คมู่ อื
ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
บรหิ ารงบประมาณ
โรงเรยี นไพลอานวยวิทย์
สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คู่มือการปฏบิ ตั ิงาน กลมุ่ บรหิ ารงบประมาณ โรงเรียนไพลอำนวยวทิ ย์
สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
**************************************************************
การบริหารและการจดั การศึกษาของโรงเรยี นนิติบุคคล มีวตั ถุประสงค์เพ่ือให้โรงเรียนจดั การศกึ ษาอย่างเป็น
อสิ ระ คลอ่ งตวั สามารถบริหารการจดั การศกึ ษาไดส้ ะดวด รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพแ1ละมคี วามรับผดิ ชอบ
โรงเรียนนิติบคุ คล นอกจากมีอำนาจหน้าท่ตี ามวตั ถปุ ระสงค์ข้างตน้ แล้ว ยงั มอี ำนาจหน้าทตี่ ามทกี่ ฏระเบียบ
กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารจัดการและขอบเขตการปฏิบัติหน้าที่ของโรงเรียนขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล
สังกัดเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ 2546 ลงวันท่ี 7 กรกฏาคม พ.ศ. 2546
กฎหมายการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ จึงกำหนดให้
โรงเรียนนิติบคุ คลมอี ำนาจหนา้ ที่ ดงั น้ี
1. ใหผ้ ู้อำนวยการโรงเรยี นเปน็ ผแู้ ทนนิตบิ ุคคลในกิจการท่ัวไปของโรงเรยี นทีเ่ กี่ยวกบั บคุ คลภายนอก
2. ใหโ้ รงเรยี นมอี ำนาจปกครอง ดแู ล บำรงุ รักษา ใชแ้ ละจัดหาผลประโยชน์จากทรพั ยส์ นิ ท่มี ผี บู้ ริจาคให้
เว้นแต่การจำหนา้ ยอสังหาริมทรัพย์ที่มีผบู้ ริจาคใหโ้ รงเรียน ต้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของโรงเรยี น
3. ให้โรงเรียนจดทะเบียนลิขสิทธิ์หรือดำเนินการทางทะเบียนทรัพยส์ ินต่างๆ ทม่ี ผี ้อู ุทิศให้หรือโครงการซื้อ
แลกเปลี่ยนจากรายได้ของสถานศึกษาใหเ้ ปน็ กรรมสทิ ธ์ิของสถานศึกษา
4. กรณโี รงเรยี นดำเนนิ คณดีเป็นผู้ฟ้องร้องหรือถูกฟ้องร้อง ผบู้ รหิ ารจะต้องดำเนินคดีแทนสถานศึกษาหรือ
ถูกฟอ้ งรว่ มกับสถานศึกษา ถา้ ถกู ฟ้องโดยมิไดด้อย่ใู นการปฏิบัติราชการ ในกรอบอำนาจ ผบู้ ริหารต้อง
รบั ผิดชอบเปน็ การเฉพาะตัว
5. โรงเรยี นจัดทำงบดลุ ประจำปแี ละรายงานสาธารณะทกุ ส้นิ ปงี บประมาณ
งบประมาณท่ีสถานศกึ ษานำมาใช้จ่าย
1. แนวคดิ
การบริหารงานงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความคล่องตัว
โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยึดหลักการบรหิ ารมุ่งเน้นผลสมั ฤทธิ์และบริหารงบประมาณแบบมงุ่ เนน้ ผลงาน ใหม้ กี ารจดั หา
ผลประโยชน์จากทรัพย์สิทของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหารจัดการเพื่อประโยชน์ทาง
การศกึ ษา ส่งผลใหเ้ กดิ คณุ ภาพทดี่ ีขึน้ ต่อผูเ้ รยี น
2. วตั ถุประสงค์
เพ่ือใหส้ ถานศึกษาบริหารงานด้านงบประมาณมคี วามเปน็ อสิ ระ คลอ่ งตวั โปร่งใสตรวจสอบได้
2
2.1 เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ผลลพั ธ์เปน็ ไปตามข้อตกลงการใหบ้ รกิ าร
2.2 เพื่อใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรัพยากรท่ีได้อยา่ งเพียงพอและประสทิ ธภิ าพ
3. ขอบขา่ ยภารกิจ
3.1 กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารทเี่ กยี่ วข้อง
1. พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ 2)
2. พระราชบัญญตั ิบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546
3. ระเบยี บว่าด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545
4. หลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
5. แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศกึ ษาและสถานศกึ ษาตามกฎกระทรวง กำหนด
หลักเกณฑ์และวธิ กี ารกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550
รายจ่ายตามงบประมาณ
จำแนกออกเป็น 2 ลักษณะ
1. รายจ่ายของส่วนราชการและรฐั วิสาหกจิ
- งบบุคลากร
- งบดำเนนิ งาน
- งบลงทนุ
- งบเงินอุดหนุน
- งบรา่ ยจา่ ยอ่ืน
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายใน
ลกั ษณะเงนิ เดือน คา่ จา้ งประจำ ค่าจา้ งชวั่ คราว และคา่ ตอบแทนพนักงานราชการ รวมถงึ ราจจา่ ยทกี่ ำหนดให้จ่าย
จากงบรายจา่ ยอน่ื ใดในลกั ษณะราจจา่ ยดังกล่า
งบดำเนินงาน หมายถงึ รายจา่ ยท่กี ำหนดให้จา่ ยเพ่อื การบรหิ ารงานประจำ ได้แก่ รายจา่ ยทจ่ี ่ายใน
ลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงราจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอืน่ ใด
ในลกั ษณะรายจา่ ยดังกลา่ ว
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายท่กี ำหนดใหจ้ า่ ยเพื่อการลงทุน ไดแ้ ก่ รายจ่ายท่จี า่ ยในลกั ษณะค่าครภุ ัณฑ์ ค่า
ท่ดี ินและส่ิงกอ่ สรา้ ง รวมถึงรายจ่ายท่ีกำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอน่ื ใดในลักษณะรายจา่ ยดังกลา่ ว
งบดำเนนิ งาน หมายถงึ รายจา่ ยท่ีกำหนดใหจ้ ่ายเพอ่ื การบริหารงานประจำ ได้แก่ รายจ่ายทีจ่ ่ายใน
ลกั ษณะคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย ค่าวัสดุ และคา่ สาธารณูปโภค รวมถงึ รายจ่ายที่กำหนดใหจ้ า่ ยจากงบรายจ่ายอ่ืนใด
ในลกั ษณะรายจ่ายดังกลา่ ว
3
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่า
ทด่ี ินและสิ่งกอ่ นสรา้ ง รวมถึงรายจ่ายท่กี ำหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอืน่ ใดในลักษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายทก่ี ำหนดใหจ้ ่ายเปน็ ค่าบำรุงหรือเพ่ือชว่ ยเหลือสนับสนนุ งานของหน่วยงาน
อิสระตามรัฐธรรมนูญหรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมิใช่ส่วนกลางตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
หน่วยงานในกำกับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงเงินอุ ดหนุน งบ
พระมหากษัตรยิ ์ เงินอดุ หนนุ ศาสนา
งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายท่ี
สำนักงานงบประมาณกำหนดใหใ้ ชจ้ ่ายในงบรายจ่ายน้ี เช่น เงนิ ราชการลบั เงินค่าปรบั ทีจ่ า่ ยคนื ให้แก่ผู้ขายหรือผู้
รับจ้าง ฯลฯ
อตั ราเงนิ อดุ หนนุ รายหัวนักเรียนตอ่ ปกี ารศกึ ษา
ระดบั ก่อนประถมศกึ ษา 1,700 บาท
ระดบั ประถมศึกษา 1,900 บาท
การจัดสรรเงนิ อดุ หนนุ รายหัวนกั เรียน แบ่งการใชต้ ามสดั สว่ น ดา้ นวชิ าการ : ด้านบริหารทัว่ ไป : สำรอง
จา่ ยทั้ง 2 ดา้ นคือ
1. ดา้ นวิชาการ ให้สดั สว่ นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 นำไปใช้ไดใ้ นเรอ่ื ง
1.1 จัดหาวสั ดุและครุภัณฑ์ทีจ่ ำเป็นต่อการเรยี นการสอน
1.2 ซอ่ มแซมวัสดุอปุ กรณ์
1.3 การพฒั นาบุคลาการด้านการสอน เชน่ สง่ ครูเขา้ อบรมสมั มนา คา่ จ้างช่ัวคราวของครปู ฏิบัติการ
สอน คา่ สอนพิเศษ
2. ด้านบรหิ ารทว่ั ไป ใหส้ ัดส่วนไม่เกินร้อยละ 30 นำไปใชไ้ ด้ในเร่ือง
2.1 คา่ วสั ดุ ครุภณั ฑ์และคา่ ที่ดนิ สิ่งกอ่ สรา้ ง ค่าจา้ งชัว่ คราวที่ไม่ใชป่ ฏิบตั ิการสอนคา่ ตอบแทน คา่ ใช้
สอย
2.2 สำรองจ่ายนอกเหนือด้านวชิ าการและดา้ นบรหิ ารทว่ั ไป ให้สดั สว่ นไม่เกินรอ้ ยละ 20 นำไปใชใ้ น
เร่ืองงานตามนโยบาย
เงนิ อดุ หนุนปจั จยั พ้ืนฐานสำหรับนักเรยี นยากจน
1. เป็นเงินทีจ่ ดั สรรให้แก่สถานศึกษาท่ีมนี กั เรียนยากจน เพื่อจดั หาปจั จยั พ้นื ฐานทจ่ี ำเปน็ ต่อการดำรงชีวติ และ
เพิ่มโอกาศทางการศึกษา เป็นการช่วยเหลือนกั เรียนนท่ยี ากจน ชน้ั อบ.2 ถึง ป.6 ใหม้ โี อกาสได้รับการ
ศึกษาในระดบั ทีส่ งู ขนึ้ (ยกเว้นสถานศึกษาสงั กัดสำนักบรหิ ารงานการศึกษาพเิ ศษ)
2. นกั เรยี นยากจน หมายถึง นกั เรียนท่ีผ้ปู กครองมีรายได้ต่อครัวเรือน ไม่เกิน 40,000 บาท
3. แนวการใช้
ใหใ้ ช้ในลกั ษณะ ถัวจ่าย ในรายการต่อไปนี้
4
3.1 ค่าหนังสอื และอปุ กรณ์การเรียน(ยมื ใช)้
3.2 ค่าเสอ้ื ผา้ และวัสดุเครอ่ื งแตง่ กายนักเรียน(แจกจ่าย)
3.3 ค่าอาหารกลางวนั (วัตถุดบิ จ้างเหมา เงนิ สด)
3.4 คา่ พาหนะในการเดินทาง (เงินสด จา้ งเหมา)
3.5 กรณีจ่ายเปน็ เงนิ สด โรงเรียนแตง่ ตั้งกรรมการ 3 คน ร่วมกนั จา่ ยเงนิ โดยใช้ใบสำคญั รับเงนิ เปน็
หลักฐาน
3.6 ระดบั ประถมศึกษา คนละ 1,000 บาท/ปี
1.1 รายจา่ ยงบกลาง
1. เงินสวสั ดกิ ารคา่ รกั ษาพยาบาล/การศึกษาบตุ ร/เงินช่วยเหลอื บตุ ร
2. เงนิ เบี้ยหวดั บำเหน็จบำนาญ
3. เงินสำรอง เงินสมทบ และเงินชดเชยขา้ ราชการ
4. เงนิ สมทบของลกู จ้างประจำ
2. รายจา่ ยงบกลาง หมายถงึ รายจ่ายท่ีตัง้ ไว้เพ่อื จดั สรรให้ส่วนราชการและรัฐวสิ าหกจิ โดยทั่วไปใชจ้ า่ ย
ตามรายการดังตอ่ ไปนี้
1. “เงินเบีย้ หวดั บำเหน็จบำนาญ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ตง้ั ไว้เพ่ือจ่ายเป็นเงนิ บำนาญ
ข้าราชการ เงินบำเหน็จลูกจ้างประจำ เงินทำขวัญข้าราชการและลูกจ้าง เงินทดแทนข้าราชการวิสามัญ เงินค่ า
ทดแทนสำหรับผูไ้ ด้รับอนั ตรายในการรักษาความมัน่ คงของประเทศ
เงินช่วยพิเศษขา้ ราชการบำนาญเสยี ชีวิต เงนิ สงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัยเนอ่ื งจากการช่วยเหลอื
ข้าราชการ การปฏิบัติงานของชาติหรือการปฏิบัติตามหน้าที่มนุษยธรรม และเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัด
บำนาญ
2. “เงนิ ชว่ ยเหลอื ข้าราชการ ลกู จา้ ง และพนักงานของรัฐ” หมายความว่า รายจ่ายท่ตี ้ังไว้เพอ่ื
จ่ายเป็นเงินสวัสดิการช่วยเหลือในด้านต่างๆ ให้แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานของรัฐ ได้แก่ เงินช่วยเหลือ
การศึกษาของบตุ ร เงนิ ช่วยเหลือบตุ ร และเงินพิเศษในการณีตายในระหว่างรับราชการ
3. “เงินเลือ่ นขน้ั เลอ่ื นอนั ดบั เงนิ เดือนและเงินปรับวุฒิขา้ ราชการ หมายความวา่ รายจ่ายทีต่ ั้งไว้
เพ่ือจา่ ยเป็นเงินเล่อื นข้นั เลอื่ นอันดับเงนิ เดือนขา้ ราชการประจำปี เงินเลอื่ นข้นั เลอื่ นอันดับเงนเดือนข้าราชการท่ีได้รับ
เลอ่ื นระดับ และหรอื แต่งตงั้ ใหด้ ำรงตำแหน่งระหวา่ งปีและเงินปรบั วฒุ ขิ า้ ราชการ
4. “เงินสำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยของข้าราชการ” หมายความว่า รายจา่ ยท่ีตั้งไว้เพอ่ื
จา่ ยเปน็ เงินสำรอง เงินสมทบ และเงนิ ชดเชยทร่ี ฐั บาลนำสง่ เข้ากองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ
5. “เงินสมทบของลกู จา้ งประจำ” หมายความวา่ รายจ่ายทต่ี ัง้ ไว้เพ่ือจ่ายเป็นเงนิ สมทบที่
รัฐบาลนำส่งเขา้ กองทุนสำรอง เล้ียงชพี ลกู จา้ งประจำ
6. “ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกบั การเสด็จพระราชดำเนและตอ้ นรับประมขุ ต่างประเทศ หมายความว่า
5
รายจ่ายที่ตั้งไว้เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสนับสนุนพระราชภารกิจในการเสด็จพระราชดำเนินภายในประเทศ และหรือ
ต่างประเทศ และค่าใชจ้ า่ ยในการตอ้ นรับประมุขตา่ งประเทศท่มี ายาเยือนประเทศไทย
7. “เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น” หมายความวา่ รายจา่ ยท่ตี ั้งสำรองไว้เพอื่
จัดสรรเปน็ ค่าใชจ้ ่ายในกรณีฉกุ เฉนิ หรือจำเป็น
8. “คา่ ใชจ้ ่ายในการดำเนนิ การรกั ษาความมั่นคงของประเทศ” หมายความวา่ รายจ่ายที่ตงั้ ไว้
เพอื่ เปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการดำเนนิ งานรกั ษาความมั่นคงของประเทศ
9. “เงนิ ราชการลับในการรกั ษาความมน่ั คงของประเทศ” หมายความวา่ รายจา่ ยทต่ี ้ังไว้เพือ่
เบิกจา่ ยเป็นเงนิ ราชการลบั ในการดำเนินงานเพ่อื รักษาความมัน่ คงของประเทศ
10. “ค่าใชจ้ า่ ยตามโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำร”ิ หมายความวา่ รายจ่ายทตี่ ั้งไว้เพอื่
เป็นคา่ ใชจ้ า่ ในการดำเนนิ งานตามโครงการอนั เนือ่ งมาจากพระราชดำริ
11. “คา่ ใช้จ่ายในการรำษาพยาบาลขา้ ราชการ ลกู จา้ ง และพนกั งานของรัฐ” หมายความว่า
รายจา่ ยท่ีตง้ั ไวเ้ ปน็ ค่าใช้จา่ ยในการชว่ ยเหลอื คา่ รกั ษาพยาบาลข้าราชการ ลูกจ้างประจำ และพนกั งานของรัฐ
เงินนอกงบประมาณ
1. เงนิ รายได้สถานศึกษา
2. เงนิ ภาษีหกั ณ ท่ีจ่าย
3. เงนิ ลูกเสอื เนตรนารี
4. เงนิ ยวุ กาชาด
5. เงนิ ประกนั สญั ญา
6. เงนิ บริจาคที่มวี ัตถุประสงค์
เงินรายได้สถานศึกษา หมายถงึ เงินรายได้ตามมาตรา 59 แห่ง พ.ร.บ. การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542
ซึง่ เกดิ จาก
1. ผลประโยชน์จากทรพั ย์สนิ ทีเ่ ป็นราชพัสดุ
2. ค่าบรกิ ารและค่าธรรมเนยี ม ทไ่ี ม่ขดั หรือแย้งนโยบาย วัตถุประสงค์และภารกจิ หลักของสถานศกึ ษา
3. เบีย้ ปรบั จากการผิดสญั ญาลาศกึ ษาตอ่ และเบ้ยี ปรบั การผดิ สัญญาซอ้ื ทรัพยสินหรอื จา้ งทำของจากเงนิ
งบประมาณ
4. ค่าขายแบบรูปรายการ เงนิ อุดหนุน อปท. รวมเงนิ อาหารกลางวัน
5. ค่าขายทรัพยส์ ินท่ีไดม้ าจากเงินงบประมาณ
6
งานพัสดุ
“การพสั ด”ุ หมายความวา่ การจดั ทำเอง การซื้อ การจ้าง การจา้ งท่ีปรึกษา การจ้างออกแบบและ
ควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช่า การควบคมุ การจำหน่าย และการดำเนินการอื่นๆ ท่ีกำหนดไว้ในระเบียบนี้
“พัสดุ” หมายความว่า วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ทด่ี ินและส่งิ ก่อสร้าง ท่กี ำหนดไว้ในหนังสอื การจำแนกประเภท
รายจา่ ยตามงบประมาณของสำนักงบประมาณ หรือการจำแนกประเภทรายจา่ ย ตามสัญญาเงนิ กจู้ ากต่างประเทศ
“การซือ้ ” หมายความวา่ การซื้อพัสุทกุ ชนิดท้ังทีม่ ีการตดิ ตัง้ ทดลอง และบริการทเ่ี ก่ียวเน่อื งอ่ืนๆ แต่ไม่
รวมถงึ การจดั หาพัสดใุ นลักษณะการจ้าง
“การจา้ ง” ให้หมายความรวมถึง การจ้างทำของและการับขนตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ และ
การจ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจา้ งลูกจา้ งของส่วนราชการตามระเบียบของกระทรวงการคลงั การบั ขนในการ
เดนิ ทางไปราชการตามกฎหมายวา่ ด้วยค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ การจา้ งทปี่ รึกษ การจ้างออกแบบและ
ควบคุมงาน และการจ้างแรงงานตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์
ขอบข่ายภารกิจ
1. กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารท่เี ก่ียวข้อง
2. ระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรีว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม
3. ระเบียบสำนักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการพัสดุดว้ ยวธิ กี ารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ พ.ศ. 2549
4. แนวทางการปฏบิ ัติตามระเบยี บสำนกั นายกรฐั มนตรี ว่าด้วยการพสั ดดุ ว้ ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.
2549
หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
1. จัดวางระบบและปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกบั จดั หา การซ้ือ การจ้าง การเก็บรักษา และการเบิกพัสดุ การควบคุม
และการจำหน่ายพสั ดุใหเ้ ป็นไปตามระเบียบท่ีเกีย่ วข้อง
2. ควบคมุ การเบกิ จา่ ยเงินตามประเภทเงิน ใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบตั ริ าชการรายปี
3. จัดทำทะเบียนท่ีดินและส่งิ ก่อสร้างทกุ ประเภทของสถานศกึ ษา
4. ประสานงานและวางแผนในการใชพ้ นื้ ทีข่ องสถานศึกษา ให้เป็นไปตามแผนพฒั นาการศึกษา
5. กำหนดหลักเกณฑว์ ิธีการและดำเนนิ การเกี่ยวกบั การจดั หาประโยชน์ทร่ี าชพัสดุการใชแ้ ละการขอใช้อาคาร
สถานทีข่ องสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบยี บท่ีเก่ยี วข้องควบคุมดู ปรบั ปรงุ ซ่อมแซม
บำรุงรักษาครภุ ัณฑ์ ให้อยู่ในสภาพเรยี บร้อยต่อการใช้งานและพฒั นาอาคารสถานที่ การอนรุ ักษ์พลงั งาน
การรกั ษาสภาพแวดล้อม และระบบสาธารณูปโภคของสถานศึกษาให้เป็นระเบยี บและสวยงาม
6. จัดเวรยามดูแลอาคารสถานที่ของสถานศึกษาใหป้ ลอดภยั จากโจรภัย อคั คภี ัยและภัยอนื่ ๆ
7. จดั วางระบบและควบคุมการใช้ยานพาหนะ การเบิกจา่ ยน้ำมันเชอ้ื เพลงิ การบำรงุ รักษาและการพสั ดตุ า่ งๆ
ท่เี กย่ี วกับยานพาหนะของสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บทเ่ี กี่ยวข้อง
7
8. ใหค้ ำแนะนำ ชีแ้ จง และอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรในสถานศึกษาเกีย่ วกับงานในหน้าท่ี
9. เกบ็ รักษาเอกสารและหลกั ฐานต่างๆ ไว้เพื่อการตรวจสอบและดำเนินการทำลายเอกสารตามระเบยี บที่
เกี่ยวข้อง
10. ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหนว่ ยงานตา่ งๆ ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
11. เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัตงิ านในหน้าทต่ี ามลำดับข้ัน
12. ปฏบิ ัตอิ ่ืนตามท่ีได้รับมอบหมาย
สวัสดิการและสทิ ธิประโยชน์
1. คา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ
1.1 กฎหมายและระเบยี บทเี่ กย่ี วข้อง
1.2 พระราชกฤษฎีกาคา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม
1.3 ระเบยี บกระทรวงการคลังว่าดว้ ยการเบกิ คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ พ.ศ. 2550
2. ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ
การอนมุ ัติเดินทางไปราชการ ผ้มู อี ำนาจอนุมตั ใิ หเ้ ดินทางไปราชการ อนุมัตริ ะยะเวลาในการเดนิ ทาง
ลว่ งหน้า หรือระยะเวลาหลงั เสร็จสนิ้ การปฏบิ ตั ิราชการได้ตามความจำเปน็
3. การนบั เวลาเดินทางไปราชการเพอ่ื คำนวณเบ้ยี เลี้ยง กรณีพักค้าง
3.1 ใหน้ บั 24 ชั่วโมงเป็น 1 วนั
3.2 ถา้ ไม่ถึง 24 ชั่วโมงหรือเกนิ 24 ชัว่ โมง และสว่ นท่ีไมถ่ งึ หรือเกิน 24 ช่ัวโมง นับไดเ้ กนิ 12 ชว่ั โง
ให้ถือเปน็ 1 วัน
4. การนบั เวลาเดนิ ทางไปราชการเพ่อื คำนวณเบี้ยเลยี้ งเดินทาง กรณีไม่พักค้าง
4.1 หากนบั ได้ไม่ถึง 24 ชว่ั โมงและส่วนที่ไม่ถึงนบั ได้เกนิ 12 ช่ัวโมง ใหถ้ ือเป็น 1วัน
4.2 หากนับได้ไมเ่ กิน 12 ช่วั โมง แต่เกิน 6 ช่วั โมงข้นึ ไป ให้ถือเป็นครึ่งวัน
5. การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพ่อื คำนวณเบ้ียเลี้ยงเดินทาง
6. กรณลี ากจิ หรือลาพักผอ่ นก่อนปฏิบัติราชการ ให้นับเวลาตัง้ แต่เรม่ิ ปฏิบัติราชการเป็นต้นไป
7. กรณีลากจิ หรือลาพักผ่อนหลังเสรจ็ สนิ้ การปฏบิ ตั ริ าชการ ให้ถือว่าสิทธใิ นการเบิกจ่ายเบี้ยเล้ียงเดินทางส้นิ สุด
ลงเม่อื สิ้นสดุ เวลาการปฏิบัติราชการ
8. หลักเกณฑก์ ารเบิกค่าเชา่ ทพี่ ักในประเทศ
8
การเบกิ ค่าพาหนะ
1. โดยปกติใหใ้ ชย้ านพาหนะประจำทางและให้เบิกคา่ พาหนะโดยประหยดั
2. กรณไี ม่มียานพาหนะประจำทาง หรือมแี ตต่ ้องการความรวดเร็ว เพื่อประโยชนแ์ ก่ทางราชการ ให้
ใชย้ านพาหนะอน่ื ได้ แตต่ ้องชแ้ี จงเหตผุ ลและความจำเป็นไวใ้ นหลกั ฐานขอเบิกค่าพาหนะนัน้
3. ข้าราชการระดับ 6 ข้ึนไป เบกิ คา่ พาหนะรบั จ้างได้ ในกรณีตอ่ ไปน้ี
3.1 การเดินทางไป-กลับ ระหวา่ งสถานทีอ่ ยู่ ท่ีพกั หรอื สถานทป่ี ฏบิ ัติราชการกบั สถานี
ยานพาหนะประจำทาง หรอื สถานท่ีจัดพาหนะท่ีใช้เดนิ ทางภายในเขตจังหวัดเดยี วกนั
3.2 การเดินทางไป-กลับ ระหวา่ งสถานที่อยู่ ท่ีพัก กบั สถานท่ีปฏิบตั ิราชการภายในเขตจงั หวดั
เดียวกนั วันละไม่เกิน 2 เที่ยว
3.3 การเดินทางไปราชการในเขตกรงุ เทพมหานคร กรณเี ปน็ การเดนิ ทางข้ามเขตจังหวดั ใหเ้ บกิ
ตามอตั ราทกี่ ระทรวงการคลงั กำหนด คอื ให้เบิกตามทจี่ า่ ยจริง ดงั น้ี ระหว่างกรงุ เทพมหานครกับเขต
จงั หวัดติดต่อกรงุ เทพมหานคร ไม่เกินเท่ยี วละ่ 400 บาท เดินทางข้ามเขตจังหวัดอ่ืนนอกเหนือกรณี
ดังกล่าวขา้ งตน้ ไม่เกินเท่ียวละ 300 บาท
3.4 ผไู้ มม่ ีสิทธเิ บิก ถ้าตอ้ งนำสมั ภาระในการเดินทาง หรือส่ิงของเครอ่ื งใชข้ องทางราชการไปด้วย
และเปน็ เหตุให้ไมส่ ะดวกทจี่ ะเดินทางโดยยานพาหนะประจำทาง ให้เบกิ คา่ พาหนะรบั จา้ งได้(โดยแสดง
เหตผุ ลและความจำเปน็ ไวใ้ นรายงานเดินทาง)
3.5 การเดนิ ทางลว่ งหน้า หรือไม่สามารถกลบั เมื่อเสรจ็ สิน้ การปฏิบตั ิราชการเพราะมเี หตสุ ่วนตวั
(ลากิจ - ลาพักผ่อนไว้) ใหเ้ บิกคา่ พาหนะเท่าทจ่ี ่ายจริงตามเสน้ ทางท่ีไดร้ บั คำสั่งใหเ้ ดินทางไปราชการ
กรณมี ีการเดินทางนอกเส้นทางในระหวา่ งการลาน้ัน ใหเ้ บิกคา่ พาหนะได้เท่าที่จา่ ยจรงิ โดยไมเ่ กินอัตราตาม
เสน้ ทางทไี่ ดร้ ับคำส่ังให้เดินทางไปราชการ
3.6 การใชย้ านพาหนะส่วนตวั (ใหข้ ออนญุ าตและได้รับอนุญาตแลว้ ) ใหไ้ ดร้ บั เงินชดเชย คือ
รถยนต์กิโลเมตรละ 4 บาท
คา่ ใช้จ่ายในการฝกึ อบรม
การฝกึ อบรม หมายถึง การอบรม ประชุม/สัมมนา (วชิ าการเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร) บรรยายพิเศษ ฝึกงาน ดู
งาน การฝึกอบรม ประกอบด้วย
1. หลกั การและเหตผุ ล
2. โครงการ/หลกั สูตร
3. ระยะเวลาจัดท่ีแนน่ อน
4. เพอื่ พฒั นาหรอื เพิ่มประสิทธภิ าพในการปฏิบัติงาน
9
ค่ารักษาพยาบาล
คา่ รักษาพยาบาล หมายถงึ เงนิ ทีส่ ถานพยาบาลเรียกเกบ็ ในการรกั ษาพยาบาลเพื่อใหร้ ่างกายกลับสสู่ ภาวะ
ปกติ (ไม่ใชเ่ ป็นการป้องกนั หรอื เพื่อความสวยงาม)
1. ระเบียบและกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎีกาเงนิ สวสั ดิการเก่ยี วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2523 และแกไ้ ขเพิ่มเติม( 8 ฉบบั )
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจา่ ยเงินสวสั ดิการเกี่ยวกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ. 2545
2. ผทู้ ่ีมสี ิทธริ บั เงินค่ารักษาพยาบาล คือ ผมู้ สี ิทธและบคุ คลในครอบครวั
2.1 บิดา
2.2 มารดา
2.3 คูส่ มรสท่ีชอบด้วยกฎหมาย
2.4 บุตรทีช่ อบด้วยกฎหมาย ซึง่ ยังไม่บรรลนุ ิตภิ าวะ หรอื บรรลนุ ติ ิภาวะแล้ว แตเ่ ป็นคนไร้ความสามารถ
หรอื เสมือนคนไร้ความสามารถ(ศาลส่งั ) ไม่รวมบุตรบุญธรรมหรอื บุตรซึง่ ไดย้ กเป็นบุตรบญุ ธรรมบุคคล
อนื่ แลว้
3. ผ้มู สี ทิ ธิ หมายถงึ ข้าราชการ ลูกจา้ งประจำ ผุ้รับเบ้ยี หวัดบำนาญ และลูกจา้ งชาวตา่ งประเทศซึง่ ไดร้ บั
คา่ จา้ งจากเงนิ งบประมาณ
คา่ รกั ษาพยาบาบ แบ่งเป็น 2 ประเภท
ประเภทไขน้ อก หมายถงึ เข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลของทางราชการโดยไม่ได้นอนพัก
รักษาตัว นำใบเสร็จรับเงินมาเบกิ จา่ ย ไม่เกนิ 1 ปี นบั จากวนั ทจ่ี า่ ยเงนิ
ประเภทไขใ้ น หมายถึง เข้ารบั การรักษาในสถานพยาบาลของเอกชน หรอื สถานพยาบาลของทาง
ราชการ สถานพยาบาลเอกชน ใชใ้ บเสรจ็ รับเงนิ นำมาเบกิ จ่ายเงนิ พรอ้ มใหแ้ พทยร์ ับรอง “หากผู้ป่วยมิได้เจา้ รับ
การรักษาพยาบาลในทนั ทีทันใด อาจเป็นอนั ตรายถงึ ชีวติ ” และสถานพยาบาลทางราชการ ใช้หนังสอื รับรองสิทธิ
กรณียงั ไม่ไดเ้ บกิ จา่ ยตรง
การศกึ ษาบตุ ร
คา่ การศึกษาของบตุ ร หมายความว่า เงนิ บำรุงการศึกษา หรือเงินค่าเลา่ เรยี น หรือเงินอ่ืนใดท่ีสถานศึกษา
เรียกเกบ็ และรฐั ออกใหเ้ ป็นสวสั ดิการกบั ข้าราชการผู้มีสิทธิ
1. ระเบียบและกฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง
1.1 พระราชราชกฤษฎกี าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร พ.ศ. 2523
1.2 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบกิ จา่ ยเงนิ สวัสดิการเกย่ี วกับการศึกษาของบตุ ร พ.ศ. 2547
1.3 หนงั สอื เวยี นกรมบัญชกี ลาง กค 0422.3/ว 161 ลงวันที่ 13 พฤษภาคม 2552 เรอื่ ง ประเภท
และอัตราเงนิ บำรุงการศึกษาในสถานศึกษาของทางราชการ และค่าเล่าเรียนในสถานศึกษาของเอกชน
10
และกรมบัญชีกลาง ท่ี กค 0422.3/ว 226 ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2552 เร่ืองการเบกิ งินสวัสดิการ
เกี่ยวกบั การศึกษ่าของบุตร
2. ผู้ท่มี สี ทิ ธิรับเงนิ ค่าการศึกษาของบตุ ร
2.1 บุตรชอบโดยกฎหมายอายไุ มเ่ กิน 25 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี ไม่รวมบุตรบญุ
ธรรม หรอื บตุ รซึ่งไดย้ กใหเ้ ป็นบตุ รบุญธรรมคนอ่นื แล้ว
2.2 ใชส้ ิทธิเบกิ ได้ 3 คน เว้นแต่บุตรคนท่ี 3 เป็นฝาแฝดสามารถนำมาเบิกได้ 4 คน
2.3 เบิกเงนิ สวัสดิการเกี่ยวกับศกึ ษาบุตรภายใน 1 ปี นบั ตัง้ แตว่ ันเปิดภาคเรยี นของแตล่ ะภาค
จำนวนเงินทีเ่ บิกได้
1. ระดบั อนุบาลหรือเทยี บเท่า เบกิ ได้ปีละไมเ่ กิน 4,650 บาท
2. ระดับประถมศึกษาหรอื เทียบเท่า เบิกได้ปีละไมเ่ กนิ 3,200 บาท
3. ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ /มัธยมศึกษาตอนปลาย/หลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ(ปวช.) หรอื
เทยี บเทา่ เบิกได้ปลี ะไมเ่ กิน 3,900 บาท
4. ระดบั อนุปริญญาหรอื เทียบเท่า เบกิ ไดป้ ลี ะไม่เกนิ 11,000 บาท
ค่าเช่าบ้าน
1. ระเบียบและกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้อง
1.1 พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ ช้านข้าราชการ พ.ศ. 2550
1.2 ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบิกจา่ ยเงินคา่ เช่าบ้าน พ.ศ. 2549
2. สทิ ธกิ ารเบกิ เงนิ คา่ เช่าบ้าน
2.1 ไดร้ บั คำสัง่ ใหเ้ ดินทางไปประจำสำนักงานใหม่ในต่างทอ้ งที่ เว้นแต่
2.1.1 ทางราชการได้จัดที่พักอาศยั ใหอ้ ยูแ่ ลว้
2.1.2 มเี คหสถานเปน็ ของตนเองหรือคู่สมรส
2.1.3 ได้รบั คำส่งั ให้เดนิ ทางไปประจำสำนักงานใหม่ในต่างท้องท่ตี ามคำร้องขอของตนเอง
2.2 ขา้ ราชการผูไ้ ดร้ บั คำส่ังให้เดนิ ทางไปประจำสำนักงานในท้องที่ท่รี บั ราชการครงั้ แรกหรือท้องท่ีที่กลับเขา้
รับราชการใหม่ ให้มสี ิทธิไดร้ ับเงินค่าเชา้ บ้าน (พระราชกฤษฎกี าเช่าบา้ น 2550 (ฉบบั ท่ี 2) มาตรา
7)
2.3 ข้าราชการมสี ทิ ธิไดร้ บั เงินคา่ เชา่ บา้ นตั้งแต่วันทีเ่ ช่าอยู่จรงิ แต่ไม่ก่อนวนั ทรี่ ายงานตัวเพ่ือเขา้ รบั หน้าที่
(พระราชกฤษฎีกาคา่ เชา่ บา้ น 2547 มาตรา 14)
2.4 ข้าราชการซึง่ มีสิทธไิ ด้รบั เงินค่าเช่าบา้ นได้เช่าซื้อหรือผอ่ นชำระเงินกเู้ พ่ือชำระราคาบ้านท่ีคา้ งชำระอยู่
ในท้องทีท่ ่ีไปประจำสำนักงานใหม่ มีสทิ ธินำหลักฐานการชำระคา่ เช่าซ้ือหรือคา่ ผ่อนชำระเงินกู้ฯ มา
เบกิ ได้ (พระราชกฤษฎีกาคา่ เช่าบ้าน 2547 มาตรา 17)
11
กองทุนบำเหนจ็ บำนาญข้าราชการ (กบข.)
1. กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง
1.1 พ.ร.บ.กองทนุ บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2539
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญัติน้ี (สว่ นท่ีเก่ยี วข้อง)
บำนาญ หมายความวา่ เงนิ ที่จา่ ยใหแ้ ก่สมาชกิ เป็นรายเดือนเม่ือสมาชกิ ภาพของสมาชิกสน้ิ สดุ ลง
บำเหน็จตกทอด หมายความวา่ เงินทจ่ี า่ ยให้แกส่ มาชิก โดยจ่ายใหค้ ร้ังเดยี วเม่ือสมาชิกภาพ
ของสมาชิกส้ินสดุ ลง
บำเหนจ็ ตกทอด หมายความว่า เงินที่จา่ ยให้แก่ทายาทโดยจา่ ยใหค้ รัง้ เดยี วในกรณีทสี่ มาชกิ
หรือผูร้ ับบำนาญถึงแก่ความตาย
1.2 พ.ร.บ.กองทุนบำเหนจ็ บำนาญขา้ ราชการ (ฉบบั ท่ี 2 ) พ.ศ. 2542
2. ข้าราชการทุกประเภท (ยกเว้นราชการทางการเมือง) มสี ทิ ธิสมัครเป็นสมาชิก กบข. ได้แก่ ข้าราชการครู
ขา้ ราชการใหม่ ได้แก่ ผูซ้ งึ่ เขา้ รับราชการหรือโอนมาเป็นราชการตงั้ แตว่ ันที่ 27 มนี าคม 2540 เปน็ ตน้ จะต้อง
เปน็ สมาชิก กบข. และสะสมเงนิ เข้ากองทุน สมาชิกท่ีจา่ ยสะสมเข้ากองทุนในอัตราร้อยละ 3 ของเงนิ เดอื นเป็น
ประจำทกุ เดือน รฐั บาลจะจ่ายเงินสมทบให้กับสมาชิกในอัตราร้อยละ 3 ของเงนิ เดือนเป็นประจำทุกเดอื น
เช่นเดียวกัน และจะนำเงินดังกลา่ วไปลงทนุ หาผลประโยชน์เพือ่ จ่ายใหก้ ับสมาชิกเมื่อกอกจากราชการ
ระเบียบสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมสวัสดกิ ารและสวสั ดภิ าพครูและบุคลากรทางการศกึ ษาวา่
ดว้ ยการฌาปนกจิ สงเคราะห์เพอ่ื นครูและบุคลากรทางการศึกษา(ช.พ.ค.)
ในระเบียบน้ี ช.พ.ค. หมายความวา่ การฌาปนกจิ สงเคราะห์ชว่ ยเพอื่ นครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาการ
จัดตงั้ ช.พ.ค. มีความมงุ่ หมายเพื่อเป็นการกุศลและมีวตั ถุประสงค์ใหส้ มาชิกได้ทำการสงเคราะหซ์ ึ่งกนั และกันในการ
จัดการศพและสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. ท่ีถงึ แก่กรรมหลกั เกณฑ์และวธิ ีการจา่ ยเงนิ ค่าจดั การศพและ
เงินสงเคราะห์ครอบครัวใหเ้ ป็นไปตามท่คี ณะกรรมการ ช.พ.ค. กำหนด
ครอบครวั ของสมาชิก ช.พ.ค หมายถึง บคุ คลตามลำดบั ดังน้ี
1. คู่สมรสที่ชอบดว้ ยกฎหมาย บุตรทช่ี อบด้วยกฎหมาย บตุ รบญุ ธรรม บตุ รนอกสมรสที่บิดารบั รองแลว้
และบิดามารดาของสมาชกิ ช.พ.ค.
2. ผู้อยู่ในอปุ การะอยา่ งบตุ รของสมาชกิ ช.พ.ค.
3. ผู้อุปการะสมาชกิ ช.พ.ค.
ผู้มีสิทธิได้รับการสงเคราะห์ตามวรรคหนึง่ ยงั มชี ีวิตอยู่ หรือมผี ู้รบั มรดกยงั ไมข่ าดสายแล้วแต่กรณใี น
ลำดบั หนึ่งๆ บคุ คลที่อยู่ในลำดับถดั ไปไม่มีสทิ ธไิ ดร้ ับเงนิ สงเคราะหค์ รอบครวั ระเบียบน้ี
12
การสงเคราะห์ครอบครัวของสมาชกิ ช.พ.ค. สำหรบั บุตรให้พจิ ารณาใหบ้ ุตรสมาชิก ช.พ.ค. ไดร้ ับ
ความช่วยเหลอื เปน็ เงนิ ทุนสำหรับการศึกษาเลา่ เรยี นเป็นลำดับแรก
สมาชิก ช.พ.ค. ตอ้ งระบบุ ุคคลใดบคุ คลหนง่ึ หรือหลายคน เปน็ ผมู้ ีสิทธิรับเงินสงเคราะห์
สมาชิก ช.พ.ค. มหี น้าท่ดี ังต่อไปน้ี
1. ตอ้ งปฏิบัตติ ามระเบียบนี้
2. สง่ เงนิ สงเคราะหร์ ายศพ เม่ือสมาชิก ช.พ.ค. อน่ื ถงึ แก่กรรมศพละหนึ่งบาทภายใตเ้ ง่ือนไขดังต่อไปนี้
3. สมาชิก ช.พ.ค. ที่เป็นขา้ ราชการประจำ ขา้ ราชการบำนาญและผู้ทมี่ ีเงินเดือนหรือรายได้ รายเดือน ตอ้ ง
ยนิ ยอมใหเ้ จ้าหนา้ ทผ่ี จู้ ่ายเงนิ เดือนหรือเงินบำนาญเปน็ ผูห้ ักเงินเพื่อชำระเงนิ สงเคราะหร์ ายศพ ณ ท่จี า่ ย
ตามประกาศรายชื่อสมาชกิ ช.พ.ค. ทถี่ งึ แก่กรรม
คำจำกดั ความ
แผนการปฏบิ ตั งิ าน และแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการปฎบิ ตั ิงาน และ
แสดงรายละเอยี ดการใช้จ่ายงบประมาณรายจา่ ยตามแผนการปฏบิ ัติงานของโรงเรยี นบา้ นห้วงปลาไหล “สงิ หะวทิ ยา”
ในรอบปีงบประมาณ
การใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง การใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะ
วทิ ยา” เพอ่ื ดำเนนิ ตามแผนการปฏิบตั ิงานในรอบปี
การจัดสรรงบประมาณ หมายถึง การจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจา่ ย
ประจำปี หรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้ส่วนราชการใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพัน ทั้งนี้ อาจ
ดำเนนิ การโดยใชก้ ารอนมุ ตั ิเงนิ ประจำงวดหรือโดยวธิ ีการอื่นใดตามท่สี ำนักงบประมาณกำหนด
เป้าหมายยุทธศาสตร์ หมายถึง ผลสัมฤทธิ์ท่ีการใชจ้ า่ ยงบประมาณต้องการจะใหเ้ กิดตอ่ นักเรียน บุคลากร
โรงเรียนบา้ นห้วงปลาไหล “สงิ หะวิทยา”
แผนการปฏิบัติงาน หมายถึง แผนการปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” ในรอบ
ปงี บประมาณ
แผนการใช้จ่ายงบประมาณ หมายถึง แผนแสดงรายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายสำหรับ
โรงเรยี นบา้ นห้วงปลาไหล “สิงหะวิทยา” เพื่อดำเนินงานตามแผนการปฏบิ ตั ิงานในรอบปงี บประมาณ
โครงการ หมายถงึ โครงการที่กำหนดขึ้นเพือ่ ใช้จ่ายเงนิ เปน็ ไปตามในระหวา่ งปงี บประมาณ
งบรายจา่ ย หมายถึง กล่มุ วตั ถุประสงคข์ องรายจ่าย ท่ีกำหนดใหจ้ ่ายตามหลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณ
จำแนกงบรายจ่ายตามหลักจำแนกประเภทงบประมาณตามงบรายจา่ ย ดังน้ี
13
งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ
เงินเดือน ค่าจ้างประจำ ค่าจ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายจากงบ
รายจา่ ยอน่ื ในลกั ษณะดังกล่าว
งบดำเนินงาน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานประจำ ได้แก่รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะ
คา่ ตอบแทน คา่ ใช้สอย คา่ วสั ดุ ค่าสาธารณูปโภค
งบลงทุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเพื่อการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายในลักษณะ ค่าครุภัณฑ์ ค่าที่ดิน
และสงิ่ ก่อสร้าง
งบเงินอุดหนุน หมายถึง รายจ่ายที่กำหนดให้จ่ายเป็นค่าบำรุง หรือเพื่อช่วยเหลือสนุบสนุนการดำเนินงาน
ของหน่วยงานองค์กรตามรัฐธรรมนญู หรอื หน่วยงานของรัฐซึ่งมใิ ช่ส่วนราชการส่วนกลางตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บรหิ ารราชการแผ่นดนิ หน่วยงานในกำกับของรฐั องค์การมหาชน รัฐวิสาหกจิ องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น สภาตำบล
องค์การระหว่างประเทศบิติบุคคล เอกชนหรือกิจการอันเป็นสาธารณประโยชน์ รวมถึง เงินอุดหนุนงบ
พระมหากษัตริย์ เงนิ อดุ หนุนการศาสนา และรายจา่ ยท่สี ำนักงบประมาณกำหนดให้จ่ายในงบรายจา่ ยนี้
งบรายจ่ายอื่น หมายถึง รายจ่ายที่ไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใดงบรายจ่ายหนึ่ง หรือรายจ่ายท่ี
สำนกั งบประมาณกำหนดให้ใชจ้ ่ายในงบรายจ่ายนี้ เช่น
(1) เงินราชการลับ
(2) เงนิ ค่าปรับที่จา่ ยคืนใหแ้ กผ่ ขู้ ายหรอื ผ้รู ับจา้ ง
(3) ค่าจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิจัย ประเมินผล หรือพัฒนาระบบต่างๆซึ่งมิใช่เพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง
ครุภณั ฑท์ ี่ดินหรอื สง่ิ ก่อสรา้ ง
(4) คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศช่วั คราว
(5) คา่ ใช้จ่ายสำหรบั หนว่ ยงานองคก์ รตามรัฐธรรมนญู (สว่ นราชการ)
(6) คา่ ใชจ้ ่ายเพ่ือชำระหนี้เงินกู้
(7) ค่าใช้จา่ ยสำหรบั กองทุน หรอื เงนิ ทุนหมุนเวยี น
หนา้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ
กล่มุ การบรหิ ารงบประมาณ
นางวิภารัตน์ นามโย ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มบริหารงบประมาณ มีหน้าที่ดูแล กำกับติดตาม กลั่นกรอง
อำนวยความสะดวก ให้คำแนะนำปรึกษาการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในกลุ่มบริหารงบประมาณ ตาม
ขอบข่ายและภารกิจการบริหารงบประมาณ ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารองค์กรการประสานงาน
และใหบ้ รกิ ารสนับสนนุ สง่ เสริมให้ฝ่ายบริหารงบประมาณตา่ งๆ ในโรงเรยี นสามารถบริหารจดั การและดำเนินการตาม
บทบาทภารกิจ อำนาจหน้าที่ด้วยความเรียบร้อยตลอดจนสนับสนนุ และใหบ้ รกิ ารข้อมูล ขา่ วสาร เอกสาร สื่อ อปุ กรณ์
ทางการศึกษาและทรัพยากรที่ใช้ในการจัดการศึกษาแก่เจ้าหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงานเพื่อให้ฝ่ายงานบริหารจัดการได้
อย่างสะดวกคล่องตัวมคี ุณภาพและเกิดประสทิ ธิผล
14
ขอบขา่ ยกล่มุ การบริหารงบประมาณ มีดงั น้ี
1. การจดั ทำแผนงบประมาณและคำขอต้งั งบประมาณเพอื่ เสนอตอ่ เลขาธกิ ารคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
ผู้รับผดิ ชอบ นางวิภารตั น์ นามโย หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัติงานดงั น้ี
1) จัดทำข้อมูลสารสนเทศทางการเงินของสถานศึกษา ได้แก่ แผนชั้นเรียน ข้อมูลครูนักเรียน และ
ส่ิงอำนวยความสะดวกของสถานศึกษา โดยความรว่ มมือของสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
2) จัดทำกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้า และแผนงบประมาณ
3) เสนอแผนงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อใช้เป็นคำ
ขอต้งั งบประมาณต่อสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา
2. การจดั ทำแผนปฏิบัติการใชจ้ ่ายเงิน ตามทไ่ี ด้รับจดั สรรงบประมาณจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐานโดยตรง
ผู้รับผิดชอบ นางสาวจิฬาภัณฑ แซมโต หน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติงานและผู้รับผิดชอบโครงการฯ
ดังนี้
1) จดั ทำแผนปฏบิ ัติการประจำปีและแผนการใช้จ่ายงบประมาณภายใต้ความร่วมมือของสำนักงาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
2) ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณต่อคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
3. การอนุมัติการใชจ้ า่ ยงบประมาณทไี่ ดร้ ับจัดสรร
ผู้รบั ผดิ ชอบ นางวภิ ารัตน์ นามโย หน้าทรี่ บั ผิดชอบเสนอโครงการดงั น้ี
- ผู้อำนวยการสถานศึกษาอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณตามงาน/โครงการท่ีกำหนดไว้ในแผนปฏบิ ตั ิ
การประจำปี และแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ภายใตค้ วามรว่ มมือของสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา
4. การขอโอนและการขอเปลยี่ นแปลงงบประมาณ
ผรู้ ับผดิ ชอบ นางวิภารัตน์ นามโย หน้าทร่ี บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงานดังน้ี
1) ตรวจสอบรายละเอียดรายการงบประมาณที่จำเป็นต้องขอโอนหรือเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับ
สถานศึกษาประเภทที่ 1 เสนอความเห็นชอบคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วเสนอ ขอโอนหรือ
เปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณตอ่ สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา เพอ่ื ดำเนินการตอ่ ไป
5. การรายงานผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ
ผ้รู ับผิดชอบ นางวิภารัตน์ นามโย หน้าที่รบั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดงั นี้
1) รายงานผลการดำเนินงาน ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณประจำปี ไปยังสำนักงานเขต
พืน้ ทีก่ ารศกึ ษา
6. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ
ผรู้ บั ผดิ ชอบ นางวิภารัตน์ นามโย หน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้
1) จดั การใหม้ ีการตรวจสอบและติดตามให้ กลุ่ม ฝา่ ยงาน ในสถานศึกษา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน
และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เพื่อจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณตามแบบที่สำนัก
15
งบประมาณกำหนด และจัดส่งไปยังสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทุกไตรมาส ภายในระยะเวลาที่สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษากำหนด
2) จัดทำรายงานประจำปีที่แสดงถึงความสำเร็จในการปฏิบัติงาน และจัดส่งให้สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาภายในระยะเวลาท่ีสำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษากำหนด
7. การตรวจสอบ ติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจากงบประมาณ
ผรู้ ับผิดชอบ นางวภิ ารตั น์ นามโย หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบปฏิบัตงิ านดังน้ี
1) ประเมนิ คุณภาพการปฏบิ ัตงิ านตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย
2) วางแผนประเมินประสิทธภิ าพ และประสิทธิผลการดำเนนิ งานของสถานศึกษา
3) วิเคราะห์และประเมินความมีประสิทธิภาพ ประหยัด และความคุ้มค่าในการใช้ทรัพยากรของ
หน่วยงานในสถานศกึ ษา
8. การระดมทรพั ยากรและการลงทุนเพอื่ การศกึ ษา
ผรู้ ับผิดชอบ นางวิภารัตน์ นามโย หนา้ ท่รี ับผิดชอบปฏิบตั ิงานดังนี้
1) วางแผน รณรงค์ ส่งเสริมการระดมทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนาการศึกษาให้ดำเนินงาน
ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธิผล คุม้ ค่า และมีความโปรง่ ใส
2) จัดทำข้อมูลสารสนเทศ และระบบการรับจ่ายทุนการศึกษาและเพื่อการพัฒนาการศึกษาให้
ดำเนนิ งานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกิดประสทิ ธผิ ล คุ้มค่า และมคี วามโปร่งใส
3) สรุป รายงาน เผยแพร่ และเชิดชูเกียรติผู้สนับสนุนทุนการศึกษาและทุนเพื่อการพัฒนา
สถานศกึ ษา โดยความชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
9. การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา
ผรู้ บั ผิดชอบ นายสมโภชน์ ขันธาฤทธ์ิ หน้าท่รี บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั นี้
1) จดั ทำรายการทรัพยากรเพ่ือเปน็ สารสนเทศไดแ้ ก่แหลง่ เรยี นรภู้ ายในสถานศึกษา แหลง่ เรียนรู้ใน
ท้องถิ่นทั้งที่เป็นแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่น แหล่งเรียนรู้ที่เป็นสถานประกอบการ เพื่อการรับรู้ของ
บุคลากรในสถานศกึ ษา นกั เรยี นและบุคคลทั่วไปจำได้เกดิ การใช้ทรัพยากรรว่ มกันในการจดั การศึกษา
2) วางระบบหรือกำหนดแนวปฏบิ ัติการใช้ทรัพยากรร่วมกันกบั บุคคล หนว่ ยงานรัฐบาลและเอกชน
เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด
3) กระตุ้นให้บุคคลในสถานศึกษาร่วมใช้ทรัพยากรภายในและภายนอก รวมทั้งให้บริการการใช้
ทรัพยากรภายในเพือ่ ประโยชน์ตอ่ การเรยี นร้แู ละส่งเสริมการศึกษาในชมุ ชน
4) ประสานความร่วมมือกับผู้รับผิดชอบแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรที่มนุษย์สร้าง
ทรัพยากรบคุ คลทม่ี ีศกั ยภาพให้การสนบั สนุนการจดั การศึกษา
5) ดำเนินการเชิดชูเกียรติบุคคลและหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ที่สนับสนุนการใช้ทรัพยากร
ร่วมกันเพอ่ื การศกึ ษาของสถานศึกษา
16
10. การวางแผนพัสดุ
ผรู้ บั ผิดชอบ นางสาวจินตนา สมหงษ์ หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัติงานดังนี้
1) การวางแผนพัสดุล่วงหนา้ 3 ปี ใหด้ ำเนนิ การตามกระบวนการของการวางแผนงบประมาณ
2) การจัดทำแผนการจัดหาพัสดุให้ฝ่ายที่ทำหน้าที่จัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้ดำเนินการ โดยให้ฝ่าย
ที่ต้องการใช้พัสดุ จัดทำรายละเอียดพัสดุที่ต้องการ คือรายละเอียดเกี่ยวกับปริมาณ ราคา คุณลักษณะเฉพาะ หรือ
แบบรปู รายการและระยะเวลาท่ีต้องการนี้ต้องเป็นไปตามแผนปฏบิ ัติการประจำปี (แผนปฏบิ ัตงิ าน) และตามท่ีระบุไว้
ในเอกสารประกอบพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจำปี สง่ ใหฝ้ า่ ยทที่ ำหน้าทจี่ ัดซื้อจัดจ้างเพื่อจัดทำแผนการ
จดั หาพสั ดุ
3) ฝ่ายท่ีจัดทำแผนการจัดหาพสั ดุทำการรวบรวมขอ้ มูลรายละเอียดจากฝ่ายท่ตี ้องการใช้พัสดุโดยมี
การสอบทานกับแผนปฏิบัติงานและเอกสารประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี และความ
เหมาะสมของวิธีการจัดหาว่าควรเป็นการซื้อ การเช่าหรือการจัดทำเองแล้วจำนำข้อมูลที่สอบทานแล้วมาจัดทำ
แผนการจัดหาพัสดใุ นภาพรวมของสถานศึกษา
11. การกำหนดแบบรูปรายการหรอื คณุ ลักษณะเฉพาะของครุภณั ฑ์หรอื สิ่งก่อสร้างท่ีใชเ้ งินงบประมาณเพ่ือสนอง
ตอ่ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
ผูร้ บั ผิดชอบ นางสาวจินตนา สมหงษ์ หนา้ ทร่ี ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) กำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะเพื่อประกอบการขอตั้งงบประมาณ ส่งให้
สำนักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา
2) กรณีที่เป็นการจัดหาจากเงินนอกงบประมาณให้กำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ
ได้โดยให้พิจารณาจากแบบมาตรฐานก่อนหากไม่เหมาะสมก็ให้กำหนดตามความต้องการโดยยึดหลักความโปร่งใส
เปน็ ธรรมและเป็นประโยชน์กับทางราชการ
12. การจดั หาพัสดุ
ผู้รบั ผิดชอบ นางสาวจินตนา สมหงษ์ หน้าท่รี ับผิดชอบปฏิบัตงิ านดังนี้
1) การจัดหาพัสดุถือปฏิบัติตามระเบยี บว่าด้วยการพัสดุของส่วนราชการและคำส่ังมอบอำนาจของ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2) การจัดทำพัสดุถือปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาว่าด้วยการให้สถานศึกษารับจัดทำรับ
บริการ
13. การควบคมุ ดูแล บำรงุ รกั ษาและจำหนา่ ยพัสดุ
ผูร้ ับผดิ ชอบ นายสมโภชน์ ขันธาฤทธิ์ หนา้ ทีร่ บั ผิดชอบปฏบิ ัตงิ านดงั นี้
1) จัดทำทะเบียนคมุ ทรัพยส์ นิ และบญั ชีวัสดไุ มว่ า่ จะได้มาด้วยการจัดหาหรือการรบั บริจาค
2) ควบคุมพัสดใุ หอ้ ยใู่ นสภาพพรอ้ มการใชง้ าน
3) ตรวจสอบพัสดุประจำปี และให้มีการจำหน่ายพัสดุที่ชำรุด เสื่อมสภาพหรือไม่ใช้ในราชการอีก
ต่อไป
17
4) พัสดทุ เี่ ป็นทด่ี ินหรอื สิง่ ก่อสรา้ ง กรณีที่ไดม้ าดว้ ยเงนิ งบประมาณใหด้ ำเนนิ การข้ึนทะเบยี น เปน็
ราชพสั ดุ กรณีทไ่ี ด้มาจากการรับบรจิ าคหรือจากเงินรายได้สถานศึกษาให้ขึ้นทะเบยี นเปน็ กรรมสิทธิ์ของสถานศึกษา
14. การรบั เงิน การเก็บรกั ษาเงิน และการจา่ ยเงิน
ผ้รู ับผิดชอบ นางวภิ ารตั น์ นามโย หนา้ ท่ีรบั ผดิ ชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) การปฏบิ ตั ิเกี่ยวกบั การรับเงนิ และการจา่ ยเงินใหป้ ฏิบัติตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลังกำหนด
คือ ระเบียบการเก็บรักษาเงนิ และการนำเงนิ ส่งคลงั ในหน้าที่ของอำเภอ พ.ศ. 2520 โดยสถานศึกษาสามารถกำหนด
วิธีปฏบิ ัตเิ พิม่ เติมได้ตามความเหมาะสมแตต่ อ้ งไมข่ ัดหรือแยง้ กบั ระเบยี บดังกล่าว
2) การปฏิบัติเกี่ยวกับการเก็บรักษาเงินให้ปฏิบัติตามระเบียบที่กระทรวงการคลังกำหนด
คอื ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงนิ สง่ คลงั ในสว่ นของราชการ พ.ศ. 2520 โดยอนโุ ลม
15. การนำเงินส่งคลัง
ผ้รู ับผิดชอบ นางวภิ ารัตน์ นามโย หน้าท่รี บั ผิดชอบปฏิบัติงานดังนี้
1) การนำเงินส่งคลังให้นำส่งต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ตาม
ระเบียบการเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลังในหน้าที่ของอำเภอพ.ศ. 2520 หากนำส่งเป็นเงินสดให้ต้ัง
คณะกรรมการนำสง่ เงินดว้ ย
16. การจดั ทำบัญชกี ารเงนิ
ผูร้ ับผดิ ชอบ นางวภิ ารัตน์ นามโย หนา้ ท่รี บั ผิดชอบปฏบิ ตั งิ านดังน้ี
1) ให้จัดทำบัญชีการเงินตามระบบที่เคยจัดทำอยู่เดิม คือ ตามระบบที่กำหนดไว้ในคู่มือการบัญชี
หน่วยงานยอ่ ย พ.ศ. 2515 หรอื ตามระบบการควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544 แลว้ แตก่ รณี
17. การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงิน
ผรู้ บั ผิดชอบ นางวิภารัตน์ นามโย หน้าทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั งิ านดงั น้ี
1) จัดทำรายงานตามที่กำหนดในคู่มือการบัญชีสำหรับหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือ ตามระบบ
การควบคุมการเงินของหน่วยงานย่อยพ.ศ. 2515 แล้วแต่กรณี
2) จัดทำรายงานการรับจ่ายเงินรายได้สถานศึกษา ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พ้นื ฐานกำหนด คือ ตามประกาศสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานว่าด้วยหลักเกณฑ์ อตั ราและวิธีการนำ
เงินรายได้สถานศึกษาไปจ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นนิ ติบุคคลรายได้สถานศึกษาไป
จ่ายเปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การของสถานศกึ ษาท่เี ป็นนิติบคุ คลในสังกดั เขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษา
18. การจดั ทำและจัดหาแบบพิมพ์บัญชี ทะเบยี นและรายงาน
ผู้รับผิดชอบ นางวภิ ารตั น์ นามโย หน้าท่รี ับผิดชอบปฏบิ ัติงานดงั น้ี
1) แบบพิมพ์บัญชี ทะเบียนและแบบรายงานให้จัดทำตามแบบที่กำหนดในคู่มือการบัญชีสำหรับ
หน่วยงานย่อย พ.ศ. 2515 หรือตามระบบการควบคุมการเงนิ ของหน่วยงานย่อย พ.ศ. 2544
18
โรงเรยี นไพลอำนวยวทิ ย์
สำนักงำนเขตพน้ื ทีก่ ำรศกึ ษำประถมศกึ ษำสรุ ินทร์ เขต 3
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขัน้ พน้ื ฐำน กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร