รายงานผลการคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๕ (ธันวาคม 256๕) โดย นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์ ตำแหน่ง ครู โรงเรียนไพลอำนวยวิทย์อำเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนไพลอำนวยวิทย์อำเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์ ที่ พิเศษ/๒๕๖๕ วันที่ 28 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 256๕ เรื่อง ส่งรายงานผลการทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๕ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนไพลอำนวยวิทย์ สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานผลการทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๕ โรงเรียนไพลอำนวยวิทย์ ได้ดำเนินการทดสอบ ความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-๖ ปีการศึกษา 256๕ เมื่อวันที่ 2๖ กรกฎาคม 256๕ นั้น ข้าพเจ้าได้รับมอบหมายให้ ทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ บัดนี้ ได้ดำเนินการทดสอบ ความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ เรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผลการ ดำเนินการทดสอบความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 256๕ ดังเอกสารที่แนบมานี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ลงชื่อ ............................................. (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) ตำแหน่ง ครูโรงเรียนไพลอำนวยวิทย์
ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ ทราบ ................................................................................................. อื่น ๆ ................................................................................................. ลงชื่อ .................................................... (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ทราบ ................................................................................................. อื่น ๆ ................................................................................................. ลงชื่อ .................................................... (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ผู้อำนวยการโรงเรียนไพลอำนวยวิทย์
คำนำ การศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาประชากรของประเทศให้มีคุณภาพอันนำไปสู่การพัฒนา ประเทศให้มีความเข้มแข็งในทุกด้าน การปูพื้นฐานในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยเฉพาะระดับชั้น ประถมศึกษา จึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงดำเนินการ ประเมินผลสัมฤทธิ์นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ในด้านความสามารถในการอ่านและการเขียน จำนวน 2 ครั้ง คือ ปลายภาคเรียนที่ ๑ และปลายภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินใน ครั้งนี้ ได้แก่ เครื่องมือคัดกรอง“ความสามารถในการอ่านและการเขียน” ข้าพเจ้าได้จัดทำเป็นเอกสารรายงาน ผลจากการประเมินเพื่อใช้เป็นสารสนเทศประกอบการวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับชั้นต่อไปได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการประเมินความสามารถในการอ่านและการเขียนนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ ๕ เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์สำหรับใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนได้อย่าง ต่อเนื่องเพื่อให้การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านการอ่านออกเขียนได้เป็นไปตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานต่อไป นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์ ตำแหน่ง ครูโรงเรียนไพลอำนวยวิทย์
รายงานผลการประเมินความสามารถในการอ่านและการเขียน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 25๖๕ ๑. หลักการและเหตุผล กระทรวงศึกษาธิการเล็งเห็นถึงความสำคัญของการยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมีนโยบายให้ทุก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษาที่มีระบบเพื่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนไปสู่ความเป็น พลเมืองที่สมบูรณ์ สามารถดำรงตนในสังคมอย่างปกติสุข การใช้ภาษาไทย โดยเฉพาะทักษะการอ่านและการเขียน เป็นทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการ เรียนรู้และการพัฒนาชีวิตสู่ความสำเร็จ เพราะจะนำมาซึ่งความรู้และส่งเสริมให้เกิดการคิดวิเคราะห์ มี วิจารณญาณ แยกแยะ และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อชีวิต พร้อมทั้งสามารถถ่ายทอดสื่อสารความรู้ ความคิดให้ผู้อื่นทราบและเข้าใจได้ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ ๒๑ หากผู้เรียนบกพร่องหรือขาด ความสามารถในทักษะดังกล่าวจะส่งผลให้การเรียนรู้ไม่อาจก้าวหน้าได้ และจะประสบความยากลำบากในการ ดำรงชีวิต จึงเป็นหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาที่จะต้องพัฒนาความสามารถในการอ่าน และการเขียน รวมทั้งส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ และการสื่อสารให้แก่ประชาชนตั้งแต่วัยเยาว์ เพื่อให้สามารถ เรียนรู้ในระดับที่ซับซ้อนขึ้นเมื่อเติบใหญ่ และนำไปสู่การเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต ดังนั้นในช่วงระยะเวลา ๙ ปี ของการจัดการศึกษาภาคบังคับและ ๑๒ ปีของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับเด็กและเยาวชน จึงเป็น ช่วงเวลาที่สำคัญต่อการวางรากฐานให้นักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนรู้ให้มั่นคง ซึ่งการรู้หนังสือหรือการ อ่านออกเขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่องและสื่อสารได้นับเป็นพื้นฐานที่สำคัญอันดับแรก ๆ ของการพัฒนาขีด ความสามารถของผู้เรียน ทั้งนี้การพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียน นอกจากครูจะต้องมีความรู้ เข้าใจทักษะและกระบวนการพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียน ทั้งนักเรียนปกติและ นักเรียนที่ต้องได้รับการเอาใจใส่เป็นพิเศษแล้ว ครูยังต้องเข้าใจถึงความแตกต่างของผู้เรียน ทั้งความแตกต่าง ทางสติปัญญาและความแตกต่างทางพื้นฐานของครอบครัวซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ควรคำนึงถึงในการพัฒนา ความสามารถของผู้เรียน ด้วยเหตุนี้ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้รับการพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนภาษาไทยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา จึงได้ดำเนินการสร้างและพัฒนาเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนระดับ การศึกษาขั้นพื้นฐานขึ้น โดยเป็นการประเมินเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ (Formative Assessment) สำหรับเป็น ข้อมูลการอ่านและการเขียนของนักเรียน เพื่อให้ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทางการศึกษานำไปใช้ในการพัฒนา นักเรียนให้เป็นผู้มีความสามารถในการสื่อสารภาษาไทยสำหรับใช้ในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตต่อไป โดย กรอบโครงสร้างของเครื่องมือที่สร้างขึ้นนี้จัดทำขึ้นจากการวิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ใน มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เครื่องมือที่สร้างขึ้นนี้ สร้างโดยศึกษานิเทศก์ที่รับผิดชอบด้านภาษาไทย ครูผู้สอนภาษาไทยที่มีความรู้ และประสบการณ์ในการสอนภาษาไทยและได้รับรางวัลด้านการสอนภาษาไทยและตรวจสอบคุณภาพโดย ผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการสอนภาษาไทยและการวัดและประเมินผลจากสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้คัด กรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 นี้ครูผู้สอนสามารถนำผล ของการคัดกรองไปใช้เป็นข้อมูลในการวินิจฉัยนักเรียนเพื่อพัฒนานักเรียนได้ตรงตามความเป็นจริง 2. จุดประสงค์ของการคัดกรอง 2.1 เพื่อคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 2.2 เพื่อให้ได้ข้อมูลผลการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 สำหรับผู้ที่เกี่ยวข้องนำไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนานักเรียน 3. นิยามศัพท์เฉพาะ การประเมินความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ได้ กำหนดนิยามศัพท์ดังนี้ 3.1 การอ่าน หมายถึง ความสามารถในการอ่านของนักเรียน ดังนี้ 1) การอ่านออกเสียง หมายถึง การอ่านคำ ประโยค หรือข้อความสั้น ๆ ที่เป็นวงคำศัพท์ที่ กำหนดในแต่ละระดับชั้นปี ทั้งที่เป็นคำที่มีความหมายโดยตรงหรือคำที่มีความหมายโดยนัยที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน 2) การอ่านรู้เรื่อง หมายถึง การอ่านคำ ประโยค ข้อความสั้น ๆ หรือเรื่องราวที่เป็นวงคำศัพท์ที่ กำหนดในแต่ละระดับชั้นปี ทั้งที่เป็นคำที่มีความหมายโดยตรงหรือคำที่มีความหมายโดยนัยที่ใช้ใน ชีวิตประจำวัน โดยสามารถบอกข้อคิดที่ได้จากการอ่านร้อยแก้ว ร้อยกรอง สำหรับเด็ก (เป็นข้อความง่าย ๆ) จับใจความจากเรื่องที่อ่าน ตอบคำถามจากเรื่องที่อ่าน บอกความหมายของเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่สำคัญ ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน คาดคะเนจากเรื่องที่อ่าน และสรุปความรู้และข้อคิดจากเรื่องที่อ่านได้อย่าง สมเหตุสมผล 3.2 การเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนคำ ประโยค หรือเรื่องของนักเรียน ดังนี้ 1) การเขียนคำ หมายถึง การเขียนคำที่เป็นวงคำศัพท์ที่กำหนดในแต่ละระดับชั้นปีโดยวิธีการ เขียนคำตามคำบอก 2) การเขียนเรื่อง หมายถึง การเขียนเรื่องสั้น ๆ ตามจินตนาการ 4. ลักษณะของเครื่องมือ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียน ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 5. โครงสร้างเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 1 - 6 เครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 มีรายละเอียดกรอบโครงสร้าง ดังนี้
โครงสร้างของเครื่องมือคัดกรองควา ของนักเรียนชั้นปร สมรรถนะ มาตรฐาน/ตัวชี้วัดตามหลักสูตร ส การอ่าน 1. การอ่านออกเสียง ท 1.1 ป.5/1 อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ได้ถูกต้อง การอ่านออกเสียงแ และบทร้อยกรองที่ - คำที่มีพยัญชนะค - คำที่มีอักษรนำ - คำที่มีตัวการันต์ - อักษรย่อและเครื่อ - ข้อความที่เป็นกา 2. การอ่านรู้เรื่อง ท 1.1 ป.๕/4 แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ท 1.1 ป.๕/5 วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน เพื่อนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต การจับใจความจาก - วรรณคดีในบทเรี - บทความ - บทโฆษณา - งานเขียนประเภท - ข่าวและเหตุการณ 2. การเขียนเรื่อง ท 2.1 ป.5/8 เขียนเรื่องตามจินตนาการ การเขียนเรื่องตามจิ
ามสามารถในการอ่านและการเขียน ระถมศึกษาปีที่ ๕ าระการเรียนรู้แกนกลาง รูปแบบของข้อสอบ จำนวน (ข้อ) คะแนนเต็ม และการบอกความหมายของบทร้อยแก้ว ที่ประกอบด้วย ควบกล้ำ องหมายวรรคตอน รบรรยายและพรรณนา แบบทดสอบการอ่านออกเสียง การอ่านออกเสียง ๑ ข้อ ๒0 คะแนน กสื่อต่าง ๆ เช่น ยน ทโน้มน้าวใจ ณ์ประจำวัน แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ๒0 ข้อ ๒0 คะแนน จินตนาการ แบบทดสอบการเขียน ๑ ข้อ ๑๖ คะแนน
6. กำหนดการรายงานผลการคัดกรอง การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ ในปี การศึกษา 256๕ กำหนดการประเมินและรายงานผลผ่านทางระบบการติดตามทางอิเล็กทรอนิกส์ ภาคเรียน ละ 1 ครั้ง ได้แก่ ภาคเรียนที่ 1 รายงานผลภายใน 31 กรกฎาคม 2565 ภาคเรียนที่ 2 รายงานผลภายใน 31 ธันวาคม 2565 7. เกณฑ์ของระดับคะแนนและการแปลผลการคัดกรอง การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ มีเกณฑ์ ของระดับคะแนนและการแปลผล ดังนี้ เกณฑ์ของระดับคะแนน การแปลผล ร้อยละ 75 - 100 ดีมาก ร้อยละ 50 - 74 ดี ร้อยละ 25 - 49 พอใช้ ร้อยละ 0 - 24 ปรับปรุง 8. การนำผลการคัดกรองไปใช้ในการพัฒนานักเรียน การคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖ มี วัตถุประสงค์สำคัญเพื่อนำข้อมูลจากผลการคัดกรองไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาการอ่านและการ เขียนของนักเรียน ซึ่งมีความสามารถสูงให้ดียิ่งขึ้น และแก้ไขปัญหาการอ่านและการเขียนของนักเรียนที่มีผล การคัดกรองระดับต่ำ โดยครูควรพิจารณาผลการคัดกรองของนักเรียนทั้งภาพรวมและรายบุคคล เพื่อให้ทราบ ว่านักเรียนแต่ละคนมีผลการคัดกรองความสามารถและทักษะใดที่ควรได้รับการพัฒนา โดยจำเป็นต้องปรับ กระบวนการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เหมาะสมกับนักเรียน เช่น การจัดสอนซ่อมเสริมนักเรียนเป็น รายบุคคลเพิ่มเติม เป็นต้น 9. การดำเนินการสอบ การดำเนินการสอบเป็นความรับผิดชอบของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ มัธยมศึกษาที่มีโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในการบริหารจัดการมีแนวปฏิบัติดังนี้ 9.1 การเตรียมการก่อนการสอบ ก่อนการสอบให้โรงเรียนเตรียมการดังนี้ 1) การจัดห้องสอบ ให้จัดห้องสอบตามปกติของการจัดสอบของโรงเรียน
2) ผู้ดำเนินการสอบ มอบหมายให้ครูผู้สอนหรือครูประจำชั้นเป็นผู้ดำเนินการสอบ โดยใช้เครื่องมือ คัดกรองที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดส่งให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา 9.2 การดำเนินการสอบ การดำเนินการสอบให้ดำเนินการ ดังนี้ 1) ให้ครูผู้สอนหรือครูประจำชั้นที่ได้รับมอบหมายศึกษาทำความเข้าใจเอกสารต่อไปนี้ -คู่มือการคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - 6 -คำชี้แจงและเครื่องมือคัดกรองความสามารถในการอ่านและการเขียนของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ๒) ให้ครูผู้สอนหรือครูประจำชั้นที่ได้รับมอบหมายจัดสอบตามรายละเอียดที่กำหนดในคำชี้แจง ของแบบทดสอบแต่ละฉบับ 9.3 การดำเนินการหลังสอบ การดำเนินการหลังสอบให้ดำเนินการ ดังนี้ ครูผู้สอนหรือครูประจำชั้นที่ได้รับมอบหมายตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์ที่กำหนดในคำชี้แจงของ แบบทดสอบแต่ละระดับชั้นของนักเรียนในโรงเรียนของตน และรายงานผลการคัดกรองตามเกณฑ์ที่กำหนด * กรณีที่พบว่าเครื่องมือคัดกรองหรือเฉลยคำตอบมีความผิดพลาด ขอความกรุณาครูผู้สอนหรือครู ประจำชั้นที่ได้รับมอบหมายในการดำเนินการสอบหรือตรวจให้คะแนนพิจารณาปรับให้ถูกต้องเพื่อให้การ จัดการสอบเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ทั้งนี้สถาบันภาษาไทย ขออภัยมา ณ ที่นี้ และหากมีข้อสงสัยหรือ ข้อเสนอแนะกรุณาติดต่อ สถาบันภาษาไทย 0 2288 5746-7
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน” /
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
เครื่องมือคัดกรอง “ความสามารถในการอ่านและการเขียน”
แบบบั ฉบับที่ ๑ ตอนที โรงเรียนไพลอำนวยวิ ที่ ชื่อ - สกุล ๑. การอ่านถูกต้อง ตามอักขรวิธี (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ๒. การอ่าน หรือข้า (คะแนนเต็ม 1 เด็กชายกฤษฎา บุตรงาม 5 1 2 เด็กชายชลกร ทาจันทร์ 4 3 3 เด็กชายทวีทรัพย์ เอละกานุ 4 2 4 เด็กชายธนวัฒน์ อาสานอก 5 3 5 เด็กชายวีรวัฒน์ ดาพั่ว 5 2 6 เด็กชายสุประกิจ ทองภู 5 2 7 เด็กชายสุวัฒน์ อุบลเผื่อน 5 2 8 เด็กหญิงกนกกาญจน์ มุมทอง 3 2 9 เด็กหญิงณิชมล บุญจิ 5 2 10 เด็กหญิงธัญยารัตน์ ตึดงาม 5 1 11 เด็กหญิงธัญพิชชา สวยรูป 3 2 12 เด็กหญิงปณิดา ขันทอง 5 2 13 เด็กหญิงปาริชาติ มุมทอง 5 2 14 เด็กหญิงพิดาทอง กระสังข์ 5 2 15 เด็กหญิงพิมพ์พิชชา เสนาะเสียง 5 1
บันทึกคะแนน ที่ ๑ การอ่านออกเสียง วิทย์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 คะแนน รวมคะแนน* (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) นเพิ่มคำ ามคำ 3 คะแนน) ๓. ความชัดเจน ในการอ่าน (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) ๔. การเว้นวรรค ตอน ในการอ่าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ๕. การอ่านในเวลา ที่กำหนด (คะแนนเต็ม 2 คะแนน) 1 5 5 2 18 3 5 5 2 19 2 5 5 1 17 3 5 5 2 20 2 5 5 2 19 2 5 5 2 19 2 5 5 2 19 2 5 5 2 17 2 5 5 2 19 1 5 5 2 18 2 5 5 2 17 2 5 5 2 19 2 5 5 2 19 2 5 5 2 19 1 5 5 2 18
ที่ ชื่อ - สกุล ๑. การอ่านถูกต้อง ตามอักขรวิธี (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ๒. การอ่าน หรือข้า (คะแนนเต็ม 16 เด็กหญิงพีชนิกา ม่วงวงค์ 5 1 17 เด็กหญิงพัชริดา บุญแน่น 4 1 18 เด็กหญิงเพ็ญพิชชา ชาวนา 3 1 19 เด็กหญิงมินตรา อุดมดัน 5 2 20 เด็กหญิงรจนา ธรรมดา 5 3 21 เด็กหญิงรัตนสุดา นานวล 5 2 22 เด็กหญิงรัชวินทร์ กระสังข์ 5 1 23 เด็กหญิงวรงค์พัทธ์ โยทาจันทร์ 5 2 24 เด็กหญิงศิริลักษณ์ตึดงาม 5 1 25 เด็กหญิงสุวสา มะโนศรี 5 2 26 เด็กหญิงอภิญญา บุตรดี 5 1 27 เด็กชาศุภากร สิงโตทอง 5 1 28 เด็กชายทยากร เนินทอง 4 1 29 เด็กหญิงอรปรียา นานวน 5 3 30 เด็กชายสุเมธ เขื่องสตุ่ง 1 1 คะแนนรวม** 136 52
คะแนน รวมคะแนน* (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) นเพิ่มคำ ามคำ 3 คะแนน) ๓. ความชัดเจน ในการอ่าน (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) ๔. การเว้นวรรค ตอน ในการอ่าน (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ๕. การอ่านในเวลา ที่กำหนด (คะแนนเต็ม 2 คะแนน) 1 5 5 2 18 1 5 5 2 17 1 3 3 2 12 2 5 5 2 19 3 5 5 2 20 2 5 5 2 19 1 5 5 2 18 2 5 5 2 19 1 5 5 2 18 2 5 5 2 19 1 5 5 2 18 1 5 5 2 18 1 5 5 2 17 3 5 5 2 20 1 1 1 1 5 2 144 144 58 534
แบบบันทึก ฉบับที่ ๑ ตอนที่ ๒ โรงเรียนไพลอำนวยวิทย์ช ที่ ชื่อ - สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 1 เด็กชายกฤษฎา บุตรงาม 0 1 1 0 0 1 1 1 2 เด็กชายชลกร ทาจันทร์ 0 0 1 1 0 0 0 1 3 เด็กชายทวีทรัพย์ เอละกานุ 0 1 0 0 0 1 0 1 4 เด็กชายธนวัฒน์ อาสานอก 1 0 1 1 1 1 1 0 5 เด็กชายวีรวัฒน์ ดาพั่ว 0 1 1 0 0 0 0 1 6 เด็กชายสุประกิจ ทองภู 1 0 1 0 1 1 1 0 7 เด็กชายสุวัฒน์ อุบลเผื่อน 0 1 1 0 0 0 0 1 8 เด็กหญิงกนกกาญจน์ มุมทอง 0 1 1 0 0 0 1 1 9 เด็กหญิงณิชมล บุญจิ 0 1 1 1 1 1 1 1 10 เด็กหญิงธัญยารัตน์ ตึดงาม 1 1 1 1 1 0 1 1 11 เด็กหญิงธัญพิชชา สวยรูป 0 1 1 1 0 1 1 1 12 เด็กหญิงปณิดา ขันทอง 1 1 1 0 0 1 1 1 13 เด็กหญิงปาริชาติ มุมทอง 0 1 1 0 0 0 1 1 14 เด็กหญิงพิดาทอง กระสังข์ 0 1 1 0 1 0 0 1
คะแนน การอ่านรู้เรื่อง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ข้อที่ รวม คะแนน* (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 0 15 1 0 0 1 1 1 1 0 0 1 0 0 9 0 1 1 1 0 1 0 0 0 0 1 0 8 1 1 1 1 1 1 1 0 0 1 0 0 14 0 0 0 1 0 0 1 1 0 0 0 0 6 0 1 0 1 0 0 1 0 0 1 0 0 9 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 0 5 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 15 0 0 0 0 1 1 1 1 0 0 0 0 11 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 0 1 14 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 8 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 1 0 13 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 0 6 0 0 0 0 0 1 1 1 0 1 0 0 8
ที่ ชื่อ - สกุล 1 2 3 4 5 6 7 8 15 เด็กหญิงพิมพ์พิชชา เสนาะเสียง 1 1 1 1 0 1 1 1 16 เด็กหญิงพีชนิกา ม่วงวงค์ 0 1 1 1 0 0 1 1 17 เด็กหญิงพัชริดา บุญแน่น 0 1 1 1 0 0 1 1 18 เด็กหญิงเพ็ญพิชชา ชาวนา 0 1 1 1 1 0 0 1 19 เด็กหญิงมินตรา อุดมดัน 0 1 1 1 0 0 1 1 20 เด็กหญิงรจนา ธรรมดา 0 1 1 0 0 0 1 1 21 เด็กหญิงรัตนสุดา นานวล 1 1 1 0 1 0 1 1 22 เด็กหญิงรัชวินทร์ กระสังข์ 0 1 1 0 1 0 1 0 23 เด็กหญิงวรงค์พัทธ์ โยทาจันทร์ 0 1 1 1 0 0 0 1 24 เด็กหญิงศิริลักษณ์ตึดงาม 0 1 1 0 0 0 1 1 25 เด็กหญิงสุวสา มะโนศรี 0 1 1 0 0 1 0 1 26 เด็กหญิงอภิญญา บุตรดี 0 1 1 0 1 0 0 1 27 เด็กชาศุภากร สิงโตทอง 0 1 1 0 0 0 0 1 28 เด็กชายทยากร เนินทอง 1 0 1 0 1 0 1 0 29 เด็กหญิงอรปรียา นานวน 1 1 0 0 0 0 0 1 30 เด็กชายสุเมธ เขื่องสตุ่ง 0 1 0 0 0 0 0 1 คะแนนรวม** 8 26 27 11 10 9 18 26
ข้อที่ รวม คะแนน* (คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน) 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 12 1 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 0 12 1 1 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 12 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 1 0 9 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 0 0 7 0 0 0 0 1 1 1 1 0 1 0 0 9 1 1 0 1 1 1 1 0 0 0 0 1 13 0 1 0 0 0 1 0 0 0 1 1 1 9 0 0 0 1 1 1 0 1 0 0 0 0 8 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 0 0 13 0 1 1 0 0 1 1 1 0 0 0 0 9 0 1 0 0 0 1 1 1 1 1 1 0 11 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 0 0 7 0 1 0 1 0 0 1 0 0 0 1 0 8 0 1 0 0 0 1 0 1 0 1 1 0 8 1 0 0 1 0 1 0 0 0 1 1 0 7 11 13 5 18 12 22 22 19 7 14 12 5 295
แบบบันทึ ฉบับที่ ๒ โรงเรียนไพลอำนวยวิทย ที่ ชื่อ - สกุล ๑. การตั้งชื่อเรื่อง (คะแนนเต็ม ๒ คะแนน) ๒. สาระสำคัญของเรื่อ (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) 1 เด็กชายกฤษฎา บุตรงาม 2 4 2 เด็กชายชลกร ทาจันทร์ 2 1 3 เด็กชายทวีทรัพย์ เอละกานุ 2 1 4 เด็กชายธนวัฒน์ อาสานอก 2 5 5 เด็กชายวีรวัฒน์ ดาพั่ว 2 4 6 เด็กชายสุประกิจ ทองภู 2 4 7 เด็กชายสุวัฒน์ อุบลเผื่อน 2 4 8 เด็กหญิงกนกกาญจน์ มุมทอง 2 2 9 เด็กหญิงณิชมล บุญจิ 2 5 10 เด็กหญิงธัญยารัตน์ ตึดงาม 2 1 11 เด็กหญิงธัญพิชชา สวยรูป 2 1 12 เด็กหญิงปณิดา ขันทอง 2 4 13 เด็กหญิงปาริชาติ มุมทอง 2 4 14 เด็กหญิงพิดาทอง กระสังข์ 2 4 15 เด็กหญิงพิมพ์พิชชา เสนาะเสียง 2 4
ทึกคะแนน การเขียน ย์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 คะแนน รวมคะแนน* (คะแนนเต็ม 16 คะแนน) อง ๓. การใช้ภาษา (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ๔. การเขียนสะกดคำ (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ๕. ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และถูกต้องตามคำชี้แจง (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) 3 3 1 13 1 1 1 6 1 1 1 6 2 2 2 13 2 2 2 12 2 2 2 12 2 2 2 12 3 3 3 13 2 3 2 14 1 1 1 6 1 1 1 6 3 2 3 14 3 3 3 15 2 2 3 13 2 2 2 12
ที่ ชื่อ - สกุล ๑. การตั้งชื่อเรื่อง (คะแนนเต็ม ๒ คะแนน) ๒. สาระสำคัญของเรื่อ (คะแนนเต็ม ๕ คะแนน) 16 เด็กหญิงพีชนิกา ม่วงวงค์ 2 4 17 เด็กหญิงพัชริดา บุญแน่น 2 4 18 เด็กหญิงเพ็ญพิชชา ชาวนา 2 1 19 เด็กหญิงมินตรา อุดมดัน 2 5 20 เด็กหญิงรจนา ธรรมดา 2 4 21 เด็กหญิงรัตนสุดา นานวล 2 4 22 เด็กหญิงรัชวินทร์ กระสังข์ 2 5 23 เด็กหญิงวรงค์พัทธ์ โยทาจันทร์ 2 5 24 เด็กหญิงศิริลักษณ์ตึดงาม 2 4 25 เด็กหญิงสุวสา มะโนศรี 2 3 26 เด็กหญิงอภิญญา บุตรดี 2 4 27 เด็กชาศุภากร สิงโตทอง 2 4 28 เด็กชายทยากร เนินทอง 2 3 29 เด็กหญิงอรปรียา นานวน 2 4 30 เด็กชายสุเมธ เขื่องสตุ่ง 2 3 คะแนนรวม** 60 105
คะแนน รวมคะแนน* (คะแนนเต็ม 16 คะแนน) อง ๓. การใช้ภาษา (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ๔. การเขียนสะกดคำ (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) ๕. ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และถูกต้องตามคำชี้แจง (คะแนนเต็ม ๓ คะแนน) 2 3 2 13 3 3 3 15 1 1 1 6 3 2 3 15 3 3 2 14 2 2 2 12 3 2 3 15 3 3 2 15 3 3 3 15 2 2 3 12 3 3 3 15 2 2 2 12 2 1 2 10 2 3 3 14 2 2 2 11 66 65 65 361
แ เครื่องมือคัดกรอง “ความ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ( ที่ ชื่อ - สกุล ตอนที่ 1 การอ่านออกเสียง (คะแนนเต็ม 2๐ คะแนน) การแ 1 เด็กชายกฤษฎา บุตรงาม 18 ดีม 2 เด็กชายชลกร ทาจันทร์ 19 ดีม 3 เด็กชายทวีทรัพย์ เอละกานุ 17 ดีม 4 เด็กชายธนวัฒน์ อาสานอก 20 ดีม 5 เด็กชายวีรวัฒน์ ดาพั่ว 19 ดีม 6 เด็กชายสุประกิจ ทองภู 19 ดีม 7 เด็กชายสุวัฒน์ อุบลเผื่อน 19 ดีม 8 เด็กหญิงกนกกาญจน์ มุมทอง 17 ดีม 9 เด็กหญิงณิชมล บุญจิ 19 ดีม 10 เด็กหญิงธัญยารัตน์ ตึดงาม 18 ดีม 11 เด็กหญิงธัญพิชชา สวยรูป 17 ดีม 12 เด็กหญิงปณิดา ขันทอง 19 ดีม 13 เด็กหญิงปาริชาติ มุมทอง 19 ดีม 14 เด็กหญิงพิดาทอง กระสังข์ 19 ดีม
แบบสรุปผล มสามารถในการอ่านและการเขียน” (ภาคเรียนที่ ๒ : ธันวาคม ๒๕๖๕) ฉบับที่ ๑ การอ่าน ฉบับที่ 2 การเขียน (คะแนนเต็ม 16 คะแนน) การแปลผล* แปลผล* ตอนที่ 2 การอ่านรู้เรื่อง (คะแนนเต็ม 2๐ คะแนน) การแปลผล* มาก 15 ดีมาก 13 ดีมาก มาก 9 พอใช้ 6 พอใช้ มาก 8 พอใช้ 6 พอใช้ มาก 14 ดี 13 ดีมาก มาก 6 พอใช้ 12 ดีมาก มาก 9 พอใช้ 12 ดีมาก มาก 5 พอใช้ 12 ดีมาก มาก 15 ดีมาก 13 ดีมาก มาก 11 ดี 14 ดีมาก มาก 14 ดี 6 พอใช้ มาก 8 พอใช้ 6 พอใช้ มาก 13 ดี 14 ดีมาก มาก 6 พอใช้ 15 ดีมาก มาก 8 พอใช้ 13 ดีมาก
ที่ ชื่อ - สกุล ตอนที่ 1 การอ่านออกเสียง (คะแนนเต็ม 2๐ คะแนน) การแ 15 เด็กหญิงพิมพ์พิชชา เสนาะเสียง 18 ดีม 16 เด็กหญิงพีชนิกา ม่วงวงค์ 18 ดีม 17 เด็กหญิงพัชริดา บุญแน่น 17 ดีม 18 เด็กหญิงเพ็ญพิชชา ชาวนา 12 19 เด็กหญิงมินตรา อุดมดัน 19 ดีม 20 เด็กหญิงรจนา ธรรมดา 20 ดีม 21 เด็กหญิงรัตนสุดา นานวล 19 ดีม 22 เด็กหญิงรัชวินทร์ กระสังข์ 18 ดีม 23 เด็กหญิงวรงค์พัทธ์ โยทาจันทร์ 19 ดีม 24 เด็กหญิงศิริลักษณ์ตึดงาม 18 ดีม 25 เด็กหญิงสุวสา มะโนศรี 19 ดีม 26 เด็กหญิงอภิญญา บุตรดี 18 ดีม 27 เด็กชาศุภากร สิงโตทอง 18 ดีม 28 เด็กชายทยากร เนินทอง 17 ดีม 29 เด็กหญิงอรปรียา นานวน 20 ดีม 30 เด็กชายสุเมธ เขื่องสตุ่ง 5 พ รวม 92.07 ดีม
ฉบับที่ ๑ การอ่าน ฉบับที่ 2 การเขียน (คะแนนเต็ม 16 คะแนน) การแปลผล* แปลผล* ตอนที่ 2 การอ่านรู้เรื่อง (คะแนนเต็ม 2๐ คะแนน) การแปลผล* มาก 12 ดี 12 ดีมาก มาก 12 ดี 13 ดีมาก มาก 12 ดี 15 ดีมาก ดี 9 พอใช้ 6 พอใช้ มาก 7 พอใช้ 15 ดีมาก มาก 9 พอใช้ 14 ดีมาก มาก 13 ดี 12 ดีมาก มาก 9 พอใช้ 15 ดีมาก มาก 8 พอใช้ 15 ดีมาก มาก 13 ดี 15 ดีมาก มาก 9 พอใช้ 12 ดีมาก มาก 11 ดี 15 ดีมาก มาก 7 พอใช้ 12 ดีมาก มาก 8 พอใช้ 10 ดี มาก 8 พอใช้ 14 ดีมาก อใช้ 7 พอใช้ 11 ดี มาก 50.86 ดี 62.24 ดี