2,ม.2,ม.
3, หอ้ งเรียนทม่ี ีนักเรยี น ตัง้ แต่ ๒๑ –๒๕ คน จัดท่นี ่ังในหอ้ งเรยี น เว้นระยะหา่ ง จำนวน ๒๐ คน ส่วนนักเรียนท่ี
เหลือ จัดที่นั่งหน้าห้อง ได้แก่ นักเรียน ชั้น ป.๑, ป.5, ม.1 (สลับนักเรียนออกมานั่งเรียนหน้าห้องเรียนแต่ละ
วัน) ห้องเรียนท่ีมีนักเรียน ๒๖ คน ข้นึ ไป แบ่งเปน็ ๒ กลุม่ กล่มุ ที่ ๑ เรียนกับครูผสู้ อน อีกกลุ่ม เรยี นทาง DLTV
และ ครูท่ีวา่ งจากการสอนเขา้ ไปดแู ลนักเรยี น ได้แก่ ชั้น อ.3,ป.3 , ป.4 และ ป.๖ (สลับกล่มุ นักเรยี น)

สว่ นที่ 3 มาตรการป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19)

โรงเรยี นบ้านยา่ นดุ ม ไดก้ ำหนดมาตรการความปลอดภยั โรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ( โควดิ – 19)
6 มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด ไว้ดังน้ี

๖ มาตรการหลกั (DMHT-RC)
โดยขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง ครู และนกั เรยี น ปฏบิ ตั ิตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข
ภายใต้ 6 มาตรการหลกั ได้แก่
1. เวน้ ระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร (Distancing)
2. สวมหนา้ กากตลอดเวลาท่ีอย่ใู นสถานศกึ ษา (Mask Wearing)
3. ล้างมือด้วยสบูแ่ ละน้ำนาน 20 วนิ าที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
4. คัดกรองวดั ไข้ สงั เกตอาการ ซกั ประวัตผิ ้สู มั ผัสเสย่ี งทุกคนก่อนเขา้ สถานศึกษา (Testing)
5. ลดการแออัด ลดเข้าไปในพน้ื ทเี่ ส่ยี ง กลมุ่ คนจำนวนมาก (Reducing)
6. ทำความสะอาด บรเิ วณพ้ืนผวิ สัมผัสร่วม อาทิ ที่จบั ประตู ลูกบิดประตู ราวบันได เปน็ ต้น
(Cleaning)

๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ)
1. ดูแลตนเองปฏบิ ตั ิตามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด (Self-care)
2. ใชช้ อ้ นกลางสว่ นตัวเม่ือตอ้ งกนิ อาหารรว่ มกัน (Spoon)
3. กินอาหารปรงุ สุกใหม่ กรณีอาหารเก็บเกนิ 2 ช่วั โมง ควรนำมาอุ่นใหร้ ้อนท่ัวถึงกอ่ นกินอีกคร้ัง
(Eating)
4. ไทยชนะ ลงทะเบยี นตามที่รัฐกำหนด ดว้ ยแอปพลิเคชนั ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบนั ทึกการเข้า-
ออกอย่างชดั เจน (Thai chana)
5. สำรวจตรวจสอบ บคุ คล นักเรียน และกลุ่มเสีย่ งท่ีเดินทางมาจากพื้นท่เี ส่ียงเพ่ือเขา้ สู่กระบวนการ
คดั กรอง (Check)
6. กกั กันตัวเอง 14 วัน เมื่อเขา้ ไปสมั ผัสหรืออยใู่ นพนื้ ทเ่ี ส่ียงท่ีมกี ารระบาดโรค (Quarantine)

7. มาตรการเขม้ งวด
๑. สถานศึกษาผ่านการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมนิ ผลผา่ น MOE Covid



2. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียน
ในห้องเรยี นขนาดปกติ (๖ x ๘) ไมเ่ กนิ ๒๕ คน หรอื จดั ใหเ้ ว้นระยะห่างระหวา่ งนกั เรียนในห้องไมน่ ้อยกวา่ ๑.๕
เมตร
พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั

3. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบ
อาหารหรือ การสง่ั ซ้ืออาหารตามระบบนำสง่ อาหาร (Delivery) ท่ถี กู สุขลกั ษณะและ ต้องมรี ะบบตรวจสอบทาง
โภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค ตามหลกั สุขาภบิ าล อาหารและหลักโภชนาการ

๔. จดั การด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบตั ิดา้ นอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด
๑๙ ในสถานศึกษาได้แก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคุณภาพน้ำดื่มและการจัดการ
ขยะ

๕. ให้นักเรียนที่มีความเสี่ยงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผน
เผชิญเหตุ รองรับการดูแลรักษาเบื้องต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเช้ือ
โรคโควดิ ๑๙ หรือผล ATK เป็นบวกโดยมกี ารซักซอ้ มอย่างเครง่ ครัด

๖. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลีกเลยี่ งการเขา้ ไปสมั ผสั ในพื้นทต่ี า่ ง ๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง

๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรบั นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษาซึ่งประกอบดว้ ยข้อมลู ผล
การประเมนิ TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วัน และประวัตกิ ารรับวัคซนี ตามมาตรการ



แผนเผชญิ เหตุ

โรงเรียนบ้านย่านอุดม ได้จัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด
สม่ำเสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ รวมทั้งการ
สรา้ งการรับรู้ขา่ วสารภายใน การคดั กรองเพือ่ แบง่ กลุ่มนกั เรยี น ครแู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา ดังน้ี

ระดับการระบาด มาตรการป้องกัน

ในชมุ ชน ในสถานศึกษา คร/ู นกั เรยี น สถานศึกษา

ไมม่ ผี ู้ตดิ ไมพ่ บผู้ติดเชอ้ื ๑. ปฏบิ ัติตาม ๑. เปดิ เรยี น Onsite
เชื้อ ยนื ยนั มาตรการ DMHTT ๒. ปฏิบัตติ าม TST
๒. ประเมิน TST เป็นประจำ ๓. เฝา้ ระวงั คัดกรอง
มีผตู้ ดิ ไมพ่ บผู้ตดิ เชอ้ื
เชอ้ื ยนื ยนั ๑. ปฏบิ ัติตาม ๑. เปิดเรียน Onsite
ประปราย มาตรการ DMHTT ๒. ปฏิบัติเขม้ ตามมาตรการ TST Plus
๒. ประเมนิ TST ทุกวนั ๓. เฝา้ ระวงั คัดกรอง
พบผ้ตู ิดเชอื้
ยืนยนั ใน ๑.ปฏบิ ัติเข้มตามมาตรการ ๑. ปดิ ห้องเรียนทพ่ี บผตู้ ิดเชื้อ ๓ วนั
ห้องเรยี น ๑ DMHTT * เนน้ ใสห่ นา้ กาก * เพอ่ื ทำความสะอาด
รายข้นึ ไป เวน้ ระยะหา่ งระหว่าง บุคคล ๒. เปิดห้องเรียนอน่ื ๆ Onsite ได้
๑ - ๒ ม. ตามปกติ
๒. ประเมิน TST ทุกวนั ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง
๓. ระบายอากาศทุก ๒ Sentinel Surveillance ทกุ ๒
ช่ัวโมง กรณีใช้ ครง้ั /สปั ดาห์
เครือ่ งปรบั อากาศ ๔. ปฏิบัติเข้มตามมาตรการ TST Plus

๔. กรณี High Risk
Contact : งดเรียน
Onsite และกักตวั ท่ี
บ้าน ๑๔ วัน



ระดบั การระบาด มาตรการป้องกัน

ใน ใน คร/ู นกั เรยี น สถานศกึ ษา
ชมุ ชน สถานศกึ ษา

๕. กรณี Low Risk Contact : ๕. ปิดหอ้ งเรยี นทพี่ บผตู้ ดิ เช้ือ ๓ วัน
เพ่ือทำความสะอาดหรอื มากกว่าตาม
ใหส้ ังเกตอาการของตนเอง และ ขอ้ สง่ั การของ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ปฏิบัติ ตามมาตรการของกระทรวง
สาธารณสุข ๖. ปฏบิ ตั ิเข้มตามมาตรการ TST
Plus

มผี ูต้ ิด ๑. ปฏิบัตเิ ขม้ ตามมาตรการ ๑. พิจารณาการเปิดเรยี น Onsite

เช้ือ DMHTT * เน้นใสห่ นา้ กาก *เวน้ โดยเขม้ มาตรการทุกมติ ิ

เป็น ระยะห่างระหวา่ ง บคุ คล ๑-๒ ม. ๒. สำหรับพน้ื ทีร่ ะบาดแบบ กลุ่มก้อน
๒. ประเมนิ TST ทุกวนั พจิ ารณาปิดโดย คณะกรรมการควบคมุ
กลมุ่
การแพร่ ระบาดระดับพนื้ ท่ี หากมี
ก้อน ๓. ระบายอากาศทุก ๒ ช่วั โมง
หลักฐานและความจำเป็น
กรณี ใชเ้ คร่ืองปรับอากาศ
๓. ส่มุ ตรวจเฝ้าระวัง
๔. กรณี High Risk Contact :
Sentinel Surveillance ทกุ ๒ สปั ดาห์
งดเรียน Onsite และกักตัวที่

บา้ น ๑๔ วัน ๕. กรณี Low

Risk Contact : ให้สังเกต

อาการของตนเอง

มกี าร ๑. ปฏบิ ตั เิ ข้มตามมาตรการ ๑. พจิ ารณาการเปิดเรียน Onsite โดย

แพร่ DMHTT เขม้ ตามมาตรการทุกมิติ

ระบาด ๒. เฝา้ ระวังอาการเส่ยี งทุกวนั ๒. สำหรบั พ้ืนท่ีระบาดแบบ กลมุ่ กอ้ น

ใน Self Quarantine พิจารณาปิดโดย คณะกรรมการควบคุม

ชมุ ชน ๓. ประเมนิ TST ทุกวนั การแพร่ ระบาดระดบั พืน้ ท่ี หากมี

หลักฐานและความจำเปน็

๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวัง

Sentinel Surveillance ทกุ ๒ สปั ดาห์



แนวปฏบิ ัติการเตรียมการกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น

โรงเรียนบ้านย่านอุดม ตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมการก่อนการเปิดเรียน เนื่องจากมีความ
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มี
การติดเชอื้ โรคโควดิ ๑๙ (Covid-19) ตดั ความเส่ียง สร้างภมู คิ มุ้ กัน และสรา้ งความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียน
บ้านยา่ นอดุ ม จึงกำหนดแนวปฏิบตั ิการเตรียมการก่อนเปดิ ภาคเรยี น ใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติ ดังนี้

๑. การประเมนิ ความพร้อมก่อนเปิดเรียน
โรงเรียนบ้านย่านอุดม ดำเนินการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ตาม
ลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ประกอบด้วย ๖ มิติ ๔๔ ข้อ สถานศึกษา
จะตอ้ งผ่านการประเมินทง้ั ๔๔ ข้อ (สีเขยี ว)
๒. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ต่อที่ประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพอื่ ขอความเหน็ ชอบในการเปดิ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 แบบ
Onsite ในวันที่ 22 ตุลาคม 2564
3. เสนอเอกสารการประเมินตนเองและความเหน็ ของการเปดิ เรียนของคณะกรรรมการสถานศึกษาข้ัน
พื้นฐาน และเอกสารข้อมูลจำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา และจำนวนนักเรียนที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไปที่
ประสงคร์ ับการฉัดวคั ซีน เสนอตอ่ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา ภายในวนั ท่ี 25 ตลุ าคม 2564 เพ่ือขออนุญาต
ต่อคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพิจารณาอนุมตั ิการเปิดเรยี นในวันท่ี 1 พฤศจกิ ายน 2564
4. รณรงค์ครแู ละบุคลากรในสถานศึกษารับการฉีดวคั ซีน ร้อยละ 85 ข้ึนไป รวมทง้ั ผปู้ กครองนักเรยี น
ไดร้ ับการฉีดวคั ซีนให้มากทีส่ ุดกอ่ นเปดิ ภาคเรียน
5. ครแู ละบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องไดร้ ับการตรวจ ATK 100%
๖. เตรียมความพร้อม อาคารสถานท่ี ความสะอาดบริเวณของสถานศึกษาใหม้ คี วามพร้อมในการเปิด
ภาคเรยี น รวมทงั้ สื่อเทคโนโลยตี ่างๆ ใหพ้ ร้อมในการจัดการเรยี นการสอน

สัปดาห์ที่ 1 เรม่ิ เปดิ เรียน วันท่ี 1 – 5 พฤศจิกายน 2564
มาตรการป้องกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุง่ การจดั กิจกรรมใหก้ ับผเู้ รยี นที่เน้นใหน้ ักเรียนมีความสขุ กบั การมาโรงเรยี น ผู้ปกครอง

เกดิ ความเชื่อมน่ั ในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเปน็ สำคัญ ยงั ไม่เน้นวิชาการมากเกนิ ไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรยี น เพ่ือช่วยคัดกรอง
และให้คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตโู รงเรียน และนกั เรยี น กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามยั 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภมู ิรา่ งกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสูภ่ ายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภมู สิ ูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทย์ทันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรยี น นักเรียนเว้นระยะหา่ งกนั 1-2 เมตร

5. การพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั



- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในหอ้ งเรยี นตนเอง)

- ประถมศกึ ษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รบั ประทานอาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมีจดุ บรกิ ารสำหรับลา้ งมือก่อนเข้าห้องเรียน นักเรยี นนงั่ รบั ประทานอาหารห่างกนั 1-2 เมตร และ
มกี ารทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรับประทานอาหารทุกคร้งั
6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ สำหรับนักเรยี นในกรณีฉุกเฉินให้ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนกั เรยี นเปน็ สำคัญ
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกับ อสม. และ โรงพยาบาลลำทบั
8. หากในชุมชนมนี กั เรยี นหรือมผี ตู้ ิดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ใหห้ ยดุ ทำการจดั การเรยี นการสอน และ
ทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรียน โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทบั เพอ่ื เฝ้าระวงั ความปลอดภัย
เป็นระยะ

สปั ดาหท์ ่ี 2 วันท่ี 8 – 12 พฤศจกิ ายน 2564
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์
สถานศึกษามุง่ การจดั กิจกรรมใหก้ ับผู้เรียนที่เน้นใหน้ กั เรียนมคี วามสุขกับการมาโรงเรยี น ผปู้ กครอง

เกดิ ความเช่ือมัน่ ในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยงั ไมเ่ นน้ วิชาการมากเกนิ ไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กบั โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าที่อสม. มาประจำทีจ่ ดุ คดั กรองหน้าโรงเรียน เพ่อื ช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตโู รงเรยี น และนักเรยี น กอ่ นเขา้ บรเิ วณโรงเรียน

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามยั 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภมู ิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมือบรเิ วณโรงอาหาร เปน็ ต้น

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสูภ่ ายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอื่ ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ นั ที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรยี นเวน้ ระยะห่างกนั 1-2 เมตร

5. การพักรับประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รบั ประทานอาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมีจุดบรกิ ารสำหรับล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน นักเรียนน่งั รับประทานอาหารห่างกัน 1-2 เมตร และ
มีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกครัง้
6. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องตน้ สำหรบั นักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนกั เรียนเปน็ สำคัญ

๑๐

7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ โรงพยาบาลลำทับ

8. หากในชมุ ชนมีนกั เรียนหรือมีผตู้ ิดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 ให้หยดุ ทำการจดั การเรียนการสอน และ
ทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรียน โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทับ เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัย
เป็นระยะ

สัปดาห์ท่ี 3 วันท่ี 15 – 19 พฤศจิกายน 2564
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์
สถานศกึ ษามงุ่ การจัดกจิ กรรมใหก้ บั ผเู้ รยี นท่ีเนน้ ใหน้ ักเรยี นมคี วามสขุ กับการมาโรงเรยี น ผู้ปกครอง

เกิดความเช่ือม่นั ในความปลอดภัยของสถานศึกษาเปน็ สำคัญ ยงั ไมเ่ นน้ วชิ าการมากเกินไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กบั โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าที่อสม. มาประจำทจี่ ดุ คัดกรองหน้าโรงเรียน เพอื่ ช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหนา้ ประตโู รงเรียน และนักเรียน ก่อนเข้าบริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ลา้ งมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อณุ หภมู สิ ูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ นั ที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นกั เรยี นเวน้ ระยะหา่ งกัน 1-2 เมตร

5. การพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในห้องเรียนตนเอง)
- ประถมศกึ ษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รบั ประทานอาหารในห้องเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมจี ุดบริการสำหรับลา้ งมือก่อนเข้าห้องเรียน นกั เรียนนั่งรับประทานอาหารห่างกนั 1-2 เมตร และ
มีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกครง้ั
6. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบื้องตน้ สำหรบั นักเรยี นในกรณีฉุกเฉินให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรียนเปน็ สำคัญ
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ โรงพยาบาลลำทับ
8. หากในชุมชนมนี ักเรยี นหรือมีผ้ตู ิดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 ให้หยุดทำการจัดการเรยี นการสอน และ
ทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทบั เพอื่ เฝ้าระวงั ความปลอดภัย
เป็นระยะ

สปั ดาห์ที่ 4 วันที่ 22 – 26 พฤศจกิ ายน 2564
มาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์
สถานศกึ ษามงุ่ การจดั กิจกรรมใหก้ บั ผู้เรียนทเี่ น้นใหน้ ักเรยี นมคี วามสขุ กบั การมาโรงเรยี น ผปู้ กครอง

เกดิ ความเช่ือมั่นในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญ ยงั ไมเ่ น้นวชิ าการมากเกินไป

๑๑

1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทกุ วัน โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำที่จดุ คัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตโู รงเรยี น และนักเรียน กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภมู ิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ลา้ งมือบริเวณโรงอาหาร เป็นต้น

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสูภ่ ายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทย์ทันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรียนเวน้ ระยะหา่ งกนั 1-2 เมตร

5. การพักรบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- ประถมศกึ ษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมีจุดบรกิ ารสำหรับล้างมือก่อนเข้าห้องเรยี น นกั เรียนนั่งรับประทานอาหารห่างกนั 1-2 เมตร และ
มีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครั้ง
6. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ สำหรับนักเรยี นในกรณีฉุกเฉินให้ทนั ต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรยี นเป็นสำคัญ
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และ โรงพยาบาลลำทบั
8. หากในชมุ ชนมนี กั เรยี นหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใหห้ ยุดทำการจัดการเรยี นการสอน และ
ทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทบั เพ่อื เฝ้าระวังความปลอดภัย
เป็นระยะ

เดอื นธนั วาคม 2564
มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขสถานการณ์

สถานศึกษามุ่งการจดั กจิ กรรมให้กับผเู้ รียนที่เน้นใหน้ ักเรียนมคี วามสุขกบั การมาโรงเรยี น ผปู้ กครอง
เกิดความเชื่อมัน่ ในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเปน็ สำคัญ ยงั ไม่เนน้ วิชาการมากเกินไป

1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน
กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าที่อสม. มาประจำท่จี ดุ คดั กรองหน้าโรงเรียน เพอื่ ช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตโู รงเรียน และนักเรียน ก่อนเข้าบริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสูภ่ ายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อณุ หภมู ิสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่ือยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ ันที

๑๒

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นกั เรยี นเวน้ ระยะหา่ งกัน 1-2 เมตร

5. การพักรับประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในห้องเรยี นตนเอง)
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รบั ประทานอาหารในห้องเรยี นตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมจี ดุ บริการสำหรับลา้ งมือก่อนเข้าห้องเรยี น นกั เรยี นนัง่ รับประทานอาหารหา่ งกนั 1-2 เมตร และ
มกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครัง้
6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ สำหรบั นักเรยี นในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรียนเปน็ สำคัญ
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกบั อสม. และ โรงพยาบาลลำทับ
8. หากในชุมชนมีนักเรยี นหรือมผี ้ตู ิดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ใหห้ ยดุ ทำการจดั การเรียนการสอน และ
ทำความสะอาดบริเวณโรงเรยี น โดยมกี ารติดตอ่ ประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทับ เพ่อื เฝา้ ระวงั ความปลอดภัย
เปน็ ระยะ

เดอื นมกราคม 2565
มาตรการป้องกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุง่ การจดั กิจกรรมให้กบั ผเู้ รียนที่เนน้ ให้นักเรยี นมีความสขุ กับการมาโรงเรยี น ผปู้ กครอง

เกดิ ความเชื่อมน่ั ในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยงั ไม่เนน้ วิชาการมากเกนิ ไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กบั โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำท่ีจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพ่ือช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตโู รงเรียน และนักเรียน กอ่ นเขา้ บริเวณโรงเรียน

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามยั 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมอื บรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อณุ หภูมิสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ ันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรยี น นกั เรยี นเวน้ ระยะห่างกนั 1-2 เมตร

5. การพกั รับประทานอาหารกลางวัน
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในห้องเรยี นตนเอง)
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รบั ประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รบั ประทานอาหารในห้องเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมจี ดุ บรกิ ารสำหรับล้างมือก่อนเข้าห้องเรยี น นกั เรียนนง่ั รบั ประทานอาหารห่างกัน 1-2 เมตร และ
มีการทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง

๑๓

6. ดแู ลและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสำหรบั นักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรยี นเป็นสำคญั

7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกับ อสม. และ โรงพยาบาลลำทบั

8. หากในชมุ ชนมีนักเรียนหรอื มีผ้ตู ิดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ให้หยุดทำการจดั การเรยี นการสอน และ
ทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี น โดยมีการติดต่อประสานงานกบั โรงพยาบาลลำทับ เพือ่ เฝา้ ระวงั ความปลอดภัย
เป็นระยะ

เดือนกุมภาพันธ์ 2565
มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขสถานการณ์
สถานศกึ ษามุง่ การจัดกิจกรรมใหก้ บั ผเู้ รยี นท่ีเน้นให้นักเรียนมคี วามสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครอง

เกิดความเชื่อมั่นในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเป็นสำคัญ ยังไม่เน้นวิชาการมากเกินไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำทจี่ ุดคดั กรองหน้าโรงเรียน เพือ่ ช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตูโรงเรียน และนักเรียน กอ่ นเขา้ บรเิ วณโรงเรียน

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภมู ิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมือบรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสูภ่ ายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมสิ งู กว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ ันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรียน นักเรยี นเว้นระยะห่างกนั 1-2 เมตร

5. การพกั รบั ประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในหอ้ งเรยี นตนเอง)
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมีจดุ บรกิ ารสำหรับล้างมือก่อนเข้าห้องเรียน นักเรียนน่งั รบั ประทานอาหารห่างกัน 1-2 เมตร และ
มีการทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลงั รบั ประทานอาหารทุกครัง้
6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ สำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตกุ ารณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรยี นเป็นสำคญั
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารติดต่อประสานงานกับ อสม. และ โรงพยาบาลลำทบั
8. หากในชมุ ชนมนี ักเรียนหรือมีผตู้ ิดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 ใหห้ ยุดทำการจดั การเรยี นการสอน และ
ทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี น โดยมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกบั โรงพยาบาลลำทบั เพอ่ื เฝ้าระวังความปลอดภัย
เปน็ ระยะ

๑๔

เดอื นมีนาคม 2565
มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามงุ่ การจัดกิจกรรมให้กบั ผูเ้ รียนทเี่ นน้ ให้นักเรยี นมคี วามสุขกบั การมาโรงเรียน ผูป้ กครอง

เกดิ ความเช่ือมนั่ ในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเป็นสำคัญ ยงั ไมเ่ น้นวิชาการมากเกินไป
1. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงาน

กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและเจ้าหน้าท่ีอสม. มาประจำที่จุดคดั กรองหน้าโรงเรยี น เพื่อช่วยคัดกรอง
และใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรยี น และนกั เรียน ก่อนเข้าบริเวณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ลา้ งมือบรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

3. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนเข้าสู่ภายในบรเิ วณโรงเรียน หากมี
อณุ หภูมิสงู กว่า 37.5 องศาเซลเซียสและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยุดเรียน
และไปพบแพทยท์ ันที

4. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ
ภายในโรงเรยี น นกั เรียนเว้นระยะห่างกนั 1-2 เมตร

5. การพักรับประทานอาหารกลางวนั
- ปฐมวัย แยกรับประทานอาหารที่อาคารปฐมวัย รับประทานอาหารเวลา 11.00 น. (รับประทาน
อาหารในหอ้ งเรยี นตนเอง)
- ประถมศึกษา (ป.1-6) รบั ประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในหอ้ งเรียนตนเอง)
- มัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รับประทานอาหารเวลา 11.30 น.(รับประทานอาหารในห้องเรียน
ตนเอง)
โดยมจี ุดบรกิ ารสำหรับล้างมือก่อนเข้าห้องเรยี น นกั เรียนนง่ั รับประทานอาหารหา่ งกัน 1-2 เมตร และ
มกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทุกครงั้
6. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ สำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรียนเปน็ สำคญั
7.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ โรงพยาบาลลำทบั
8. หากในชมุ ชนมนี กั เรียนหรือมผี ู้ติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ใหห้ ยดุ ทำการจัดการเรียนการสอน และ
ทำความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทบั เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัย
เปน็ ระยะ

๑๕

สว่ นท่ี 4 การวางแผนการทำงานรว่ มกนั หนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวข้อง

1. ในสถานการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โรงเรียนบ้านย่านอุดม ประสานกับ
โรงพยาบาลลำทับและเจ้าหน้าที่ อสม. เพื่อมาประจำที่จุดคัดกรองหน้าโรงเรียน เพื่อช่วยคัดกรองและให้
คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรยี น และนกั เรียน กอ่ นเขา้ บรเิ วณโรงเรยี น

2. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย 100% มีจุดตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบริการ
เจลแอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่าง
ล้างมือบรเิ วณโรงอาหาร เป็นต้น

3. หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ต่อประสานงานกบั อสม. และ โรงพยาบาลลำทับ

4. หากในชุมชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน และ
ทำความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี น โดยมีการติดตอ่ ประสานงานกับ โรงพยาบาลลำทบั เพ่อื เฝ้าระวังความปลอดภัย
เป็นระยะ

ส่วนที่ 5 ในกรณที ไี่ มส่ ามารถเปดิ การเรยี นการสอน แบบ Onsite ได้ โรงเรียนมีการวาง
แผนการจดั การเรยี นการสอน ดงั น้ี

โรงเรยี นบ้านย่านอดุ ม ประสานงานกบั ชุมชน ผใู้ หญบ่ า้ น กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดยแจ้ง
ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นเพจขา่ วสารโรงเรยี นบ้านยา่ นอุดม คณะครทู ีอ่ อกเยย่ี มบ้านและครูท่ีอาศยั ในชมุ ชนในการ
ประสานงาน ด้านการจดั การเรียนการสอนแบบ On Hand On Demand และ On Line การรบั -ส่งเอกสาร
ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัดในการจดั การเรียนการสอน โดยครปู ระจำชน้ั /ประจำวชิ า กำกบั ติดตาม 1
สปั ดาห/์ ครั้ง

ปฐมวัย (อ.3)
ครูระดบั ปฐมวัย จดั กจิ กรรมการเรียนรู้โดยการนำเอกสารสง่ ที่บา้ น (On - hand) On Demand และ
On Line โดยใหค้ รอู อกเย่ยี มบ้านพร้อม รบั -สง่ ใบงาน/แฟม้ สะสมผลงาน ของนักเรยี น โดยกำกับติดตาม 1
สปั ดาห/์ ครง้ั โดยประสานงานกับผปู้ กครอง แนะนำ สนับสนนุ ในการกำกับ ติดตาม นักเรียนรายบคุ คล
วดั และประเมนิ ผล โดยใช้วิธีท่หี ลากหลายในการประเมนิ นักเรยี นรายบคุ คล ตามสภาพจริง และมีการ
ออกเยีย่ มบ้านและติดตามประสานงานกับผปู้ กครองสำหรับนกั เรียนที่ไมเ่ ข้าใจในบทเรยี น
ประถมศึกษา (ป.1-6)
ครรู ะดับประถมศกึ ษาตอนตน้ จดั กิจกรรมการเรยี นรู้โดยการนำเอกสารสง่ ทบ่ี า้ น (On - hand) On
Demand และ On Line โดยใหค้ รอู อกเยย่ี มบ้านพรอ้ ม รับ-สง่ ใบงาน/แฟ้มสะสมผลงาน ของนักเรยี น โดย
กำกบั ติดตาม 1 สัปดาห์/ครัง้ โดยประสานงานกับผ้ปู กครอง แนะนำ สนบั สนนุ ในการกำกับ ติดตาม นักเรยี น
รายบุคคล
วดั และประเมนิ ผล โดยใชว้ ิธที ี่หลากหลายในการประเมนิ นักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจรงิ และมีการ
ออกเยย่ี มบ้านและติดตามประสานงานกับผปู้ กครองสำหรับนักเรียนทไ่ี มเ่ ขา้ ใจในบทเรยี น
มัธยมศกึ ษา (ม.1-3)
ระดบั มัธยมศึกษา ม.1-3 จัดกิจกรรมด้านการจัดการเรยี นการสอนแบบ On Hand On Demand และ
On Line มีการรบั -ส่งเอกสารในการจัดการเรียนการสอน โดยกำกับติดตาม 1 สัปดาห์/คร้งั เพือ่ การกำกับ
ตดิ ตาม นักเรยี นรายบคุ คล อีกท้ังแนะนำในการทำใบงานก่อนการเรียน On Hand On Demand และOn Line
หากนกั เรียนคนใดไมส่ ามารถทีจ่ ะเรยี น On Demand และ On Line ได้ กส็ ามารถทำความเข้าใจจากใบงาน On
Hand ได้ และสามารถการนัดหมายพบปะในคร้งั ต่อไป

๑๖

ครปู ระจำช้นั /ประจำวชิ า กำกบั ตดิ ตาม วัดและประเมินผล โดยใช้วธิ ีทห่ี ลากหลายในการประเมิน
นักเรียนรายบุคคลตามสภาพจรงิ และมีการออกเย่ยี มบา้ นและตดิ ตามประสานงานกบั ผู้ปกครองสำหรับนกั เรียน
ท่ีไม่เขา้ เรียน On Demand และนักเรียนที่มารับใบงานไม่ไดเ้ น่ืองจากอยูห่ ่างไกล

สว่ นท่ี ๖ บทบาทของผู้เกย่ี วข้อง

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ยังคงมีการแพร่
ระบาด อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สถานศึกษามีแนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนบ้านย่านอุดม ไดก้ ำหนดบทบาทของบคุ ลากรและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ดงั น้ี

๑. บทบาทของนักเรียน
นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเรื่องความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งน้ี
นักเรียน จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ
อย่าง เคร่งครัด ตั้งแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของ
นักเรียน ควรมีดังนี้
๑) เตรียมความพร้อมในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครื่องใช้ส่วนตัว และอื่น ๆ ที่จำเป็นสำหรับการเรียน
การสอน
๒) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด ของสถานศึกษากำหนด
อย่างเคร่งครดั
๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรค ติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ข้อมูลทีเ่ ช่อื ถือได้
๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชั่น Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และ
สังเกต อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ลิ่น ไม่รู้รส
รีบแจ้ง ครูหรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง และอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่
สาธารณสุข อย่างเครง่ ครัด
๕) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเมื่อพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เครื่องใช้
ส่วนตัว หรอื พบความผดิ ปกตขิ องรา่ งกายท่ีอาจเสย่ี งต่อการติดเชือ้ ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) ทันที

๒. บทบาทของครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้น ซึ่งถืออยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าที่สำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่
นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการ
สอน นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการท่ี
กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ควรมีดงั นี้

๑๗

๑) ประชมุ ออนไลน์(Online) ช้แี จงผปู้ กครองนักเรยี นเพือ่ สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั ในการปอ้ งกนั การ
เฝ้าระวงั การเตรียมตัวของนักเรยี นให้พรอ้ มกอ่ นเปิดเรยี น

๒) ประเมนิ ความเสี่ยงของตนเองผา่ นแอพพลิเคชนั Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและสังเกต
อาการปว่ ยของตนเอง หากมอี าการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ลิน่ ไม่รู้รส ให้หยุด
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่าง
เครง่ ครัด

๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจาย
ของโรค ตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-19) จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีเช่ือถอื ได้

๔) จัดหาสอ่ื ประชาสัมพันธใ์ นการปอ้ งกนั และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากาก
อนามัย คำแนะนำการปฏิบัติตัว การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาด หลีกเลี่ยงการทำกิจกร รม
ร่วมกนั จำนวนมากเพ่อื ลดจำนวนคน

๕) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวดของสถานศึกษา กำหนด
อยา่ งเครง่ ครดั

๖) คอยดูแล สอดส่องช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมมาตรการที่ กระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด ไดแ้ ก่

(๑) ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนที่เข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครื่องวัด
อุณหภูมิร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บ
คอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติดสัญลักษณ์ สติกเกอร์หรือตราปั๊ม แสดงให้เห็นชัดเจน
วา่ ผา่ นการคัดกรองแลว้

(๒) กรณีพบนักเรียนหรือผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสข้ึน
ไป ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพประจำตำบล หรือเจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสขุ เพื่อตรวจคดั กรองอีกคร้ัง หากพบวา่ ผลตรวจเบ้ืองเป็น
บวกจึง แจ้งผู้ปกครองมารับ จากนั้นแจ้งผู้บรหิ ารหรอื ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และ
มาตรการ ปอ้ งกนั ตามระดบั การแพร่ระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)ของสถานศกึ ษา

(๓) บนั ทึกผลการคัดกรองและส่งตอ่ ประวัติการป่วย ตามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ
ทางเข้า สบูล่ า้ งมือบรเิ วณอ่างล้างมือ
๗) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยง ต่อการ
ติดโรคโควดิ 19 และรายงานต่อผูบ้ ริหารสถานศึกษา
๘) ปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมอื ปฏบิ ัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหาการ
เรยี นรู้ใหมใ่ หถ้ กู ตอ้ ง น่ันคอื “สร้างพฤติกรรมที่พงึ ประสงค”์ หรอื “ลดพฤตกิ รรมท่ีไม่พงึ ประสงค”์

๑๘

๙) สร้างความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับความเครยี ด วา่ เป็นปฏกิ ริ ิยาปกตทิ ่เี กิดขึน้ ได้ในภาวะวิกฤติ ท่ีมีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การ
ฝกึ สติใหก้ ลมกลืนและเหมาะสมกบั นกั เรียนแตล่ ะวยั ร่วมกบั การฝกึ ทักษะชวี ติ ทเ่ี สรมิ สร้างความเขม้ แข็งทาง
ใจ (Resilience) ใหก้ บั นกั เรียน ไดแ้ ก่ ทกั ษะชีวิตดา้ นอารมณ์ สังคม และความคดิ เป็นต้น

๑๐) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก และ
กำกับ ให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เป็นบทบาทสำคัญ
อาจจะ สรา้ งความเครยี ดวิตกกังวลท้ังจากการเฝา้ ระวังนักเรียน และการปอ้ งกันตวั เองจากการสัมผัสกบั เชื้อโรค
ดังนัน้ เมื่อครมู คี วามเครยี ด จากสาเหตุต่างๆ มขี ้อเสนอแนะ ดงั น้ี

(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำให้สอบถาม กับผู้บริหาร
โรงเรยี นหรือเพอ่ื นรว่ มงาน เพ่อื ใหเ้ ข้าใจบทบาทหนา้ ท่แี ละขอ้ ปฏิบัตทิ ี่ตรงกนั

(๒) กรณมี ีความวิตกกังวล กลวั การติดเชอื้ ในโรงเรียน ใหพ้ ดู คุยสอื่ สารถงึ ความไมส่ บาย
ใจ และ
ร้องขอสิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) เช่น สถานที่ สอ่ื การเรยี นการสอน กระบวนการเรยี นรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็น
ต้น หาก ตนเองเป็นกลุ่มเสี่ยง หรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด

(๓) จดั ให้มกี จิ กรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติใหเ้ ปน็ กจิ วัตรก่อนเร่มิ การเรียนการสอน
เพือ่ ลดความวติ กกงั วลต่อสถานการณท์ ีต่ ึงเครียดน้ี

๑๑) กำกับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียนให้เป็นไปตามมาตรการที่
กำหนดและเปน็ ปจั จบุ นั

๓. บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การ
กำกับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์
การรายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพื่อความปลอดภัยของนักเรียน โดยบทบาทของ
ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ควรมี ดงั น้ี
๑) จัดให้มีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู ผู้ปกครอง
นักเรยี น ผู้นำชุมชน และมมี ตใิ ห้ความเหน็ ชอบรว่ มกันในการจัดพ้นื ท่ี และรูปแบบการจดั การเรียนการสอน
๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ในโรงเรียน
๓) แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบด้วย นักเรียน ครู ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ท้องถิ่น ชุมชน และ
ผเู้ กี่ยวขอ้ ง

๑๙

๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid

๕) ทบทวน ปรับปรุง ซักซ้อมปฏบิ ัตติ ามแผนเผชญิ เหตุของโรงเรยี นในภาวะทีม่ ีการระบาด ของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๖) จัดให้มีการสื่อสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู
นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ี
เกีย่ วข้อง จาก แหลง่ ขอ้ มลู ท่เี ชือ่ ถือได้

๗) สนบั สนนุ ให้นกั เรยี น ครูและบคุ ลากรได้รับวัคซนี ครบโดส ต้ังแตร่ ้อยละ 85 ขึ้นไป
๘) สนบั สนุนให้มีการตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครัฐ
๙) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน
Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ ำแนกเขตพน้ื ทีก่ ารแพรร่ ะบาด
๑๐) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม ( Social
Stigma) กรณีพบวา่ มีบุคลากรในโรงเรียน นกั เรยี น หรอื ผปู้ กครองติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry)
ให้แก่ นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า หรือ
หนา้ กากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถงึ เพ่มิ ช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรยี น ผู้ปกครอง
และเจ้าหน้าท่สี าธารณสขุ ในกรณที ่ีพบนกั เรยี นกลุ่มเสีย่ งหรอื สงสัย
๑๒) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่าง
ต่อเนื่อง ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอน
ทางไกล ส่อื ออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ หรอื Social Media เปน็ รายวัน หรือรายสัปดาห์
๑๓) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน
ให้ รีบแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่เพื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาดำเนินการตามแผนเผชิญ
เหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( Covid-19) ของ
สถานศกึ ษา
๑๔) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นม ตามสทิ ธทิ ค่ี วรได้รับ กรณีพบอยู่
ในกลุม่ เสยี่ งหรอื อยใู่ นชว่ งกกั ตัว
๑๕) ควบคมุ กํากับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดาํ เนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่
ระบาดภายในโรงเรยี นอย่างเครง่ ครดั และตอ่ เน่อื ง
๑๖) เยี่ยมบ้าน สร้างขวัญกำลังใจนักเรียน ทั้งนักเรียนที่มาเรียนแบบปกติ และที่ไม่สามารถมาเรียน
แบบปกตไิ ด้

๔. บทบาทของผปู้ กครองนกั เรียน
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลที่มีสำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเอง ในด้าน
สุขอนามัย และการป้องกันความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-

๒๐

19)อย่างเคร่งครัด ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา เกี่ยวกับมาตรการการดูแล
นักเรียน ผู้ปกครอง นักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญร่วมกับครูเพื่อช่วยนักเรียนทั้งในเรื่องการเรียนรู้และการดูแล
ความปลอดภยั ของ นักเรยี น บทบาทของผปู้ กครองนักเรยี น ควรมดี งั น้ี

๑) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) และสร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่ กระจาย
ของโรค ติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งขอ้ มูลที่เช่อื ถอื ได้

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเอง นักเรียน และคนในครอบครัวผ่านแอปพลิเคชัน Thai Save
Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการป่วยของนกั เรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการ
ไข้ ไอ มี น้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอื่ ยหอบ ไมไ่ ดก้ ลิน่ ไม่ร้รู ส ใหร้ ีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไป
เลน่ กับคนอ่นื ใหพ้ กั ผอ่ นอยู่ทบ่ี ้านจนกวา่ จะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุข อย่างเครง่ ครดั

๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรียนอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากาก
ผา้ ช้อน สอ้ ม แก้วน้ำ แปรงสฟี ัน ยาสฟี ัน ผ้าเชด็ หน้า ผ้าเช็ดตัว เปน็ ตน้

๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้
ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเล่นกับ
เพื่อน และเม่อื กลับมาถึงบ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลย่ี นชดุ เสอื้ ผ้าใหม่ทนั ที

๕) ดูแลสขุ ภาพนักเรียน จดั เตรียมอาหารปรงุ สุก ใหม่ ส่งเสริมให้กนิ อาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕
หมู่และผัก ผลไม้ ๕ สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box Set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซื้อจาก
โรงเรยี น (กรณีท่ไี มไ่ ดร้ บั ประทานอาหารเชา้ จากทบ่ี า้ น) เพอ่ื เสรมิ สร้างภูมคิ ้มุ กัน ออกกำลงั กาย อยา่ งนอ้ ย ๖๐
นาที ทกุ วันและนอนหลบั อย่างเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชวั่ โมงตอ่ วนั

๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออัดที่มกี ารรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเปน็ ตอ้ งสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ ๗
ขัน้ ตอน ดว้ ยสบูแ่ ละน้ำนาน ๒๐ วินาที หรอื ใช้เจลแอลกอฮอล์

๗) กรณีนักเรยี นเดินทางมาโรงเรยี น โดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอ่นื ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนตอ้ งขอ
ความรว่ มมอื กบั คนขบั รถใหป้ ฏิบัตติ ามมาตรการของสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครใู นการ ดูแล
จัดการเรยี นการสอนแก่นักเรียน เชน่ การสง่ การบ้าน การร่วมทำกจิ กรรม เป็นตน้

๕. บทบาทขององค์กรสนบั สนุน
๕.๑ สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษา
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เกี่ยวกับการป้องกันตนเอง
การ

ดแู ล สุขอนามยั ของตนเอง และบุคคลในครอบครวั
๒) ประสานงานองค์กรตา่ งๆ ในเขตพืน้ ที่การศึกษาในการช่วยเหลอื สนบั สนนุ โรงเรียน

๒๑

๓) นิเทศ กำกบั ติดตาม โรงเรยี นในสังกัดดา้ นการบริหารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาด ของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๔) กำกับ ติดตาม โรงเรยี นในสังกดั ดา้ นการบรหิ ารข้อมลู สารสนเทศเกยี่ วกบั การได้รบั
วัคซีน ของนกั เรียน ครู ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น และผู้ปกครองนักเรยี นให้ไดร้ ับวัคซีนตามมาตรการทก่ี ำหนด

๕) รายงานผลการดำเนนิ การต่อหน่วยงานตน้ สังกัดใหท้ ราบความเคลอ่ื นไหวอยา่ งต่อเนือ่ ง
สม่ำเสมอ

๖) ประชุม ตรวจเยี่ยมสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภ
เรยี น ท้ังแบบปกติและแบบทางไกล

๕.๒ สำนักงานสาธารณสุข
๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียน

ให้
สอดคลอ้ งตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด

๒) สนับสนนุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชดุ ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อปุ กรณว์ ัด
อุณหภูมิ หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ ฯลฯ

๓) สนบั สนนุ บุคลากรทางการแพทยใ์ นการบริการตรวจคดั กรองความเสีย่ งใหแ้ ก่ นักเรียน
ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา

๔) จัดให้มีช่องทางการส่ือสาร การให้ข้อมลู ข่าวสารท่ีถูกต้อง เป็นปัจจบุ นั ใหก้ บั
สถานศึกษา และ
จดั ระบบสนบั สนุนเม่ือมีนักเรียน ครูหรือบคุ ลากรมีความเส่ียงตอ่ การติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๔) สำรวจ ติดตามสถานการณ์ในพนื้ ทบ่ี รกิ ารอยา่ งตอ่ เน่ือง กรณี พบผ้มู ีอาการเสี่ยงหรือ
ปว่ ย ต้องดำเนินการทันที และรายงานใหส้ ถานศึกษาทราบเพ่อื ดำเนินการตามมาตรการต่อไป

๖) ออกให้บริการตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าที่ อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบล
ตรวจเวรยาม บันทึกตแู้ ดงตามจดุ ท่ีโรงเรยี นกำหนด และอื่น ๆตามความต้องการจำเปน็

๕.๓ องค์กรทางปกครอง
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจให้โรงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมีความรู้ความ

เขา้ ใจ เกี่ยวกบั การป้องกนั ตนเอง การดูแลสุขอนามัยของตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
๒) สนบั สนุน ชว่ ยเหลอื โรงเรยี นในเขตปกครองตามคำสัง่ ของจงั หวัดอยา่ งเครง่ ครัด
๓) กำกับ ติดตามการได้รับวัคซีนของประชาชนในเขตปกครองและมีข้อมูลทางสถิติที่อ้างอิง

เช่อื ถือได้
๔) ใหบ้ ริการตามทส่ี ถานศกึ ษารอ้ งขอตามความต้องการเรง่ ดว่ นและจำเปน็

๕.๔ องคก์ รเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัด

อณุ หภมู ิ หน้ากากอนามัย เจลล้างมือ ฯลฯ
๒) สนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในการนำไปใช้บริหารจัดการภายใต้สถานการณ์

การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๒๒

๓) อำนวยความสะดวกให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉิน จำเป็นในการส่งตัวนักเรียน ครูและ
บุคลากรที่ คาดวา่ จะได้รับเชือ้ หรือเป็นกลุ่มเสย่ี งส่งหนว่ ยงานสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็

๔) สร้างระบบการติดต่อสื่อสารหน่วยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ให้มีความรวดเร็วใน
การ ชว่ ยเหลอื ดแู ล นกั เรียน ครู บุคลากร และผูป้ กครอง ท่ีสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

ส่วนที่ ๗ การตดิ ตามและประเมนิ ผล

การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโร
นา ๒๐๑๙ (Covid-19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดไว้ เพื่อติดตาม ดูแลช่วยเหลือ
หรือแกไ้ ขปญั หา รบั ทราบความกา้ วหน้า ปญั หาอุปสรรคของการดำเนินงาน และข้อเสนอแนะ ดังน้ี

สถานศึกษากำหนดหรอื แตง่ ตงั้ ผูร้ ับผิดชอบดำเนนิ การตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยให้ มี
การติดตามและประเมนิ ผล ดังนี้

๑) การนำแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์ การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานสู่การ
ปฏิบัติ

๒) การประเมินตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการติดตามการ
ประเมนิ ผลผ่าน MOE Covid

๓) การปฏบิ ัติตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ทัง้ ๔ องค์ประกอบ
๔) การปฏิบัตติ าม ๗ มาตรการเข้มของสถานศึกษาระหวา่ งการจดั การเรยี นการสอน
๕) การทำและการปฏบิ ตั ิตามแผนการเผชญิ เหตทุ ก่ี ำหนดไว้

ส่วนท่ี ๘ ข้อเสนอแนะ / ข้อคดิ เห็นอน่ื ๆ

การสนับสนนุ หนา้ กากอนามัย แอลกอฮอล์ และเจลแอลกอฮอลส์ ำหรับล้างมือ สำหรับนักเรยี นท่ขี าด
แคลน เพ่ือใช้ในชว่ งการจัดการเรยี นการสอนแบบ Onsite

ลงชอ่ื
(นางโสภา ชูววิ ฒั น์รตั นกุล)

รกั ษาราชการแทน ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นยา่ นอุดม

๒๓

คำส่งั โรงเรียนบา้ นยา่ นอุดม
ท่ี 65/๒๕๖๔

เรอื่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทำแผนเปดิ เรยี น Onsite ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

ภายใตส้ ถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ โรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

*************************************

ด้วยโรงเรียนบ้านย่านอดุ ม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบ่ี มีกำหนดเปิดภาคเรียนท่ี
๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ในวนั ที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโค
โรนา ๒๐๑๙ (Covid-19 โรงเรียนบ้านย่านอุดม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ซึ่งรับ
นโยบายจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษากระบี่ จึงดำเนินการจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เพื่อสร้าง
ความมั่นใจให้แก่นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า โรงเรียนบ้านย่านอุดม มีแนวทางการสร้างความ
ปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ และระหว่างทีจ่ ัดการเรียนการสอนใน
สถานศกึ ษา ซึ่งสอดคลอ้ งกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกำหนด และเป็นไปตาม
นโยบายต้นสงั กัดทกุ ประการ จึงแตง่ ต้งั บคุ ลากรปฏิบตั หิ นา้ ที่ ดังน้ี

๑. คณะกรรมการอำนวยการ

๑. นายฐาปกร วังบัว ผู้อำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ

๒. นายวชั รินทร์ สุทธเิ กดิ ประธานกรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

3. นางโสภา ชวู วิ ัฒนร์ ตั นกุล ครู กรรมการ

4. นางอรรถกมล สงทอง ครู กรรมการ

5. นางสุพตั รา เปียกบตุ ร ครู กรรมการ

6. นางพฤษารัตน์ เพชรฤทธิ์ ครู กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าทด่ี ังต่อไปนี้

มีหน้าที่ให้คำปรึกษา คำแนะนำในการดำเนินงานจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ให้เกิด
ความเรยี บรอ้ ย

๒. คณะกรรมการดำเนินงาน วงั บัว ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
1.นายฐาปกร อมเี ดน็ ครปู ระจำชั้น อ.3 กรรมการ
2.นางอนสุ รา

3.นางสาวดวงดาว หมวดทอง ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 กรรมการ
4.นางอรรถกมล สงทอง ครปู ระจำช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 กรรมการ
5.นางพฤษารัตน์ เพชรฤทธิ์ ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 กรรมการ

6.นางสาวพลอยไพลนิ ปิน่ เพ็ชร ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 กรรมการ
7.นางสาวสุทธดิ า บวั ทอง ครปู ระจำชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 กรรมการ
8. นางสาววชั รยี ์ ชว่ ยเกดิ ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 กรรมการ

๒๔

9. นายสิทธิชัย ษารักษ์ ครปู ระจำช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 5 กรรมการ
10.นางจนั ทรจ์ ริ า
11.นางสาวอามีรา ศรสี ลับ ครปู ระจำช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 กรรมการ
12.นางโสภา
13.นางลัดดาวรรณ์ นิมะ ครูประจำชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 กรรมการ
14.นางสาวไพรัช
15.นายรชั พล ชวู วิ ัฒนร์ ตั นกุล ครปู ระจำชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 กรรมการ
16.นางสพุ ัตรา
บริสทุ ธิ์ ครูประจำชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 กรรมการ

บญุ เดช ครูผสู้ อน กรรมการ

หอมหวน ครูผ้สู อน กรรมการ

เปยี กบตุ ร ครผู สู้ อน กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ทด่ี งั ต่อไปนี้
มีหน้าที่ดำเนินจัดทำแผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์
การแพร่ระบาดของ โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โรงเรียนบา้ นย่านอุดม ให้เป็นไปตามนโยบาย
ต้นสังกัดและตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุขทุกประการ รวมทั้งติดตาม วัดประเมินผล
การดำเนินงาน ให้เป็นไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และรายงานผลการดำเนนิ งานต่อผ้อู ำนวยการโรงเรยี นรบั ทราบ

ทงั้ นี้ ตงั้ แตบ่ ัดนี้เป็นต้นไป
สง่ั ณ วันที่ 15 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๔

(นางโสภา ชูวิวฒั น์รตั นกุล)
รกั ษาราชการแทน ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นยา่ นอุดม

โรงเรยี นบ้านย่านอดุ ม
อาเภอลาทับ จังหวัดกระบ่ี
สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษากระบ่ี


Click to View FlipBook Version