วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์
หน่วยท่ี 1 พืน้ ฐานไฟฟ้ารถยนต์
ครูตฤณ บารุงสวน
สาขาวชิ าเทคนิคเคร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี
หน่วยที 1
เรือง พืนฐานไฟฟ้ายานยนต์
1. ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์
ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ เป็ นวงจรไฟฟ้าทีเขียนขึน โดยใช้สัญลกั ษณ์ต่างๆ แทนอุปกรณ์
และสายไฟทีใชใ้ นรถยนต์ ซึงในรถยนตแ์ ต่ละยหี ้อแต่ละรุ่นมกั จะมีระบบไฟฟ้าหลายระบบดว้ ยกนั
ดงั นนั ผงั วงจรไฟฟ้า จึงมีจุดประสงคเ์ พือให้การตรวจสอบของระบบไฟฟ้าในแต่ละแบบนนั ง่ายต่อ
การคน้ หา ในคู่มือไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าของรถยนต์ จะไม่แสดงเฉพาะอปุ กรณ์หลกั ๆ เท่านัน แต่
จะรวมถึงตาํ แหน่งของฟิ วส์ กล่องรวมสาย(J/B) กล่องรีเลย์ (R/B) ขวั ต่อสายไฟ และจุดลงกราวด์
ของระบบต่างๆอีกดว้ ย ไดอะแกรมวงจรไฟฟ้าของรถยนตป์ ระกอบไปดว้ ยสัญลกั ษณ์ของอุปกรณ์
ไฟฟ้าต่างๆ ทีใชใ้ นรถยนต์ สัญลกั ษณ์ของขวั ต่อสายไฟ ตาํ แหน่งการติดตงั ของกล่องรวมสาย กล่อง
รีเลย์ ทางเดินสายไฟภายในรถ จุดลงกราวด์ และอกั ษรยอ่ ตา่ งๆ ทีใชใ้ นระบบไฟฟ้า
1.1 สัญลกั ษณ์ (symbols) สญั ลกั ษณท์ ีใชแ้ ทนอุปกรณไ์ ฟฟ้าตา่ งๆ ทีใชใ้ นรถยนต์
ตารางที 1.1 แสดงสญั ลกั ษณ์ทีใชแ้ ทนอปุ กรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ในรถยนต์
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
งานไฟฟ้ายานยนต์ 37
1.2 สัญลกั ษณ์และขัวต่อสายไฟ ( connector symbols)
ในวงจรไฟฟ้ารถยนตร์ ะบบต่างๆ จะแสดงรูปแบบของขวั ตอ่ สายไฟ หมายเลขของขวั และสี
ของขวั ทีใชใ้ นวงจรนนั
รูปที 1.1 แสดงขวั ต่อสายไฟแบบตา่ งๆ
(ทีมา : http://www.tonyjobs.com. 2558)
รูปที 1.2 แสดงรูปแบบขวั ตอ่ สาย หมายเลขขวั และสีของขวั ต่อสายไฟ
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
งานไฟฟ้ายานยนต์ 38
1.3 จุดลงกราวด์ (ground point) เป็ นสัญลกั ษณ์แสดงตาํ แหน่งลงกราวด์ ของวงจรไฟฟ้าใน
ระบบต่างๆดว้ ยรูปสามเหลียมกลบั หวั
รูปที 1.3 แสดงสญั ลกั ษณ์จุดลงกราวดข์ องวงจรไฟฟ้าระบบต่างๆ
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
1.4 อกั ษรย่อทีใช้ในวงจรไฟฟ้า (abbreviation) อกั ษรยอ่ ต่างๆทีใชใ้ นผงั วงจรไฟฟ้ารถยนต์ ดงั นี
A/C = ปรับอากาศ O/D = โอเวอร์ไดรฟ์
A/T = เกียร์อตั โนมตั ิ OVCV = ลินควบคมุ ระบายอากาศออก
CB = เซอร์กิตเบรกเกอร์ OX = ออกซิเจน
CMH = อุปกรณ์อ่นุ อากาศ R/B = กล่องรีเลย์
COMB = หนา้ ปัด RH = มือขวา
C/P = แบบคเู ป้ S/D = แบบซีดาน
EBCV = ลินควบคุมอากาศดว้ ยไฟฟ้า SW = สวิตซ์
ECU = กลอ่ งคอมพิวเตอร์ TEMP = อณุ หภมู ิ
EGR = ลินควบคุมการไหลหมุนเวียน TCCS = ระบบคอมพิวเตอร์ของรถยนต์
ของแกส๊ ไอเสีย โตโยตา้
งานไฟฟ้ายานยนต์ 39
FL = ฟิ วส์สายอ่อน T-VIS = ระบบดูดอากาศของรถนตโ์ ตโยตา้
IIA = ชุดจุดระเบดิ รวม VSV = ลินตดั ตอ่ สุญญากาศ
J/B = กล่องรวมสาย W/P = มี
LH = มือซา้ ย W/O = ไม่มี
M/T = เกียร์ธรรมดา W/G = แบบเวกอน
1.5 ผงั วงจรไฟฟ้าในรถยนต์ ในการใชง้ านประกอบดว้ ยส่วนพืนฐาน 3 ส่วน คือ
1.5.1 วงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ
1.5.2 ตาํ แหน่งรีเลยแ์ ละเส้นทางเดินของสายไฟ
1.5.3 วงจรไฟฟ้าทงั หมดทีเชือมต่อกบั ระบบตา่ งๆ
1.5.1 วงจรไฟฟ้าในแต่ละระบบ
วงจรไฟฟา้ ในแตล่ ะระบบ แผนผงั จะแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งชินส่วนไฟฟ้า
ชุดสายไฟ ขวั ต่อ รีเลย์ กล่องรวมสาย และกล่องรีเลย์ เป็ นต้น จากแหล่งจ่ายไฟไปยงั จุดลงกราวด์
ของแต่ละระบบ แต่ละขวั ต่อ และสลกั จะมีรหสั หมายเลข การคน้ หารหัสและหมายเลข จะทาํ ให้
สามารถพบตาํ แหน่งขวั ต่อและสลกั ซึงสามารถทาํ การแกไ้ ขปัญหาระบบไฟฟ้ารถยนต์ระบบต่างๆ
ไดง้ า่ ย และสะดวกมากขึน
งานไฟฟ้ายานยนต์ 40
รูปที 1.4 แสดงตวั อยา่ งวงจรไฟฟ้า
(ตรีเพชรอีซูซุเซลล์ บริษทั จาํ กดั , 2558, ซีด)ี
งานไฟฟ้ายานยนต์ 41
ตารางที 1.2 แสดงสัญลกั ษณ์ อปุ กรณ์ และความหมายในวงจรไฟฟ้า
สัญลกั ษณ์/อปุ กรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
"C8" จะแสดงรหสั ขวั ต่อ และ "สวิตชค์ อ
พวงมาลยั " จะแสดงชือชินส่วน
รูปที 1.5 ตวั อยา่ งแสดงรหสั ขวั ตอ่ และสวิตช์
คอพวงมาลยั
หมายเลขเหลา่ นี (9, 10, 11) จะแสดง
หมายเลขสลกั ขวั ตอ่
รูปที 1.6 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ต่อ วธิ กี ารอ่านหมายเลขสลกั ขัวต่อ
รูปที 1.7 แสดงวิธีการอา่ นหมายเลขสลกั ขวั ตอ่ สลกั จะประกอบไปดว้ ยขาเสียบตวั ผทู้ ีใช้
เสียบเขา้ และขาเสียบตวั เมียทีรับขาเสียบตวั ผู้
ขวั ตอ่ ทีมีขาเสียบตวั ผูจ้ ะเรียกวา่ ขวั ต่อตวั ผู้ และ
ขวั ต่อทีมีขาเสียบตวั เมียจะเรียกวา่ ขวั ต่อตวั เมีย
ขวั ตอ่ จะมีลอ็ กเพอื ใหก้ ารเชือมขวั ตอ่ ปลอดภยั
งานไฟฟ้ายานยนต์ 42
สัญลกั ษณ์/อปุ กรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
ส่วนล็อกขัวต่อจะหงายขึนเพือให้สามารถ
อ่านหมายเลขสลักบนผิวขวั ต่อได้ โดยให้อ่าน
หมายเลขจากด้านซ้ายบนสําหรับขัวต่อตวั เมีย
ต า ม ที แ ส ด ง ที ด้ า น ซ้ า ย มื อ ใ น ภ า พ ป ร ะ ก อ บ
สําหรับขวั ต่อตวั ผู้ ให้อ่านหมายเลขจากดา้ นขวา
บนเหมือนภาพสะท้อนในกระจกของขวั ต่อตวั
เมยี ตามทีแสดงทีดา้ นขวามือในภาพประกอบ
รูปที 1.8 แสดงวิธีการอา่ นหมายเลขสลกั ขวั ต่อ
เมือใช้เครื องมือทดสอบเพือตรวจสอบ
แรงดนั ไฟฟ้า ให้ใชส้ ายทดสอบตามทีแสดงใน
รูปภาพเพือตรวจสอบแรงดนั ไฟฟ้าอย่างไรก็ดี
ในขณะนีหมายเลขสลกั จะถูกอ่านจากดา้ นหลัง
ของขัวต่อดังนัน จึงเป็ นการยอ้ นกลับเมืออ่าน
จากพืนผิวทีเชือมต่อ จึงตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั
เมืออ่านหมายเลขสลกั
รูปที 1.9 แสดงการใชเ้ ครืองมือตรวจสอบ
แรงดนั ไฟฟ้า
ขัวต่อจะรวมสายไฟกันเป็ นชุดสายไฟ "J2"
จะแสดงรหัสขัวต่อรวม และ "ขัวต่อรวม" จะ
แสดงวา่ ส่วนนีเป็นขวั ตอ่ รวม
รูปที 1.10 ตวั อยา่ งแสดงขวั ต่อจะรวมสายไฟ
งานไฟฟ้ายานยนต์ 43
สญั ลกั ษณ์/อปุ กรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
โค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง ขัว ต่ อ ร ว ม ต า ม ที แ ส ด ง ใ น
รูปภาพ โครงสร้างขวั ตอ่ รวมประกอบดว้ ยขวั สนั
ทีเชือมต่อสายไฟหลายเส้นทีมีสีเดียวกนั
รูปที1.11ตวั อยา่ งแสดงโครงสรา้ งของขวั ต่อรวม พื น ที ที เน้ น จ ะ แ ส ด ง ก ล่ อ ง ร ว ม ชุ ด ส าย ไ ฟ
รูปที 1.12 ตวั อยา่ งแสดงกล่องรวมชุดสายไฟ กล่องรวมชุดสายไฟมีฟังก์ชันในการรวมและ
การเชือมต่อวงจรไฟฟ้าภายในกล่อง และรวม
รี เลย์ ฟิ วส์เบ รกเกอร์ วงจร เป็ น ต้น ไว้บ น
แผงวงจรบางชินส่วนของกล่องรวมชุดสายไฟ
จะไม่มีรีเลย์ และฟิ วส์ เป็ นต้น แต่จะใช้เป็ น
ขัวต่อเท่านันกล่องรี เลย์มีโครงสร้างเกือบ
เหมือนกับกล่องรวมชุดสายไฟ แต่จะไม่มีการ
รวมชุดและเชือมต่อวงจรไฟฟ้าภายในกล่อง
EWD จะแบ่งออกเป็ นกล่องรวมชุดสายไฟ:
กล่องรีเลยพ์ นื สีเทา:พืนไมม่ ีสี
หมายเลขกลอ่ งรวมชุดสายไฟและรหัสขวั ตอ่
หมายเลขในวงกลม (2) จะแสดงหมายเลขกลอ่ ง
ชุดสายไฟ และตวั อกั ษร (G) จะแสดงรหสั ขวั ตอ่
รูปที 1.13 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขกลอ่ งรวมชุด
สายไฟและรหัสขวั ตอ่
งานไฟฟ้ายานยนต์ 44
สญั ลกั ษณ์/อปุ กรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
หมายเลขสลกั ขัวต่อ
หมายเลขเหล่านี (2, 9) จะแสดงหมายเลข
สลกั ขวั ตอ่
รูปที 1.14 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ตอ่
หมายเลขสลกั
ห ม าย เล ข เห ล่ านี (1, 2, 3, 5) จ ะ แ ส ด ง
หมายเลขสลกั รีเลย์ P/W
รูปที 1.15 ตวั อยา่ งแสดงหมายเลขสลกั ขวั ตอ่
สายไฟภายใน
เส้นตา่ งๆ เหล่านีจะแสดงสายไฟภายในกล่อง
ชุดสายไฟ
รูปที 1.16 ตวั อยา่ งแสดงสายไฟภายในกล่อง
งานไฟฟ้ายานยนต์ 45
สญั ลกั ษณ์/อุปกรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
อกั ขระอักษรผสมตัวเลขในสีเหลียมผืนผา้
(BB1) จะแส ดงรหั ส ขัวต่ อ แล ะห ม ายเล ข
ภายนอกสีเหลียมผืนผา้ (11) จะแสดงหมายเลข
สลักนอกจากนี สัญลักษณ์ ( ) จะระบุด้านข้าง
ขวั ต่อตวั ผู้
รูปที 1.17 ตวั อยา่ งแสดงความหมายอกั ขระ จดุ ต่อและจุดลงกราวด์
อกั ษรผสมตวั เลข สั ญ ลัก ษ ณ์ รู ป ห ก เห ลี ย ม ใน พื น ที ที เน้ น จ ะ
รูปที 1.18 ตวั อยา่ งแสดงจุดต่อและจุดลงกราวด์ แสดงจุดต่อ และสัญลักษณ์รูปสามเหลียมจะ
แสดงจุดลงกราวด์จุดต่อจะเชือมต่อโดยตรงกับ
สายไฟโดยไม่ผา่ นขวั ต่อ (B7) และ (E1)คือรหัส
จุดต่อจุดลงกราวด์จะเชือมต่อสายไฟกับตัวถัง
หรือเครืองยนต์ เป็นตน้ (BH) และ (EB) คือรหัส
จุดลงกราวด์
สีของสายไฟ
อกั ขระผสมตวั เลขในพืนทีทีเน้นจะแสดงสี
ของสายไฟสีของสายไฟจะรวมสีทีขอบดว้ ยซึง
จะแสดงเป็ น R- Lโดยอกั ษรตวั แรกคือสีพืน และ
อกั ษรตวั ทีสองคอื สีขอบ
รูปที 1.19 ตวั อยา่ งแสดงสีของสายไฟ
งานไฟฟ้ายานยนต์ 46
สัญลกั ษณ์/อปุ กรณ์ ในวงจรไฟฟ้า ความหมาย
ความหมายของอกั ขระตัวอักษรผสมตวั เลข
ทงั หมด
รูปที 1.20 แสดงสีของสายไฟ
รูปที 1.21 แสดงแหล่งจา่ ยไฟ
งานไฟฟ้ายานยนต์ 47
แหล่งจ่ายไฟ
ในส่วนนี จะเรียนรู้ว่าฟิ วส์แต่ละตวั จะครอบคลุมระบบใดบา้ งตวั อยา่ ง เช่น ผงั ดงั กล่าวนี
จะระบุว่าฟิ วส์ "10A, HORN" จะครอบคลุมเฉพาะ "แตร"เช่นเดียวกัน ฟิ วส์ "15A, DOME" จะ
ครอบคลุมหลายระบบ รวมถึง "ไฟส่องสว่างภายในห้องโดยสาร" "เครืองปรับอากาศ (A/C แบบ
อตั โนมตั ิ)" "นาฬิกา" "มาตรวดั รวม" และระบบอืนๆหมายเลขหนา้ ในผงั วงจรจะอา้ งถึงวงจรระบบ
รูปที 1.22 แสดงขอ้ มลู ของวงจรระบบ
ข้อมลู ของวงจรระบบ
เมือพบพืนทีทีจะซ่อมหรือตรวจสอบในผงั วงจรระบบให้ดูหน้าถดั ไปตามผงั หน้านีจะให้
ภาพรวมและขอ้ แนะนําเกียวกับระบบและยงั ให้ขอ้ มูลอา้ งอิงสําหรับ "การวางผงั วงจรไฟฟ้า" ซึง
แสดงตาํ แหน่งของชินส่วนในรถยนต์
งานไฟฟ้ายานยนต์ 48
1.5.2 ตาํ แหน่งรีเลย์และเส้นทางเดินของสายไฟ
ตาํ แหน่งติดตงั กล่องรวมสาย (J/B) และกล่องรีเลย์ (R/B) และเส้นทางเดินของสายไฟ
ในรถยนต์
รูปที 1.23 แสดงตาํ แหน่งติดตงั กลอ่ งรวมสาย (J/B) และกลอ่ งรีเลย์ ( R/B) ในรถยนต์
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
รูปที1.24 แสดงตาํ แหน่งติดตงั รีเลยแ์ ละฟิวส์
งานไฟฟ้ายานยนต์ 49
รูปที1.25 แสดงเส้นทางเดนิ สายไฟในรถยนต์
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
รูปที1.26 แสดงเส้นทางเดินสายไฟในรถยนต์
(โตโยตา้ มอเตอร์ ประเทศไทย บริษทั จาํ กดั , 2551, ซีดี)
งานไฟฟ้ายานยนต์ 50
1.5.3 วงจรไฟฟ้าทังหมดทเี ชือมต่อกบั ระบบต่างๆ
วงจรไฟฟ้าทงั หมดทีเชือมต่อกบั ระบบตา่ งๆ จะแสดงการเชือมต่อระหวา่ งระบบตอ่
ระบบและจุดลงกราวด์ดงั แสดงในรูป
รูปที1.27 แสดงวงจรไฟฟ้ารถยนต์
(ตรีเพชรอซี ูซุเซลล์ บริษทั จาํ กดั , 2558, ซีดี)
2. เครืองมือวัดทางไฟฟ้า
เครืองมือวดั ทางไฟฟ้าชนิด มลั ติมิเตอร์ เป็ นเครืองมือทีสามารถใช้วดั ความตา้ นทานของ
วงจรไฟฟ้า (โอห์ม) กระแสไฟฟ้า (แอมป์ ) และแรงดนั ไฟฟ้า (โวลต)์ รวมทงั ใชต้ รวจสอบความ
ต่อเนืองของวงจร และทดสอบไดโอด การปรับสวติ ช์เลือกการทาํ งานเพือวดั ค่าต่างๆใหเ้ หมาะสม
กับงานทีจะทาํ การวดั สามารถทาํ การปรับเลือกโดยใช้สวิตช์เลือกฟังก์ชัน เพือให้สามารถวดั ค่าที
ตอ้ งการวดั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
งานไฟฟ้ายานยนต์ 51
รูปที 1.28 แสดงมลั ติมิเตอร์แบบอนาล็อก
รูปที 1.29 แสดงมลั ติมิเตอร์แบบดิจิตอล
งานไฟฟ้ายานยนต์ 52
2
5 6
4
3 7
8
1
11 9
12
10
รูปที 1.30 แสดงส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์
ตารางที 1.3 แสดงความหมายส่วนประกอบมลั ตมิ ิเตอร์
หมายเลข ความหมาย
1 ป่ ุมหมนุ ตงั คา่ ยา่ นวดั
2 หนา้ จอแสดงคา่
3 ฟังกช์ นั MIN/MAX ช่วยบนั ทึกค่าสูงสุดและตาํ สุดได้
4 ป่ ุมเลือกตาํ แหน่งเปลียนคา่ การวดั
5 กดป่ ุม RANGE เลือกตาํ แหน่งทศนิยม
6 ฟังกช์ นั REL (คา่ สัมพทั ธ์) ใชร้ ะบุความผนั แปรของการวดั
7 Hold ตอ้ งการคา่ ในการอา่ นคงทีไม่เปลียนแปลงแสดงผล ทีคา้ งไว้
8 ฟังกช์ นั DUTY (สามารถวดั ความกวา้ งของพลั ส์/คาบของพลั ส์)
9 สายวดั ขวั บวก
10 สายวดั ขวั ลบ (Common)
11 สายวดั กระแสขวั บวก ยา่ น (Range) กระแส 10 A
12 สายวดั กระแสขวั บวก ยา่ น (Range) กระแส mA
งานไฟฟ้ายานยนต์ 53
2.1 การวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั
วัตถุประสงค์เพือวัดแรงดันไฟฟ้าของสายไฟในครัวเรื อนหรื อโรงงาน วงจรไฟฟ้า
กระแสสลบั และแรงดนั ไฟฟ้าแยกของหมอ้ แปลงไฟฟ้า วิธีการวดั ให้ปรับสวิตช์เลือกฟังกช์ นั ไปที
ช่วงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั และตอ่ สายทดสอบขวั ของสายทดสอบสามารถสลบั กนั ได้
รูปที 1.31 แสดงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสสลบั
2.2 การวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
วตั ถุประสงคเ์ พือวดั แรงดนั ไฟฟ้าของแบตเตอรีประเภทต่างๆ อุปกรณ์ไฟฟ้า และวงจร
ทรานซิสเตอร์ รวมทงั แรงดนั ไฟฟ้า และแรงดนั ไฟฟา้ ตกในวงจรตา่ งๆ วธิ ีการวดั ใหป้ รับสวิตช์เลือก
ฟังกช์ นั ไปทีช่วงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง วางสายทดสอบขวั ลบสีดาํ ทีแรงดนั ไฟฟ้าสายดิน
และวางสายทดสอบขวั บวกสีแดงไวบ้ นพืนทีทีจะทดสอบ แลว้ อา่ นค่า
รูปที 1.32 แสดงการวดั แรงดนั ไฟฟ้ากระแสตรง
งานไฟฟ้ายานยนต์ 54
2.3 การวัดความต้านทาน
วตั ถปุ ระสงคเ์ พือวดั ความตา้ นทานของตวั ตา้ นทาน ความต่อเนืองของวงจร วธิ ีการวดั ให้
ปรับสวิตช์เลือกฟังก์ชนั ไปทีความตา้ นทาน/ความต่อเนือง จากนัน ให้วางสายทดสอบทีปลาย
ตวั ตา้ นทาน เพือวดั ความตา้ นทาน ขอ้ ควรระวงั ตรวจสอบให้แน่ใจวา่ ไม่มีการใชแ้ รงดนั ไฟฟ้ากับ
ตวั ตา้ นทาน เพราะอาจทาํ ใหม้ ลั ติมิเตอร์ ชาํ รุดเสียหายได้
รูปที1.33 แสดงการวดั ความตา้ นทาน
2.4 การตรวจสอบความต่อเนือง
วตั ถุประสงคเ์ พือตรวจสอบความต่อเนืองของวงจร วิธีการวดั ให้ปรับสวิตชเ์ ลือกฟังกช์ นั
ไปทีช่วงค่าความตา้ นทาน/ความต่อเนือง (ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ หน้าจอแสดงเครืองหมาย " "
ในตอนนีถา้ ไม่มี ให้กดสวติ ชเ์ ลือกโหมด SELECT เพอื เปลียนเครืองมือทดสอบให้เป็นโหมดความ
ต่อเนือง Ω/ ) ให้ต่อสายไฟทดสอบไปทีวงจรทีจะทดสอบ เสียงเตือนจะดงั ขึนในกรณีทีวงจรมี
ความตอ่ เนือง
งานไฟฟ้ายานยนต์ 55
รูปที 1.34 แสดงการตรวจสอบความต่อเนือง
2.5 การทดสอบไดโอด
วตั ถุประสงค์เพือทดสอบไดโอด วิธีการวดั ให้ปรับสวิตช์เลือกฟังก์ชันไปทีโหมดการ
ทดสอบไดโอด ตรวจสอบความต่อเนืองของทงั สองทิศทาง หากไดโอดมีความต่อเนืองในทิศทาง
เดียว และไม่มีความต่อเนืองเมือมีการสลบั สายทดสอบ แสดงว่าไดโอดปกติ หากไดโอดมีความ
ตอ่ เนืองทงั สองทิศทาง แสดงวา่ มีการลดั วงจร ถา้ ไม่มีความต่อเนืองไม่ว่าในทิศทางใดแสดงว่าวงจร
เปิ ด
รูปที 1.35 แสดงการทดสอบไดโอด
งานไฟฟ้ายานยนต์ 56
2.6 การวัดไฟฟ้ากระแสตรง
วตั ถุประสงคเ์ พือวดั การใชจ้ าํ นวนกระแส ของอุปกรณ์ทีใชไ้ ฟฟ้ากระแสตรง วิธีการวดั
ให้ปรับสวิตช์เลือกฟังก์ชันไปทีช่วงการวดั กระแส กดสวิตช์โหมด SELECT เพือเลือกวดั ค่า
กระแสตรง (DC)หรือกระแสสลบั (AC) และเลือกตาํ แหน่งทีจะใส่สายไฟทดสอบขวั บวกโดยให้มี
ขนาดทีเหมาะสม เลือกตาํ แหน่ง (mA) หรือ (10A) ในการวดั จาํ นวนกระแสของวงจร ตอ้ งเชือมตอ่
แอมมิเตอร์ให้อนุกรมกบั วงจร ดงั นนั จึงต่อวงจรไฟฟ้าตามรูปดา้ นลา่ ง โดยต่อสายไฟขวั บวกไวด้ า้ น
ทีมีแรงดนั ไฟฟ้าสูงกวา่ และต่อสายไฟทดสอบขวั ลบไปทีดา้ นทีมีแรงดนั ไฟฟ้าตาํ กวา่ แลว้ อา่ นคา่
รูปที1.36 แสดงการวดั จาํ นวนแอมแปร์ไฟฟ้ากระแสตรง
งานไฟฟ้ายานยนต์ 57
เอกสารประกอบการสอน
วชิ า งานไฟฟ้ายานยนต์ รหัสวชิ า 3101-2104
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสูง พุทธศักราช 2557
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม
หน่วยท่ี 1 พืน้ ฐานไฟฟ้ารถยนต์
นายตฤณ บารุงสวน
ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชานาญการ
สาขาวชิ าเทคนิคเคร่ืองกล วทิ ยาลยั เทคนิคจันทบุรี
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร