The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Natthakan Saowakhon, 2023-03-10 04:02:39

แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องเส้นขนานป.5(หน้าเดียว)

เล่มแผนเส้นขนานป.5

แผนการจัดการเรียนรู้ เ รื่อ ง เส้นขน าน ร หั สวิ ช า ค 15101 ชั้ น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ปีก า ร ศึ ก ษ า 2565 วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ โ ร ง เ รี ย น ไ พ ล อ า น ว ย วิ ท ย์ ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า สุ ริ น ท ร์ เ ข ต 3 ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พื้ น ฐ า น ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์ ต าเหน่ง ครู ป . 5


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง เตรียมความพร้อม เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ การวัดขนาดของมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ต้องท าให้ถูก วิธี จึงจะทราบขนาดมุมที่แท้จริง การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ท าให้มุมที่สร้างมี ขนาดตามที่ก าหนด จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายการเรียกชื่อมุม การวัดขนาดของมุมได้ 2. อธิบายการสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ได้ (K) 3. วัดและบอกขนาดของมุมได้ (P) 4. สร้างมุมตามที่ก าหนดได้ (P) 5. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยน าสนทนาเกี่ยวกับประวัติของการรถไฟในประเทศไทย จากนั้นสนทนาเกี่ยวกับ การขนานกันโดยใช้ค าถามจากหน้าเปิดบท ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนท ากิจกรรมเตรียมความพร้อมหน้า 52 เพื่อเป็นการตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับการ วัดขนาดของมุมชนิดของมุม และการสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ถ้าพบนักเรียนที่ความรู้พื้นฐานยังไม่เพียงพอ ครูควร ทบทวนก่อน โดยใช้การถามตอบประกอบการอธิบาย 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 1 เตรียมความพร้อม ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 1 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 1 เตรียมความพร้อม บันทึกหลังการสอน ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ - ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง เส้นตั้งฉาก เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ ถ้าเส้นตรง 2 เส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ตัดกันเป็น มุมฉากแล้ว เส้นตรงทั้งสองเส้นจะตั้งฉากกัน ดังนั้น เรา จึงสามารถสร้างเส้นตั้งฉากได้โดยสร้างเส้นตรงให้ตัดกัน เป็นมุมฉาก จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับเส้นตั้งฉากและสัญลักษณ์แสดงการตั้ง ฉากได้ (K) 2. ระบุเส้นตรงคู่ที่ขนานกันโดยพิจารณาจากระยะห่าง ระหว่างเส้นตรงได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาเกี่ยวกับจุดตัด โดยครูติดบัตรภาพบนกระดานแล้วถามค าถามนักเรียน - มีส่วนของเส้นตรงทั้งหมดกี่เส้น - เส้นใดบ้าง - ส่วนของเส้นตรงสองเส้นมีลักษณะอย่างไร และตัดกันที่จุดใด ขั้นสอน 1. ครูอธิบายลักษณะของเส้นตั้งฉากพร้อมแนะน าสัญลักษณ์แสดงการตั้งฉากในหน้า 53 จากนั้นน าสนทนาเกี่ยวกับวิธี สร้างเส้นตั้งฉาก พร้อมสาธิตวิธีการสร้างเส้นตั้งฉาก แล้วให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมหน้า 54-55 2. ครูตรวจสอบความเข้าใจและตอบค าถามสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยให้นักเรียนโดยท ากิจกรรมหน้า 55 เป็นรายบุคคล 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 2 เส้นตั้งฉาก ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 2 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 2 เส้นตั้งฉาก บันทึกหลังการสอน A D C B O ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง วัดได้จากระยะทางที่ สั้นที่สุดจากจุดไปยังเส้นตรง รังสี หรือส่วนของเส้นตรง นั้น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นได้ (K) 2. บอกระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง การตัดกันของเส้นตรงสองเส้น โดยติดบัตรภาพบนกระดานแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าเส้นตรง สองเส้นมีลักษณะอย่างไร ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมส ารวจระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรงหน้า 56 เพื่อน าไปสู่ข้อค้นพบที่ว่าส่วนของเส้นตรง ที่ลากจากจุดเดียวกันมายังเส้นตรง เส้นตั้งฉากเป็นส่วนของเส้นตรงที่สั้นที่สุด แล้วร่วมกันก าหนดข้อตกลงว่า ระยะห่าง ระหว่างจุดกับเส้นตรง คือ ความยาวของส่วนของเส้นตรงที่ลากจากจุดไปตั้งฉากกับเส้นตรงนั้น 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 3 ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 3 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 3 ระยะห่างระหว่างจุดกับเส้นตรง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เส้นตรง 2 เส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันจะขนานกันก็ ต่อเมื่อมีระยะห่างเท่ากันเสมอ ใช้สัญลักษณ์ // แสดงการ ขนาน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับเส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการ ขนานได้ (K) 2. เขียนสัญลักษณ์แสดงการขนานได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้น โดยติดบัตรภาพบนกระดาน แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า ภาพใดแสดงระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้น ขั้นสอน 1. ครูแนะน านักเรียนว่าเส้นตรง 2 เส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันจะขนานกันก็ต่อเมื่อมีระยะห่างเท่ากันเสมอ พร้อมแนะน า สัญลักษณ์แสดงการขนาน ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการขนานกันและไม่ขนานกันของเส้นตรง 2 เส้น โดยยกตัวอย่างโดยใช้ ข้อมูลหน้า 57 แล้วให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 58-59 2. ครูตรวจสอบความเข้าใจและตอบสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยให้นักเรียนโดยท ากิจกรรมหน้า 59 เป็นรายบุคคล 3. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 4 เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการขนาน ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 4 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 4 เส้นขนานและสัญลักษณ์แสดงการ ขนาน บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง เส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรง ที่ตัดเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรง ตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป ซึ่งอยู่บน ระนาบเดียวกัน เรียกว่า เส้นตัดขวาง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายเส้นตัดขวางได้ (K) 2. บอกเส้นตัดขวางได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้น โดยติดบัตรภาพบนกระดานแล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่า ภาพใดแสดงระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้น ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนท ากิจกรรม โดยก าหนดเส้นตรงหลาย ๆ คู่ที่ขนานกันและไม่ขนานกัน แล้วให้นักเรียนเขียนเส้นตรงให้ตัด เส้นตรงแต่ละคู่ จากนั้นครูแนะน าว่าเส้นตรงที่ตัดเส้นตรงตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไป ซึ่งอยู่บนระนาบเดียวกัน เรียกว่าเส้นตัดขวาง โดยอาจใช้ตัวอย่างหน้า 60 หรือยกตัวอย่างเพิ่มเติม แล้วให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 61 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ เกี่ยวกับเส้นตัดขวาง 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 5 เส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 5 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 5 เส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เมื่อเส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งเป็น เส้นตัดขวาง ท าให้เกิดมุม 8 มุมที่ไม่ทับซ้อนกัน พบว่า เส้นตัดขวางแบ่งมุมเป็น 2 ข้าง คือ มุมที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวาง และมุมที่อยู่คนละข้างของ เส้นตัดขวาง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของมุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวางได้ (K) 2. บอกชื่อมุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง เส้นขนาน โดยติดบัตรภาพบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงคู่ใด ขนานกัน ขั้นสอน 1. ครูใช้ข้อมูลหน้า 62 ประกอบการอธิบายว่า เมื่อเส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งเป็นเส้นตัดขวางท าให้เกิดมุม 8 มุมที่ไม่ทับซ้อนกัน ดังรูป และพบว่าเส้นตัดขวางแบ่งมุมเป็น 2 ข้าง ครูแนะน า มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง และ มุมที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวาง แล้วให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 63 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 6 มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 6 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 6 มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ มุมที่เกิดจากเส้นตัดขวางตัด เส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ หนึ่งที่อยู่ภายในเส้นตรงหรือส่วน ของเส้นตรงคู่ นั้นแต่อยู่คนละข้างรียกว่ามุมภายในที่อยู่คนละข้างของ เส้นตัดขวาง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกัน ของเส้นตัดขวางได้ (K) 2. บอกชื่อมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวางได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง โดยติดภาพเส้นขนาน 1 คู่บนกระดาน ให้นักเรียนเขียน ชื่อมุมที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ขั้นสอน 1. ครูใช้ข้อมูลหน้า 64 ประกอบการอธิบายว่าเมื่อเส้นตรงคู่หนึ่ง มีเส้นตรงอีกเส้นหนึ่งเป็นเส้นตัดขวางท าให้เกิดมุม 8 มุมที่ไม่ทับซ้อนกัน ดังรูป เมื่อพิจารณาจากเส้นตรงคู่นี้ พบว่า มีมุม 2 ชุด ครูแนะน า มุมภายในและมุมภายนอก จากนั้นจึง แนะน า มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง และมุมภายในที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวาง แล้วให้นักเรียนร่วมกัน ท ากิจกรรมหน้า 65 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 7 มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 7 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 7 มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง มุมแย้งภายในและมุมแย้งภายนอก เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ มุมที่เกิดจากเส้นตัดขวางตัดเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่หนึ่ง มุมภายในที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวาง ซึ่งจุดยอดมุมไม่ใช่จุดเดียวกัน เรียกว่ามุมแย้งภายใน มุมที่เกิดจากเส้นตัดขวางตัดเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่หนึ่งมุมภายนอกที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวาง ซึ่งจุดยอดมุมไม่ใช่จุดเดียวกัน เรียกว่ามุมแย้งภายนอก จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายลักษณะของมุมแย้งภายในและมุมแย้ง ภายนอกได้ (K) 2. บอกชื่อมุมแย้งภายในและมุมแย้งภายนอกได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง โดยติดบัตรภาพบนกระดาน ให้นักเรียนเขียนชื่อ มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง และมุมภายในที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวาง ขั้นสอน 1. ครูใช้ข้อมูลหน้า 66 ประกอบการอธิบายว่ามุมแย้งภายใน คือ มุมที่เกิดจากเส้นตัดขวางตัดเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่หนึ่ง มุมภายในที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวางซึ่งจุดยอดมุมไม่ใช่จุดเดียวกัน และมุมแย้งภายนอก คือ มุมที่เกิดจาก เส้นตัดขวางตัดเส้นตรงหรือส่วนของเส้นตรงคู่หนึ่งมุมภายนอกที่อยู่คนละข้างของเส้นตัดขวางซึ่งจุดยอดมุมไม่ใช่จุดเดียวกัน แล้วให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 67 2. ครูตรวจสอบความเข้าใจและตอบค าถามสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยให้นักเรียนโดยท ากิจกรรมหน้า 68 เป็นรายบุคคล 3. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 8 มุมแย้งภายในและมุมแย้งภายนอก ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 8 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 8 มุมแย้งภายในและมุมแย้งภายนอก บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมี ขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติของมุมแย้งที่เท่ากัน เพื่อบอกว่า เส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (K) 2. ใช้สมบัติขนาดของมุมแย้งที่เท่ากัน เพื่อบอกว่า เส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมแย้ง โดยติดภาพเส้นขนานที่มีเส้นตัดบนกระดานให้นักเรียนช่วยกันหามุมแย้ง ขั้นสอน 1. ครูควรสาธิตการปฏิบัติกิจกรรมในหน้า 69 พร้อมกับให้นักเรียนท าตามทีละขั้นตอนแล้วช่วยกันบอกผลการปฏิบัติ กิจกรรม ซึ่งจะได้ว่ามุมแย้งภายในมีขนาดเท่ากัน ครูก าหนดข้อตกลงว่ามุมแย้งที่กล่าวถึงในระดับชั้นนี้ หมายถึงมุมแย้งภายใน เท่านั้น จากนั้นให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมหน้า 70 แล้วร่วมกันตอบค าถาม และอภิปรายเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อ น าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งแล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากัน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรม หน้า 71 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 9 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 9 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 9 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมี ขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติของมุมแย้งที่เท่ากัน เพื่อบอกว่า เส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (K) 2. ใช้สมบัติขนาดของมุมแย้งที่เท่ากัน เพื่อบอกว่า เส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมแย้ง โดยติดบัตรภาพเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งบนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนเขียน ชื่อเส้นตรงก ากับ พร้อมทั้งใส่ตัวเลขก ากับมุมภายในและวัดขนาดของมุมภายในแต่ละมุม แล้วเปรียบเทียบขนาดของมุมแย้ง แต่ละคู่ ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบการขนานกันของเส้นตรงหน้า 72 แล้วร่วมกันตอบค าถามและอภิปรายเกี่ยวกับ ผลการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมีขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่ นั้นจะขนานกัน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 73 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 10 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุมแย้ง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 10 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 10 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยมุม แย้ง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งแล้ว ขนาดของ มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180˚ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวางเพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใด ขนานกันได้ (K) 2. ใช้ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูให้นักเรียนตรวจสอบการขนานกันของเส้นตรง โดยก าหนดบัตรภาพให้นักเรียนตรวจสอบขนาดของมุมแย้ง และ ตรวจสอบการขนานกันของเส้นตรง ขั้นสอน 1. ครูควรสาธิตการปฏิบัติกิจกรรมสมบัติของเส้นขนานหน้า 74 พร้อมกับให้นักเรียนท าตามทีละขั้นตอนแล้วช่วยกันบอก ผลการปฏิบัติกิจกรรม ซึ่งจะได้ว่ามุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° จากนั้นให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมหน้า 75 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 11 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 11 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 11 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวก มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งแล้ว ขนาดของ มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180˚ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวางเพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใด ขนานกันได้ (K) 2. ใช้ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง โดยติดบัตรภาพเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่ หนึ่งบนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันเขียนชื่อเส้นตรง พร้อมทั้งใส่ตัวเลขก ากับมุมภายในและวัดขนาดของมุมภายในที่ อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางแต่ละมุม แล้วหาผลบวกของมุมภายใน ขั้นสอน 1. ครูและนักเรียนแล้วร่วมกันตอบค าถามหน้า 76 และอภิปรายเกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า ถ้าเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งแล้ว ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° จากนั้น ให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 77 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 12 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 12 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 12 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวก มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้าขนาดของ มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° แล้ว เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวางเพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใด ขนานกันได้ (K) 2. ใช้ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง เพื่อบอกว่าเส้นตรงคู่ใดขนานกันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ให้นักเรียนช่วยกันหาขนาดของมุมตามที่ก าหนดให้ ขั้นสอน 1. ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตรวจสอบการขนานกันของเส้นตรงหน้า 78 แล้วร่วมกันตอบค าถาม และอภิปราย เกี่ยวกับผลการปฏิบัติกิจกรรม เพื่อน าไปสู่ข้อสรุปที่ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้าขนาดของมุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° แล้ว เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 79 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 13 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวกมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ เส้นตัดขวาง ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 13 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 13 การพิจารณาเส้นขนานโดยอาศัยผลบวก มุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การพิจารณาเส้นขนาน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ ถ้ามุมแย้งมีขนาดเท่ากัน หรือถ้าขนาดของมุมภายใน ที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180° แล้ว เส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายสมบัติขนาดของมุมแย้งและมุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180˚ ได้ (K) 2. ใช้สมบัติขนาดของมุมแย้งและมุมภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180˚ ได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนความรู้เรื่อง มุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง โดยติดบัตรภาพบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกัน บอกว่ามุมใดเป็นมุมภายในหรือมุมภายนอกที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง ขั้นสอน 1. ครูติดบัตรภาพเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นขนานคู่หนึ่งบนกระดาน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันบอกชื่อเส้นตรงก ากับ พร้อม ทั้งใส่ตัวเลขก ากับมุมภายในและวัดขนาดของมุมภายในแต่ละมุม ถ้าขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวาง รวมกันได้ 180˚ หรือถ้ามุมแย้งมีขนาดเท่ากัน แสดงว่าเส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันท ากิจกรรมหน้า 80 2. ครูตรวจสอบความเข้าใจและตอบค าถามสิ่งที่ได้เรียนรู้โดยให้นักเรียนโดยท ากิจกรรมหน้า 81 เป็นรายบุคคล 3. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 14 การพิจารณาเส้นขนาน ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 14 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 14 การพิจารณาเส้นขนาน บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่ก าหนด เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ การสร้างเส้นขนานท าได้โดยอาศัยคุณสมบัติที่ว่า เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันขนานกันก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทั้งสองมีระยะห่างเท่ากันเสมอ การใช้ไม้ฉากใน การสร้างเส้นขนานท าให้ได้เส้นตรงที่มีระยะห่างตั้งฉากกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการสร้างเส้นขนานให้มีระยห่างตามที่ ก าหนดให้ได้ (K) 2. สร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่ก าหนดให้ได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การแก้ปัญหา • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การเชื่อมโยง • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน นักเรียนทบทวนความรู้เรื่องเส้นขนานโดยให้นักเรียนแสดงการขนานกันโดยใช้วิธีการต่าง ๆ เช่น นิ้วชี้ข้างซ้ายขนานกับ นิ้วชี้ข้างขวาฝ่ามือซ้ายขนานกับฝ่ามือขวาช่วงแขนตั้งแต่ศอกถึงปลายนิ้วด้านซ้ายขนานกับด้านขวาโดยให้บอกลักษณะส าคัญ ท าให้เกิดเส้นขนาน ขั้นสอน 1. ครูสาธิตการสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่ก าหนด และให้นักเรียนท าตามทีละขั้น โดยอาจใช้ข้อมูลหน้า 82 แล้ว ให้นักเรียนท าตามทีละขั้น จากนั้นร่วมกันสร้างเส้นตรง 2 เส้นให้ขนานกัน และมีระยะห่าง 3 เซนติเมตรพร้อมท าลงสมุด 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 15 การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่ก าหนด ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 15 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 15 การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่าง ตามที่ก าหนด บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างเท่ากัน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ การสร้างเส้นขนานท าได้โดยอาศัยคุณสมบัติที่ว่า เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกันขนานกันก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทั้งสองมีระยะห่างเท่ากันเสมอ การใช้ไม้ฉากใน การสร้างเส้นขนานท าให้ได้เส้นตรงที่มีระยะห่างตั้งฉากกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่าง เท่ากันได้ (K) 2. สร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างเท่ากันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การแก้ปัญหา • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การเชื่อมโยง • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนเรื่องการสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างตามที่ก าหนด โดยให้นักเรียนสร้างส่วนของเส้นตรง 2 เส้นให้ขนานกัน และมีระยะห่าง 2 เซนติเมตร ขั้นสอน 1. ครูสาธิตการสร้างเส้นขนานให้มีระยะห่างเท่ากัน โดยใช้ข้อมูลหน้า 83 แล้วให้นักเรียนท าตามทีละขั้นลงในสมุด 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 16 การสร้างเส้นขนานให้ผ่านจุดที่ก าหนด ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 16 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 16 การสร้างเส้นขนานให้ผ่านจุดที่ก าหนด บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง ถ้ามุมแย้งมี ขนาดเท่ากันแล้วเส้นตรงคู่นั้นจะขนานกัน เราสามารถ สร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้ มีขนาดเท่ากันได้ (K) 2. สร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากันได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การแก้ปัญหา • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การเชื่อมโยง • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนเรื่องการสร้างเส้นขนานให้ผ่านจุดที่ก าหนดให้โดยใช้ไม้ฉากโดยครูลาก ABഥ บนกระดานแล้ว ให้นักเรียนสร้าง CDഥ ให้ขนานกับ ABഥ และมีระยะห่าง 4 เซนติเมตร ขั้นสอน 1. ครูสาธิตการสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน โดยใช้ข้อมูลหน้า 84 แล้วให้นักเรียนท าตามทีละขั้นลง ในสมุด ครูแนะน าการใช้ตัวเลขและสัญลักษณ์แสดงมุมที่มีขนาดเท่ากัน 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 17 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 17 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 17 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมแย้งให้ มีขนาดเท่ากัน บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เส้นขนาน เวลาเรียน 18 ชั่วโมง เรื่อง การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง วันที่ เดือน พ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 2.2 ป.5/1 สาระส าคัญ เราสามารถสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บน ข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางรวมกันได้ 180˚ แล้วเส้นตรง คู่นั้นจะขนานกัน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายขั้นตอนการสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายใน ที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚ ได้ (K) 2. สร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บนข้าง เดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚ ได้ (P) 3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A) ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ • การแก้ปัญหา • การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ • การเชื่อมโยง • การให้เหตุผล คุณลักษณะที่พึงประสงค์ • มีวินัย • ใฝ่เรียนรู้ • มุ่งมั่นในการท างาน ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน ครูทบทวนเรื่องการสร้างเส้นขนานให้มีขนาดเท่ากันโดยสร้างมุมแย้งให้มีขนาดเท่ากัน ขั้นสอน 1. ครูสาธิตการสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚ โดยใช้ข้อมูล หน้า 85 แล้วให้นักเรียนท าตามทีละขั้นลงในสมุด ครูแนะน าการใช้ตัวเลขและสัญลักษณ์แสดงมุมที่มีขนาดเท่ากัน 2. มอบหมายนักเรียนท าใบงานที่ 18 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้ รวมกันได้ 180˚ ลงในสมุดรายวิชา ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ใบงานที่ 18 1. ตรวจใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ • หนังสือเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เล่มที่ 2 • ใบงานที่ 18 การสร้างเส้นขนานโดยสร้างมุมภายในที่ อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดขวางให้รวมกันได้ 180˚ บันทึกหลังการสอน ลงชื่อ ลงชื่อ (นางสาวณัฐกานต์ เสาวคนธ์) (นายทิศ ซ่อนจันทร์) ครูผู้สอน ผู้อ านวยการ


ป.5 วิ ช า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เ รื่ อ ง เ ส้ น ข น า น โ ร ง เ รี ย น ไ พ ล อ ำ น ว ย วิ ท ย์ ส ำ นั ก ง ำ น เ ข ต พื้ น ที่ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ ำ สุ ริ น ท ร์ เ ข ต 3 ส ำ นั ก ง ำ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ขั้ น พื้ น ฐ ำ น ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ ำ ธิ ก ำ ร


Click to View FlipBook Version