The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 4 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ของ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Panu KubPom, 2020-10-14 08:58:16

เล่ม 4 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ของ

เล่ม 4 การจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง ของ

การจัดทาำ รายงาน

ผลการประเมนิ ตนเอง

ของสถานศกึ ษา

สำานกั ทดสอบทางการศกึ ษา

สำ�นกั ง�นคณะกรรมก�รก�รศึกษ�ข้นั พ้ืนฐ�น 97

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

การจดั ทำ�รายงาน
ผลการประเมนิ ตนเอง

ของสถานศกึ ษา

ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

การจดั ทำ� รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๖๔-๐๗๔-๙
ปีทีพ่ ิมพ ์ : พ.ศ.๒๕๖๓
จ�ำนวนพมิ พ์ : ๑,๐๐๐ เลม่
จดั พมิ พโ์ ดย : ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา
ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ลขิ สทิ ธ์ิเป็นของ : สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา
สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
โทรศพั ท์ : ๐-๒๒๘๘-๕๗๕๗-๘
โทรสาร : ๐-๒๖๒๘-๕๘๖๒
เว็ปไซต์ : http://bet.obec.go.th
พิมพท์ ่ี : ห้างหนุ้ ส่วนจ�ำกัด  เอน็ .เอ.รัตนะเทรดดงิ้  
ทอ่ี ยู่ ๑๓/๑๔ ม.๕ แขวงบางดว้ น เขตภาษีเจริญ กทม. ๑๐๑๖๐
โทร.๐๘๑-๗๓๒-๔๒๔๖

ค�ำน�ำ

กระทรวงศึกษาธิการ มีการปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษา โดยมีการปรับปรุงมาตรฐานและประเด็นพิจารณา
ให้สะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง ก�ำหนดเกณฑ์และรายการประเมิน
แบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซึง่ เป็นการประเมนิ โดยใช้ข้อมลู เชิงประจักษ์
(Evidence Based) ลดภาระการจัดท�ำเอกสารที่ใช้ในการประเมิน ยึดหลัก
การตัดสินระดับคุณภาพตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเช่ียวชาญ
(Expert Judgment) ของผู้ประเมิน และใช้การตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดยี วกนั (Peer Review) ปรับกระบวนทศั น์
ในการประเมินท่ีมีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาบนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษา
มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการปรับปรงุ ระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเพื่อใหม้ ี
กลไกการปฏิบัติที่เอ้ือต่อการด�ำเนินการตามมาตรฐานการศึกษา ของแต่ละระดับ
และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกาศ ณ วันที่ ๖ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงาน
ต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศกึ ษา



การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ดังน้ัน เพ่ือเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็งตามกฎกระทรวง
การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดท�ำคู่มือชุดนี้ข้ึน เพื่อให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางในการสง่ เสรมิ สนับสนุน นเิ ทศ ตดิ ตาม และช่วยเหลอื
สถานศึกษาในการด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษา
สามารถใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา และเตรียมความพรอ้ มสำ� หรบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกต่อไป
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ขอขอบคุณผู้บริหาร
ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ
คู่มอื ชุดนี้ใหส้ มบรู ณ์ และหวงั ว่าสถานศึกษาทกุ สังกดั ทจ่ี ดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
จะได้รับประโยชน์จากคู่มือชุดนี้ ใช้คู่มือชุดนี้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมาย
ท่ีก�ำหนดไวไ้ ด้อยา่ งยัง่ ยืน

(นายอำ� นาจ วชิ ยานวุ ัต)ิ
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน



การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ค�ำชี้แจง

หลังจากกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ สำ� หรบั ให้สถานศกึ ษาใชเ้ ป็นแนวทางดำ� เนินงาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรียมการส�ำหรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จึงได้จัดท�ำคู่มือ ส�ำหรับให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติเพื่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาใหเ้ ขม้ แข็ง
โดยคู่มือนี้ มีจ�ำนวน ๕ เล่ม มีเนื้อหาสาระครอบคลุมรายละเอียด
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซ่ึงน�ำเสนอหลักการ
เหตุผล แนวคิด และกรณีตัวอย่างเกี่ยวกับการพัฒนาตามระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ดังน้ี

เลม่ ท่ี ชื่อเอกสาร สาระส�ำคัญ

๑ แนวทางการพฒั นาระบบ แนวคิดและหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพ
การประกนั คุณภาพ การศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน
การศึกษาตามกฎ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และกรณี
กระทรวงการประกัน ศึกษาเก่ียวกับรูปแบบและแนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพการศึกษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาใหเ้ ข้มแข็ง



การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

เลม่ ท่ี ช่ือเอกสาร สาระส�ำคัญ

๒ การกำ� หนดมาตรฐาน แนวคิด หลักการ แนวทางการก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา การศึกษาของสถานศึกษา และตัวอย่างการ
กำ� หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๓ การจดั ทำ� แผนพฒั นา แนวคิด หลักการ ความสำ� คัญ กระบวนการจัดท�ำ
การจัดการศึกษา และตัวอย่างของแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของ
ของสถานศึกษา สถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ�ำปี (Action
Plan)

๔ การจัดทำ� รายงาน หลักการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง
ผลการประเมนิ ตนเอง ขนั้ ตอน โครงสรา้ ง และตัวอย่าง การจัดทำ� รายงาน
ของสถานศกึ ษา ประเมินตนเองของสถานศึกษา

๕ การเตรียมความพร้อม ความหมาย แนวคิด หลักการ วิธีการ ข้ันตอน
ของสถานศึกษาเพอ่ื รบั การประเมินคุณภาพภายนอก การเตรียม
การประเมนิ คุณภาพ ความพร้อมของสถานศึกษา เพ่ือรับการประเมิน
ภายนอก ภายนอก และตัวอย่างแนวทางการเก็บข้อมูล/
ร่องรอยหลักฐานเชงิ ประจักษ์



การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

สารบัญ

ค�ำนำ� ก
คำ� ชีแ้ จง ค
สารบญั จ
ตอนท่ี ๑ บทนำ� ๓

ตอนที่ ๒ การจดั ทำ� รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ๗
l หลกั การและวธิ กี ารประเมนิ คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ๘
l หลักการและขน้ั ตอนการจดั ทำ� รายงานผล ๑๒
การประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
l โครงสรา้ งของรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ๑๖
ของสถานศกึ ษา
l ตวั อยา่ งการเขียนรายงานผลการประเมนิ ตนเอง ๒๐
ของสถานศึกษา

บรรณานุกรม ๔๕
ภาคผนวก ๔๗
คณะท�ำงาน ๙๓



การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา



๑ตอนที่
บทนำ�



๑ตอนท่ี

บทนำ�

ในการดำ� เนินงานพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาน้นั สถานศกึ ษาตอ้ งดำ� เนนิ งาน
ตามทิศทางและเป้าหมายท่ีก�ำหนดร่วมกันอย่างต่อเนื่องตลอดท้ังปีการศึกษา
และเม่ือส้ินปีการศึกษาสถานศึกษาจะต้องมีการจัดท�ำรายงานผลการประเมิน
ตนเองประจ�ำปี ที่เป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานและการพัฒนาการจัดการ
ศึกษาของสถานศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา ซ่ึงเป็นผลมาจากการด�ำเนินงานทั้งหมด
ของสถานศึกษาท่ีครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และน�ำเสนอ
รายงานต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อท�ำให้เกิดความมั่นใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย
ว่าการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีคุณภาพได้มาตรฐาน และคงรักษาไว้
ซ่ึงมาตรฐานจากการด�ำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
เพอ่ื ให้การจดั ทำ� รายงานผลประเมินตนเองของสถานศึกษา ดำ� เนนิ ไปอย่างมีคุณภาพ
และสะท้อนผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษาอย่างแท้จริง สถานศึกษาจ�ำเป็น
ต้องสร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
วางแผนการประเมิน เก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผลการประเมิน
แลว้ จัดทำ� เป็นรายงานผลการประเมินตนเองประจำ� ปีของสถานศึกษา
เอกสารเล่มนี้จึงจัดท�ำขึ้นเพ่ือน�ำเสนอเน้ือหาส�ำคัญในประเด็นเกี่ยวกับ
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา และการจัดท�ำรายงานผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษา ส�ำหรับเป็นแนวทางให้สถานศึกษา
ด�ำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับกฎกระทรวง

3

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยจะมีสาระเก่ียวกับหลักการและ
วิธีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเพ่ือน�ำไปสู่การจัดท�ำรายงานผล
การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา โดยแบง่ เนือ้ หาออกเปน็ ๔ ประเดน็ ได้แก่
๑. หลักการและวิธกี ารประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา
๒ หลักการและข้ันตอนการจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา
๓. โครงสร้างของรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
๔. ตวั อย่างการเขยี นรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
เพ่ือให้สถานศึกษาสามารถจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ที่สะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างแท้จริง สามารถ
ใช้เป็นสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษาเพ่ือการจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการ
ศึกษาของสถานศึกษาในปีต่อไปและเป็นสารสนเทศเพื่อการประเมินคุณภาพ
ภายนอกต่อไป

4

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๒ตอนท่ี

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา

(Self-Assessment Report)



๒ตอนที่

การจัดทำ�รายงาน
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

(Self-Assessment Report)

การจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเปนภารกิจตาม
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ท่ีสถานศึกษา
ตองด�ำเนินการหลังจากจัดการศึกษาผานไปแตละปีการศึกษา เพ่ือสะท้อนภาพ
ความส�ำเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาในรอบปีการศึกษาที่ผ่านมาภายใต้บริบทของสถานศึกษา
โดยสารสนเทศในรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษานั้นเป็นผลของ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของสถานศึกษา ครูและบุคลากรทุกคน
ในสถานศึกษาต้องมีส่วนร่วมในการประเมินและให้ข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับ
ผลการด�ำเนินงานของตนเอง ซึ่งจะต้องมีการประเมินเป็นระยะ อย่างสม่�ำเสมอ
และใช้ผลการประเมินระหว่างปีปรับปรุงการท�ำงานตลอดเวลา ในการประเมิน
ผลการด�ำเนินงานแต่ละระยะให้บันทึกข้อมูลพร้อมจัดท�ำและเก็บรวบรวมสารสนเทศ
และเอกสารร่องรอยหลักฐานอย่างเป็นระบบไว้ เพ่ือน�ำไปสู่การจัดท�ำรายงานผล
การประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาท่ีมคี ุณภาพตอ่ ไป
สถานศึกษาแต่ละแห่งต้องจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษาทุกปีการศึกษา เพื่อรายงานผลการด�ำเนินงานในปีที่ผ่านมา
ให้บุคลากรในสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และผู้ท่ีเก่ียวข้อง เช่น นักเรียน
ผู้ปกครองและสาธารณชนรับทราบว่าสถานศึกษาได้บริหารจัดการสถานศึกษา
และจัดการเรียนรู้ได้บรรลุเป้าหมายท่ีสถานศึกษาได้วางไว้และเป็นไปตาม

7

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ที่มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสถานศึกษาก�ำหนดมากน้อยเพียงใด
พร้อมท้ังเป็นการน�ำเสนอแนวทางการพัฒนาตนเองของสถานศึกษาในจุดที่ต้อง
ได้รับการพัฒนา เพื่อเป็นการก�ำหนดทิศทางการด�ำเนินงานของตนเองในอนาคต
อีกทั้งหน่วยงานต้นสังกัดสามารถใช้ผลการประเมินจากรายงานผลการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษาในการตัดสินใจก�ำหนดนโยบายตา่ ง ๆ เพอื่ สง่ เสรมิ คุณภาพ
ของสถานศกึ ษาในสังกัดต่อไป
หลักการและวธิ ีการประเมนิ คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
การประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา (Internal Quality Assessment)
เป็นขั้นตอนของการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตาม
กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งควรด�ำเนินการ
อย่างต่อเนื่องเพราะเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารจัดการ เน่ืองจากเป็นระบบ
และกลไกในการควบคมุ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดำ� เนนิ งานของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามนโยบายท่ีก�ำหนดโดยสถานศึกษาและ/หรือหน่วยงานต้นสังกัด
โดยผลการประเมินสามารถท�ำให้สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด ผู้ท่ีเก่ียวข้อง
และสาธารณชนรับทราบว่าสถานศึกษาสามารถจัดการศึกษาได้บรรลุตามเป้าหมาย
หรอื มาตรฐานการศกึ ษาตามทีส่ ถานศกึ ษาแตล่ ะแห่งก�ำหนดไว้หรอื ไม่ นอกจากน้ี
สถานศึกษาสามารถใช้ข้อมูลผลการประเมินเพ่ือแก้ไขข้อบกพร่องในการด�ำเนินงาน
ได้ทันกับความต้องการ และปรับปรุงพัฒนาการด�ำเนินงานของตนเองให้บรรลุ
เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา อกี ท้ัง รายงานผลการประเมนิ
ตนเองของสถานศึกษายังเป็นสารสนเทศส�ำคัญในการสนับสนุนการประเมิน
คุณภาพภายนอกตอ่ ไป

8

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาควรด�ำเนินการอย่างน้อย
ปีละ ๑ คร้ัง โดยสามารถก�ำหนดระยะเวลาในการประเมนิ ไดต้ ามความเหมาะสม
แต่ต้องสอดคล้องกับสภาพและบริบทของการด�ำเนินงานของสถานศึกษาของตน
เพ่ือความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ผล โดยการประเมิน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นหน้าท่ีของบุคลากรทุกคนในสถานศึกษาและ
ผู้ที่มีส่วนเก่ียวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้เรียน ผู้ปกครอง
คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน เขตพ้ืนที่การศึกษา หรือหน่วยงานอื่น
ท่ีเก่ียวข้องเข้ามามีส่วนร่วมในการก�ำหนดเป้าหมาย วางแผน ติดตามและ
ประเมินผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ
การจัดการศึกษาเพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาที่ดีมีคุณภาพเป็นไปตาม
ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนสังคม
และประเทศชาติ
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นการประเมินตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาท่ีแต่ละสถานศึกษาก�ำหนดขึ้น โดยมีความสอดคล้อง
กับมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่ประกาศโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้นผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน
ต้องศึกษาประเด็นพิจารณาท่ีก�ำหนดไว้ในมาตรฐานของสถานศึกษา และระดับ
คุณภาพให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ก่อนด�ำเนินการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา
และควรมีความรู้ลึกและเข้าใจบริบทของการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทั้งในแง่มุม
ของภาระงาน โครงสร้างเทคนคิ ต่าง ๆ ท่ใี ช้ในการบริหาร การพัฒนาการจดั การ
เรยี นรู้ และมปี ระสบการณ์เพยี งพอและความรเู้ ก่ยี วกับความเคลอื่ นไหวของการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอน
เพื่อการช่วยเสนอแนะการปรับปรุงพัฒนาสถานศึกษาได้อย่างชัดเจนและตรงกับ
ความต้องการของสถานศึกษาเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ สถานศึกษาอย่างแทจ้ ริง

9

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาเน้นการประเมินตามหลักฐาน
เชิงประจักษ์ (Evidence Based Assessment) ที่เกิดจากการปฏิบัติงาน
ตามสภาพจริงของสถานศกึ ษา เป็นการประเมินจากสภาพจรงิ ไมส่ ร้างเครอื่ งมอื
เพื่อการประเมินเพิ่มเติม หรือสร้างเอกสารเพิ่มเติมนอกเหนือจากการร่องรอย
ท่ีเกิดจากการท�ำงานปกติของสถานศึกษา ข้อมูลหลักฐานต่าง ๆ เกิดจากวิธีการ
เก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม เป็นผลงานอันเกิดจากการเรียนรู้ตามปกติ
ของนักเรยี น รวมทงั้ ผลงานท่ีเกดิ ขึน้ จากการออกแบบการจัดการเรียนรู้ของครูผสู้ อน
ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียน การบริหารจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพ
เชิงประจักษ์ที่สถานศึกษาด�ำเนินการอยู่แล้ว เพ่ือแสดงข้อมูลและได้ผลประเมิน
ท่ีสะท้อนคุณภาพที่แท้จริงของสถานศึกษาจากการด�ำเนินงานตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาได้อย่างถูกต้อง น่าเช่ือถือ ชัดเจนและครบถ้วน
สามารถตรวจสอบผลการประเมินได้ตามสภาพบริบทของสถานศึกษาน้นั ๆ ท้ังนี้
การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาและการตัดสินระดับคุณภาพ
ตามมาตรฐานเป็นไปตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเช่ียวชาญ (Expert
Judgment) และมีการตรวจทานผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมิน
ในระดับเดียวกัน (Peer Review) โดยเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ก�ำหนดไว้
ดังนั้นคณะท�ำงานท่ีรับผิดชอบในการประเมินต้องมีความรู้อย่างรอบด้าน และสามารถ
วิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันในการตัดสิน เพื่อให้ระดับคุณภาพตามเกณฑ์ท่ีก�ำหนด
ซ่ึงจะไม่ใช่การให้คะแนนตามความคิดเห็นของคนใดคนหน่ึง มีการให้ข้อมูลแบบ
ตรงไปตรงมา จรงิ ใจ ปราศจากอคติ และคณะกรรมการประเมนิ ภายในต้องมนั่ ใจ
ว่าตนเองในฐานะผู้ประเมินมีความสามารถในการประเมินจริง ที่ส�ำคัญคือต้องมี
ความเข้าใจบริบทของสถานศึกษา เพ่ือจะได้ให้ค�ำแนะน�ำท่ีเหมาะสม น�ำไป
ปฏบิ ัตใิ ห้เกดิ ผลดตี อ่ การพฒั นาคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษานน้ั ๆ ได้ ท้ังน้ี ตอ้ งให้
ความสำ� คญั กบั การรบั ฟังความคิดเหน็ ของผถู้ ูกประเมินดว้ ย

10

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

หลังจากด�ำเนินการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเป็นผล
การประเมินในแต่ละมาตรฐานการศึกษาและประเด็นพิจารณาแล้ว จึงเขียน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาที่แสดงข้อเท็จจริงอย่างถูกต้องครบถ้วน
มีเนื้อหาสาระและหลักฐานท่ีแสดงเหตุผลท่ีมาของการให้ระดับคุณภาพอย่างถูกต้อง
ละเอยี ดถี่ถ้วน โดยรูปแบบรายงานประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา (Self-Assessment
Report) ควรมกี ารเรยี บเรียงเน้อื หาใหอ้ า่ นง่าย ใหเ้ ปน็ ล�ำดบั กำ� หนดหวั ขอ้ เร่ือง
ไมซ่ �ำ้ ซ้อน แบ่งเปน็ ๒ สว่ น คอื ส่วนท่ี ๑ บทสรุปส�ำหรับผูบ้ ริหาร และส่วนท่ี ๒
ข้อมูลการประเมินตนเอง ซ่ึงในส่วนที่ ๒ จะน�ำเสนอข้อมูลพ้ืนฐานทั่วไป และ
ตอบค�ำถาม ๓ ขอ้ คอื ขอ้ ๑ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษามรี ะดับคุณภาพใด
ข้อ ๒ ขอ้ มูล หลกั ฐาน และเอกสารเชงิ ประจกั ษส์ นบั สนุนมีอะไรบา้ ง และขอ้ ๓
แผนงาน แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นกว่าเดิม แล้วจึงน�ำเสนอรายงานให้
คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเห็นชอบหลังจากเขียนรายงาน
ประเมินตนเองเสร็จสมบูรณ์แล้ว ท้ังน้ี สถานศึกษาจะต้องรายงานและเผยแพร่
ผลการประเมินตนเองต่อผู้เก่ียวข้อง ได้แก่ ครู ผู้ปกครอง นักเรียน หน่วยงาน
ตน้ สงั กดั ชมุ ชน และหน่วยงานอ่ืนทีเ่ กย่ี วข้อง ซึ่งสถานศึกษาสามารถด�ำเนินการ
เผยแพร่ผลการประเมินตนเองแก่ผู้เกี่ยวข้องได้ตามความเหมาะสม เช่น เว็บไซต์
จลุ สาร วารสาร แผน่ พบั เสยี งตามสาย หนังสือเวียน และการช้ีแจงในการประชุม
เป็นต้น และกระบวนการทส่ี �ำคัญอีกกระบวนการหนึง่ คือการใช้ประโยชนจ์ ากผล
การประเมิน โดยหน่วยงานต้นสังกัด ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา
และผู้เกี่ยวข้องจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้ข้อมูลสารสนเทศผลการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศกึ ษาเพื่อการตดั สินใจในการก�ำหนดนโยบาย วางแผน และ
ด�ำเนินการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานการศกึ ษาต่อไป
ในการแต่งต้ังคณะท�ำงานเพื่อด�ำเนินการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษาน้ัน สถานศึกษาต้องด�ำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน

11

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ประกอบด้วย บุคลากรในสถานศึกษาและ/หรอื อาจมีบคุ คลอ่นื ท่เี กย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอนในสถานศึกษาน้ัน คณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพื้นฐาน ผู้ปกครองของนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษาและครูจากสถานศึกษาอ่ืน
ที่มีบริบทใกล้เคียง โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ท่ีจะได้รับจากการประเมินให้ได้มากที่สุด
มีการก�ำหนดแผนการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา เช่น ประเภทข้อมูล
ท่ีต้องการเก็บรวบรวมในแต่ละมาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา วิธีการเก็บรวบรวม
และวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผรู้ ับผดิ ชอบในการเก็บขอ้ มลู กำ� หนดระยะเวลาในการเก็บข้อมูล
และแผนการเผยแพร่ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาและแผนการติดตาม
การใช้ผลการประเมินตนเองเพ่ือการส่งเสริมจุดแข็งและพัฒนาส่วนท่ียังไม่บรรลุ
เปา้ หมายที่ก�ำหนดไว้
หลักการและข้นั ตอนการจดั ทำ� รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
การจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self-Assessment
Report) เป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานและการพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมา ซ่ึงต้องครอบคลุมตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาที่แต่ละสถานศึกษาได้ก�ำหนดไว้ เพ่ือรายงานและน�ำเสนอต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
และสาธารณชน รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษานนั้ เปน็ ฐานข้อมูล
ท่ีส�ำคัญในการวางแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาและรับการประเมิน
คุณภาพภายนอกต่อไป
การจัดท�ำรายผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นสิ่งท่ีต้องให้
ความส�ำคัญและต้องมีการท�ำงานอย่างเป็นระบบเพ่ือให้ได้รายงานท่ีสะท้อน
ผลการด�ำเนินงานท่ีถูกต้อง ชัดเจน และสมบูรณ์ ดังน้ัน สถานศึกษาจึงควร
มขี ้ันตอนการด�ำเนนิ งาน ดงั น้ี

12

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

Pag

ขข้นั ้นั ตตออนนกกาารรจจดั ดั ทท�ำาํ รราายยงงาานนผผลลกกาารรปปรระะเเมมนิ ินตตนนเเอองงขขอองงสสถถาานนศศกึกึ ษษาา

1 • แตง่ ต้ังคณะทาํ งาน
2 • รวบรวมข้อมลู สารสนเทศ
3 • เขียนรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
4 • นําเสนอคณะกรรมการสถานศกึ ษาพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ
5 • รายงานและเปิดเผยต่อผเู้ กี่ยวขอ้ ง

แผนภแผานพภทาี่ พ๑ทแี่ 1สดแงสขดัน้งขตัน้ อตนอกนากราจรัดจทดั ทำ� ํารราายยงงาานนผผลลกกาารรปปรระะเมเมินินตตนนเอเงอขงอขงอสงถสาถนาศนึกษศาึกษา
1คผรู้ณ.1ับะผแกิดตรช่งรอตมสบ้งักถหคาาลแ๑ ขณรนักลอ.สศะ๑ใะงถทึกนสบาษําแกถุคนงสาาตาลาศรแนถง่านจตึกศาตกัด่งนษึกั้งรตทศษผคา้ังําึมู้ขกาณคร ั้สีษนณาปะ่วยพาระทนงแะ้ืนทา�ำเตกกฐนําง่งอง่ยีาากตาบนวนาน้ังดขรคเผอ้ปว้พณู้ยบงรื่อะะรคจแเิทหณัดมล�ำาทนิะะงรอําตการานครนาจรเรเยอกมพู งงำ�แกื่อากหลานจ็สนระผัดาสดบลมทถใกุคาห�ำาารลรน้มรถาาศีผปทยกกึ้รูราํงรบัษะไาผดเผานมู้ม้ดิขผินีสน้ัชลต่วอพกนนบ้นืาเเหอฐรกงปาล่ียขนักรวอใะผขงนเบู้ส้อมกถรงินาิหารตแนาจนลศรดั เะึกทคออษรำ�งาาู จปกรําะหกนอ
1.2 รวบรวมรขา้อยมงูลานสผารลสกนารเทปศระเมนิ ตนเองกส็ ามารถทำ� ได้
ปคมวารตาะมรเมฐคินารนตบสกนถถาา้เวอรนน ข๑ศงศขอข.ึกึก๒องอษษงสงาขราถสขว้สอดาถอบมําถนางเูลารนศนสสวนึกศินถามศษึกการขึษกนาาสแรอ้ษศานรลมึกาเดวะทษูลดบังสศ�สาำนรอนเาว้ันซนดั้นรม่ึงคินขสขเสลป้อนก้อ่ง้อ็นมมาเผทงูลกรูลลกศรทรสตับะว่ีาเ่อกมบบรค็บสาวรวตนนรวาวรเกมมทบฐาขคศารร้วอนทวทามมกี่ส่ีมมูาจละีคนรึงทสว่าศต้อาาเึก้อมชนรษงื่อสสคเาถําปนุณขคือ็นเภอัญทแขางลศอ้อพสะยทมถขค่าูล่ีสาอวงเนะงายชสศทม่ิงิงถึกปส้อเาษมนรนนะาบ่ือคศ จูงรุึกณซักจณษ่ึงาษภ์ขเาก์ทปาอแคี่เ็พนงลกวระา่ียาสมวยอถขงดูก้อาคนตงลก้อผ
พัฒนาสถานศกึกรษะาบแวลนะกผาลรดทําี่มเนีคินวงาามนสข�ำอคงัญสอถยาน่างศยึกิ่งษาเนในื่อรงอจบากปคีทว่ีผา่ามนถทูกี่เตกิด้อขงแึ้นลจะรคิงแวลามะสคารมบาถร้วถนสะท้อนค
นแต่ละมาตรขฐอานงกขา้อรมศูลกึ สษารขสอนงสเทถาศนนศั้นึกษสา่งไดผอ้ลยตา่ ่องครวบาถมว้คนวชาดัมเนจน่าเช่ือถือและความสมบูรณ์

ข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการเขียนรายงาน ได้แก่ 1) ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษา เช่น ข้อมูลเก
ปนกัระเรเียมนินแตลนะเอบงุคขลอางกสรถในานสถศาึกนษศากึ เษชา่นขข้อ้อมมลู ูลงเบกป่ียรวะกมับาผณลกขาอ้กรามรจจูลดััดทสก�ำ ภราายารงพาเนรชผียลมุ กนชารรนปู้ตรโะเาดมมินยตหรนเวอลงมักขอสงแสูตถลาระนขศึก2อษาง) สขถ1อ้ า3มนลู ศทึก่เี ปษน็าผ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระดับสถานศึกษา ผลการประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ผลการท

ของรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ดังน้ัน ข้อมูลที่เก็บรวบรวม
จึงต้องเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาสถานศึกษาและผลด�ำเนินงาน
ของสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมาที่เกิดข้ึนจริงและสามารถสะท้อนคุณภาพ
ในแตล่ ะมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไดอ้ ย่างครบถ้วนชัดเจน
ข้อมูลสารสนเทศที่ใช้ในการเขยี นรายงาน ได้แก่ ๑) ขอ้ มลู ทว่ั ไปของสถานศึกษา
เช่น ข้อมูลเก่ียวกับนักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษา ข้อมูลงบประมาณ
ขอ้ มลู สภาพชุมชนโดยรวม และ ๒) ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
เช่น ข้อมูลเก่ียวกับผลการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษา ข้อมูล
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษา ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์
ของผู้เรยี น ผลการทดสอบระดับชาติของผ้เู รียน หรือผลการประเมนิ ผ้เู รยี นอื่น ๆ
ผลการด�ำเนินงานในเชงิ ผลการประเมินจากการด�ำเนินงานตามแผนงาน โครงการ
และกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา ผลการใช้แหล่งเรียนรู้
ภายในและภายนอกสถานศึกษา ผลการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผลการจัดกิจกรรมพฒั นาสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คม สรุปผลการประเมิน
จากหน่วยงานภายนอกและขอ้ เสนอแนะ
๑.๓ เขยี นรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
สถานศึกษาสามารถก�ำหนดรูปแบบการรายงานผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา (SAR) ได้ตามความเหมาะสม สามารถน�ำเสนอได้ท้ังข้อมูล
เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การน�ำเสนออาจเป็นความเรียง ตารางประกอบ
ความเรียง การบรรยายประกอบแผนภูมิ รูปภาพ หรือกราฟ ฯลฯ โดยใช้ภาษา
ท่ีอ่านเข้าใจง่าย กระชับ ชัดเจน สาระส�ำคัญแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ
ส่วนที่ ๑ บทสรุปส�ำหรับผู้บริหาร และส่วนท่ี ๒ ข้อมูลการประเมินตนเอง
ซง่ึ ในส่วนท่ี ๒ จะนำ� เสนอข้อมลู พน้ื ฐานทัว่ ไป และ ตอบคำ� ถาม ๓ ขอ้ คอื ขอ้ ๑

14

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีระดับคุณภาพใด ข้อ ๒ ข้อมูล หลักฐาน
และเอกสารเชงิ ประจักษ์สนบั สนุนมีอะไรบ้าง และขอ้ ๓ แผนงาน แนวทางพัฒนา
คุณภาพใหด้ ขี น้ึ กว่าเดิม
๑.๔ น�ำเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ
สถานศึกษาต้องน�ำเสนอรายงานให้คณะกรรมการสถานศึกษาพิจารณา
ให้ความเห็นชอบและรับรองผลการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาหลังจาก
เขียนรายงานประเมินตนเองเสรจ็ สมบรู ณ์แล้ว
๑.๕ รายงานและเปดิ เผยตอ่ ผเู้ กย่ี วข้อง
เมื่อรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้รับความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานแล้ว สถานศึกษาจะต้องรายงานและ
เผยแพรผ่ ลการประเมินตนเองของสถานศึกษาแกผ่ ู้เก่ียวขอ้ ง ได้แก่ ครู ผปู้ กครอง
นักเรยี น หนว่ ยงานตน้ สังกัด ชุมชน และหน่วยงานอืน่ ทเี่ ก่ยี วข้อง ซง่ึ สถานศกึ ษา
สามารถด�ำเนินการเผยแพร่ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาได้หลากหลาย
วิธีตามความเหมาะสม เช่น เว็บไซต์ของสถานศึกษา จุลสาร วารสาร แผ่นพับ
เสยี งตามสาย และการชีแ้ จงในการประชุม เปน็ ต้น

15

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

••ขขขดดโโโคคคคอออํําารเเรรรูงงงนนผสสส งงงิินนู้ปถถถสสสกกาาากรรรนนนาา้้าา้าครรศศศงงงรเเกึึกกึขขขผผอโษษษคยยงอออาาารแแงงงนงพพรรรจจจักสาาาลุลุลุรรเ่่รผผยยยสสสรา้ลลาาาียงงงรรรงกกาาานขาานนนวววอรรหาาาผผผปปรรรงนลลลสสสรรร่วกกกาาาะะายรรรเเาาายงมมรรรงแแแาิินนปปปาผผผนตตนน่่นน่รรรตนนะะะผพพพ้นเเเเเออััับบบลสมมมงงังกนนนิิิเเเขขกสสสาออตตตัดยยีีียรงงนนนงงงปสสชตตตเเเรถถุมาาาอออะาามมมชงงงเนนมสสสขขขนศศินาาาอออยยยึึกกแตงงงษษลแแแนสสสาาะผผผเถถถไไอหน่นน่่ ดดาาางนพพพ้้หหนนนข่วบบััับลลศศศอยาาแแแึกกกึึงงกกลลลสาษษษหหนะะะถาาาลลกกกอาาาาาา่ืนนยยรรรทววศชชชิิธธ่ีเ้ีแแแี้ี้กึ กีีตตจจจษ่ียาางงงามมวใใในนนขคคกกก้อววาาาาางรรรมมปปปซเเหหรรรึ่งะะะสมมชชชถาามุมมุุะะาสสนเเเปปปมมศน็็็นนึกเเตตตชชษน้นน้้่่นนาสเเาววม็็บบาไไซซรตตถ์์

•ภาคผนวก••••••แภหกกภแหภกหผผาาาาาลลลรรรพพพนนกักักั ศศศพพรรรฐฐฐึกกึกึวววาาาัฒฒั ษษษมมมนนนนนาาาขขขสสสขขขาาอออนนนคคออองงงบับบัั ุณุณคคคงงงสสสสสสณุุณณุ ภภนนนถถถภภภาานุุนนุาาาพพาาานนนผผผพพพขขลลลศศศออกกกกกกึกึึกงงาาาาาาษษษสสรรรรรราาาถถจจจปปปัดดััดาารรรนนกกกะะะศศาาาเเเมมมรรรกึกึ ินินินศศศษษตตตึกึึกกาาษษษนนนใในนเเเาาาอออปปตตตงงงาาาถีีถมมมัดดั มมมไไปปาาาตตตรรรฐฐฐาาานนน
• แ••••••••••••ผนขสภสขผผภขผภสพอออ้รร้้รลลลาาาุุปปุปัฒคคคกกกมมมผผผผผผาาาูููลลลนรรรลลลนนนพพพาปปปวววนื้้้ืืนนคแแแรรรกกกณุฐฐฐนนนะะะาาาเเเวววภนนนมมมทททาินินินาาาพตตตงงงขกกกนนนอาาาเเเงอออรรรสพพพงงงถขขขฒัฒััฒาอออนนนนงงงสสสศาาาคคคถถถึกุณุุณณาาาษนนนาภภภศศศใาาานึึกกกึ พพพปษษษใใใีถาาาหหหัดด้้ด้ดไีขีีขขปึ้น้้นึนึ กกกวววาา่่า่ เเเดดดมมมิิิ
แผนภาพท่ี ๒แแผผแนนสภภดาาพพงโททคี่ี่ 22รงแแสสสดดรงง้าโโคคงรรขงงอสสรรง้า้ารงงขขาออยงงงรราาายยนงงาาผนนลผผกลลกกาาารรรปปปรรระะะเเมมเิินนมตตินนนตเเออนงงขขเออองงงสสขถถาาอนนงศศสึึกกถษษาาานศึกษา

แผนภาพท่ี 2 แสดงโครงสรา้ งของรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

โครงสรา้ งรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา มดี ังนี้
สว่ นที่ ๑ บทสรปุ ส�ำหรบั ผูบ้ รหิ าร
แสดงรายละเอียดการสังเคราะห์ผลการประเมินตนเองและน�ำเสนอข้อมูล
โดยสังเขป ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา และผลการประเมินตนเองท่ีมี
ความกระชับ ชัดเจน ตรงตามประเด็นส�ำคัญ ๆ และมีที่มาของหลักฐานชัดเจน
ในเชิงประเมิน ส่ือให้เห็นอย่างชัดเจนถึงผลกระทบจากการด�ำเนินงานของ
สถานศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพในด้านต่าง ๆ ตามกรอบการประเมินซึ่งได้แก่
มาตรฐานของสถานศกึ ษา
สว่ นที่ ๒ รายละเอียดผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
แสดงรายละเอียดผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประกอบด้วย
ข้อมูลพื้นฐาน ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา และภาคผนวก ซึ่งมี
รายละเอยี ด ดงั น้ี

16

แผนภาพที่2แสดงโครสา้งขอรายงนผลการปะเมนิ ต เองข สถานศึกษาการจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๒.๑ ข้อมูลท่ัวไปของสถานศึกษา : น�ำเสนอข้อมูลพื้นฐานของสถาน
ศึกษาท่ีส�ำคัญให้เหมาะสม และเป็นไปตามสภาพจริง สะท้อนให้เห็นถึงสภาพ
แวดลอ้ มของสถานศกึ ษา โดยนำ� เสนอเป็นความเรยี ง ตาราง แผนภมู หิ รือกราฟ ตามความ
เหมาะสมของขอ้ มูล ซึง่ ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษาอาจประกอบดว้ ย
๑) ข้อมูลพ้ืนฐานของสถานศึกษา เช่น ชื่อ รหัสสถานศึกษา ที่ต้ัง
หมายเลขโทรศพั ท์ โทรสาร E-mail เวบ็ ไซต์ ระดบั ชนั้ ทเี่ ปิดสอน เป็นตน้
๒) การบริหารจัดการแนวทางการจัดการศึกษา ประกอบด้วย
ปรัชญาการศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เอกลักษณ์ และอัตลักษณ์ของโรงเรียน
เป็นต้น
๓) ข้อมลู บคุ ลากร ประกอบดว้ ย จ�ำนวนผบู้ ริหาร จ�ำนวนครจู �ำแนก
ตามสาขาวชิ า จ�ำนวนนกั เรียนจำ� แนกตามระดบั ชน้ั คุณลกั ษณะ เช่น ผู้เรยี นทม่ี ี
ความพกิ าร ผเู้ รยี นที่มีความด้อยโอกาส ผู้เรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษ เปน็ ต้น
๔) ข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เช่น ค่าเฉล่ียผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) หรือผลการทดสอบความสามารถ
พนื้ ฐานของผูเ้ รียนระดับชาติ (NT) เปน็ ต้น
๕) ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม แหล่งเรียนรู้ภายใน/ภายนอก
สถานศกึ ษา ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน เปน็ ต้น
๒.๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา : น�ำเสนอผลการประเมิน
ตนเองตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย ๑) การสรุปผล
การประเมินตนเองของสถานศึกษาในภาพรวม ๒) การน�ำเสนอผลการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษาเป็นรายมาตรฐาน โดยมรี ายละเอยี ดแต่ละประเดน็ ดงั นี้
๑) การสรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในภาพรวม :
เป็นการน�ำเสนอระดับคุณภาพในภาพรวมของสถานศึกษา ผลการด�ำเนินงาน
ของสถานศึกษาที่สนับสนุนผลการประเมินตามระดับคุณภาพท่ีสถานศึกษาได้รับ

17

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

โดยน�ำผลการด�ำเนินงานท้ัง ๓ มาตรฐาน และน�ำเสนอผลงานที่แสดงให้เห็นว่า
สถานศกึ ษาไดร้ บั ผลการประเมินในระดบั ดงั กลา่ ว เพราะเหตุใด โดยอาจน�ำเสนอ
เป็นความเรียง ตาราง แผนภูมิ หรือกราฟ ฯลฯ ตามความเหมาะสมของข้อมูล
โดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพร่วมให้ระดับคุณภาพของสถานศึกษาในภาพ
รวม ซง่ึ ในบางครัง้ อาจพบวา่ ผลการประเมินมีความแตกต่างกนั จึงอาจตอ้ งใช้วธิ ี
ทางด้านคณิตศาสตร์และทางด้านพฤติกรรมศาสตร์เพื่อหาฉันทามติของผล
การประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษาในภาพรวม
๒) การน�ำเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็น
รายมาตรฐาน : เป็นการน�ำเสนอผลการประเมินคุณภาพภายใน เป็นรายมาตรฐาน
โดยอาจเขียนเป็นรายข้อ หรือความเรียงให้ครอบคลุมทุกประเด็นพิจารณาของ
แต่ละมาตรฐาน ซ่ึงมรี ายละเอียดการน�ำเสนอใน ๓ ประเดน็ ดงั น้ี
๒.๑) ระดบั คณุ ภาพในแต่ละมาตรฐานอยู่ในระดับใด : เปน็ การ
ตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐาน โดยพิจารณาผลการด�ำเนินงานจากความส�ำเร็จ
ตามประเด็นพิจารณาของแต่ละมาตรฐานแบบองค์รวม (Holistic) ท้ังน้ีผล
การประเมินระดับคุณภาพต้องสอดคล้องกับผลการด�ำเนินงานท่ีเกิดข้ึนจริง
ซ่ึงเกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ๕ ระดับ คือ ก�ำลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ และ
ยอดเย่ียม (แนวทางการใหร้ ะดบั คุณภาพในภาคผนวก)
๒.๒) มีหลักฐานในการอ้างอิงผลการประเมินตามประเด็นพิจารณา
ของแต่ละมาตรฐานอย่างไร: ให้น�ำเสนอกระบวนการพัฒนา วิธีการด�ำเนินงาน
ของสถานศึกษาในแต่ละมาตรฐาน ให้ชัดเจนครอบคลุมตามประเด็นพิจารณา
เพ่ือสนับสนุนผลการตัดสินคุณภาพของมาตรฐาน โดยน�ำเสนอในเชิงปริมาณ
และ/หรอื เชิงคณุ ภาพใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกบั ลกั ษณะข้อมูลในการประเมิน
๒.๓) สถานศึกษาแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา หรอื จะมี
กระบวนการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ดีขึ้น

18

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

กว่าเดิมได้อย่างไร : เป็นการน�ำเสนอผลการด�ำเนินงานท่ีไม่เป็นไปตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษาก�ำหนด หรือโครงการ/กิจกรรมที่คาดว่าหากด�ำเนินงานแล้ว
จะส่งผลให้การจัดการศึกษาของสถานศึกษาในแต่ละมาตรฐาน มีคุณภาพ
เพ่ิมมากข้นึ สามารถธำ� รงค์รกั ษา หรอื ยกระดับคุณภาพได้
๒.๓ ภาคผนวก นำ� เสนอหลักฐานขอ้ มูลส�ำคัญ หรอื เอกสารอ้างอิงตา่ ง ๆ
โดยสังเขป

19

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ตวั อยา่ งการเขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา
การน�ำเสนอแนวทางการเขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
เล่มนี้เป็นการยกตัวอย่างให้เห็นว่าการเขียนรายงานผลการประเมินตนเองของสถาน
ศึกษาสามารถท�ำได้หลายลกั ษณะ เช่น การเขยี นบรรยาย การน�ำเสนอเป็นตาราง
การน�ำเสนอด้วยแผนภาพ ซง่ึ สถานศึกษาสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมกับสารสนเทศ
ที่สถานศึกษาต้องการน�ำเสนอ เพ่ือสะท้อนผลการด�ำเนินงานท่ีชัดเจนเข้าใจง่าย
และครบถว้ น
สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลทัว่ ไปของสถานศึกษา
๑.๑ ข้อมูลท่ีตั้งสถานศึกษา แสดงข้อมูลที่ตั้งของสถานศึกษา วิสัยทัศน์
พันธกจิ เพอ่ื บอกลักษณะท่วั ไปของสถานศกึ ษา ทีอ่ ยู่และช่องทางการตดิ ต่อ
๑.๒ ข้อมลู ผบู้ ริหาร แสดงข้อมูลของผ้บู รหิ ารของสถานศกึ ษา
๑.๓ ข้อมูลครูและบุคลากร แสดงจ�ำนวนครูและบุคลากรในสถานศึกษา
โดยสรุป โดยออกแบบการน�ำเสนอในรูปแบบท่ีเหมาะสม เช่น จ�ำแนกตามเพศ
จ�ำแนกตามวฒุ ิการศึกษา จำ� แนกตามวิชาเอก จ�ำนวนชัว่ โมงเฉล่ีย ฯ เพือ่ ใหผ้ ู้อ่าน
ไดท้ ราบข้อมลู ครแู ละบคุ ลากรท่มี ใี นสถานศกึ ษาท้ังหมด
๑.๔ ข้อมูลนักเรียน แสดงจ�ำนวนนักเรียนทุกระดับที่มีในสถานศึกษา
โดยสถานศึกษาสามารถออกแบบการน�ำเสนอได้ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง
แผนภมู ิ
๑.๕ ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับสถานศึกษา น�ำเสนอข้อมูล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ซ่งึ อาจประกอบด้วย ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ๘ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพนื้ ฐาน (O-NET) ผลการประเมนิ
คุณภาพผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ (NT) ผลการประเมินความสามารถ

20

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

การอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ (RT) ผลการประเมินคุณธรรม
จริยธรรมท่ีสถานศึกษาก�ำหนด ผลการประเมินสมรรถนะผู้เรียนฯ ผลการประเมิน
คุณภาพภายในรอบปีท่ีผ่านมา (เทียบ ๒ ปีการศึกษา) โดยสถานศึกษาสามารถ
ออกแบบการน�ำเสนอข้อมูลในรูปแบบที่เหมาะสมได้ และหากต้องการน�ำเสนอ
ให้เห็นพัฒนาการของผลการประเมินควรน�ำเสนอข้อมูล ๒ – ๓ ปีย้อนหลัง
ประกอบการน�ำเสนอ
ส่วนที่ ๒
น�ำเสนอผลการประเมินของสถานศึกษา โดยมีหัวข้อการน�ำเสนอ ๓ ข้อ
ดงั นี้
๒.๑ ระดับคุณภาพในภาพรวมและรายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มรี ะดับคุณภาพใด
๒.๒ ข้อมูล หลักฐาน และเอกสารเชิงประจักษ์สนับสนุนในเชิงประเมิน
ท่ีแสดงรายละเอียดสนับสนุนให้เห็นถึงความเหมาะสมสอดคล้องในผลการประเมิน
ตามท่รี ะบไุ ว้ในแตล่ ะระดบั คุณภาพ
๒.๓ แผนงานหรือแนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นกว่าเดิมอย่างน้อย
๑ ระดับ หรอื การรกั ษาให้คงสภาพอย่างไร

21

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ตวั อยา่ งการเขียนรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็
ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยย่ี ม
สถานศกึ ษาจดั ประสบการณ์การท่ีครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสติปัญญา มีสขุ นิสยั ทีด่ ี ดูแลความปลอดภยั
ของตนเองได้ โดยมีครูประจ�ำชั้น ห้องละ ๒ คน ดูแลอย่างใกล้ชิด จัดบริการ
อาหารให้เด็กอย่างเพียงพอและถูกหลักโภชนาการ ครูมีการสร้างแรงจูงใจในการ
บริโภคอาหารที่มีคุณค่า มีการประเมินภาวะโภชนาการเป็นประจ�ำทุกภาคเรียน
และได้รับการตรวจสุขภาพประจ�ำปีทุกคน มีการช่ังน�้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็ก
ภาคเรียนละ ๒ ครัง้ รวมท้งั นกั เรยี นไดร้ ับการปลกู จติ สำ� นึกในเรอ่ื งการดูแลสุขภาพ
การออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัย อุบัติเหตุ
และสิ่งเสพติดให้โทษ ได้รับการส่งเสริมทักษะด้านการเคล่ือนไหวเต็มตาม
ศักยภาพ มกี ารทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นประจ�ำทุกภาคเรียน
สถานศึกษาจัดกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย เช่น กิจกรรมวันสำ� คญั กิจกรรมศิลปะ
กจิ กรรมกฬี าสี กิจกรรม Open Class ค่าย K-STEM English Camp กจิ กรรม
ทัศนศึกษาฯลฯ เพอื่ ส่งเสริมและกระตุ้นให้เดก็ มีความกระตอื รือรน้ ในการเขา้ ร่วม
กิจกรรมต่างๆ กล้าพูดกล้าแสดงออกตามความสามารถ มีความรับผิดชอบ
มีความคิดสร้างสรรค์ อีกท้ังยังปลูกจิตส�ำนึกให้เด็กรักธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
โดยมอบหมายให้เด็กช่วยกนั ดูแลต้นไม้ และสภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษาใหอ้ ยู่
ในสภาพสะอาด เรียบร้อย สวยงามอยู่เสมอ จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อเปิดโอกาส
ให้เด็กทุกคนได้แสดงออกถึงการเป็นผู้น�ำและผู้ตามได้รับการฝึกให้รู้จัก
มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและส่วนรวม เพ่ือให้มีพัฒนาการด้านสังคมที่ดี
มีระเบียบวินัย เช่ือฟังค�ำสั่งสอนของพ่อแม่ ครู อาจารย์ มีความซ่ือสัตย์ สุจริต

22

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

รู้จักช่วยเหลือแบ่งปัน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น ประพฤติตนตามวัฒนธรรม
และศาสนาทต่ี นเองนับถอื สง่ เสรมิ ให้เด็กรูจ้ ักคดิ ฟัง สงั เกต พดู ส�ำรวจ คน้ คว้า
ทดลอง โดยการลงมือปฏิบตั จิ ริงด้วยตนเอง และได้รับการปูพื้นฐานทกั ษะการเรยี นรู้
ผ่านประสบการณ์ตรง ได้รับการส่งเสริมให้มีทักษะในการท�ำงานร่วมกันเป็นทีม
เปิดโอกาสให้รู้จักคิด วางแผน ตัดสินใจ สร้างสรรค์ผลงานได้ตามความคิดและ
จินตนาการเสริมสร้างลักษณะนิสัยใฝ่เรียนรู้ กล้าพูด กล้าถาม ส่งเสริมให้มีนิสัย
รักการอ่าน โดยสถานศึกษาจัดหาหนังสือไว้บริการในห้องสมุดอย่างหลากหลาย
และมีจำ� นวนมากพอที่เดก็ สามารถเข้าไปศึกษาด้วยตนเอง และยมื กลบั บา้ นได้
ขอ้ มลู หลกั ฐานและเอกสารสนับสนนุ
ตวั อยา่ งที่ ๑:
สถานศึกษาได้รวบรวมข้อมูลพัฒนาการของนักเรียนระดับปฐมวัยทุกคน
จ�ำนวน ๓๖๒ คน แลว้ นำ� มาประเมินตามเกณฑข์ องสถานศกึ ษา พบวา่
๑. การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย พบว่า เด็กจ�ำนวน ๓๔๕ คน
มีพัฒนาการด้านร่างกายในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๓๐ (สูงกว่าค่าเป้าหมาย
รอ้ ยละ ๙๐)
๒. การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ พบว่า เด็กจ�ำนวน ๓๖๐ คน
มีพัฒนาการด้านอารมณ์ในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๔๔ (สูงกว่าค่าเป้าหมาย
รอ้ ยละ ๙๐)
๓. การประเมินพัฒนาการด้านสังคม พบว่า เด็กจ�ำนวน ๓๕๑ คน
มีพัฒนาการด้านสังคมในระดับดี คิดเป็นร้อยละ ๙๖.๙๖ (สูงกว่าค่าเป้าหมาย
รอ้ ยละ ๙๐)
๔. การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า เด็กจ�ำนวน ๓๔๐ คน
มีพฒั นาการด้านสติปัญญาในระดับดี คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๓.๙๒ (สูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ ๙๐)

23

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

P a g e | ๑๕

4. การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า เด็กจํานวน 340 คน มีพัฒนาการด้านสติปัญญาใน
ระดบั ดี คิดเปน็ ร้อยละ 93.92 (สงู กว่าค่าเป้าหมาย รอ้ ยละ 90)
ตตวั ัวออย่ายงทา่ ่ี ง2ท: ี่ ๒:
จ�ำนวจนํานนวกันนเรกั เียรยีนนททม่ีมี่ ผี ผี ลลกากรปารระปเมรินพะฒัเมนนิากพารฒัในนระาดบักดาี รในระดับดี

100.00 98.82 99.41 99.45 98.44 94.71 อนุบาลศกึ ษาปีที่ ๑
98.00 95.30 99.48 96.96 93.2393.92 อนบุ าลศึกษาปที ี่ ๒
96.00 รวม
94.00 92.19 ดา้ นอารมณ์ 95.29 ด้านสตปิ ัญญา
92.00
90.00 ด้านรา่ งกาย ดา้ นสังคม
88.00

อ ารมณ์ ดจา้าจนกาสแกงัผคนแมภผูมแิลนพะภบดวา้ มู ่านสิเดตพ็กิปนบญั ักญวเรา่าีย ในนเชรดั้นะอ็กดนบั นุบดาักี รล้อเศรยึกลยี ษะนาป9ชีท8ัน้ี่.18อ2ม,นีผ9ลบุ 9ก.าา4รล1ปศร9ะึก5เม.ษ2ิน9พาัฒปแลนีทะาก่ี9า๑4รด.7้าม1นรผีต่าางลมกกลายําาดดรบั ้าปนระเมนิ
พแลัฒะดน้านาเสดกต็กิปานัญักรญเดราีย้านในนชร้ันระอด่านบั งุบดกาี รลา้อศยยึกลษะาดป9้าีท2นี่.21อ9มา,ีผ9รล9มก.า4ณร8ป์ร9ะด8เม.้า4ินน4พสัฒแลนังะาคก9มา3รด.2แ้า3นลรต่าะางมดกลา้าาํยดนดบั ส้านตอิปารัญมณญ์ ดา้าน สใังนคมระดับดี
รอซ่ึางอ้ ทรมยุกณดล้า์ ะดนเม้าเส่ือนดูง๙พกส็ก๘วังิจค่าานเ.มรป๘ัณก้าแ๒หาลเมใระ,นาดียยภ๙้าทนนา๙ี่พสสชถตร.า๔วิปั้นนมัญ๑ศอญพึกนษบา๙าวุบใก่น๕าําารเห.ะด๒ลนด็กดับศ๙รดะคึกีดือรแษับ้อผลปยาลละฐกปะมาว๙ร9ีทัยป5๔มรี่ .ะีผ3๒.เล๗0มก,ิน๑า9พมร9ัฒปีผต.น4รลาะา5กเมกมา9ิลนรา6ดพำ�ร.้า9ัฒดนป6รนบั ่าราแงกละกาะาเรยม9ดด้3าิน้าน.9นพร2อ่าาังฒตรกมาานมณยลา์ ดําดกด้า้าับนนารด้าน
รสัง่าคงมกแาลยะด้าดนส้าตนิปอญั ญารามในณระ์ดดับด้าี รน้อสยลังะค9ม0.0แ0ละด้านสตปิ ญั ญา ในระดบั ดี ร้อยละ ๙๒.๑๙,
๙แน๙วท.๔าง1๘พ.ฒั ส๙น่งเา๘สครณุ.ิม๔กภา๔ารพเขใแหา้ รล้ดว่ ขี มะน้ึ กกิจ๙วก่า๓รเรดม.มิ๒กับ๓ชมุ ตชนาแมละลส�ำงั คดมบั ภายนอกสถานศกึ ษาใหม้ ากข้ึน โดยมุ่งหวังให้เด็กมี
ความเชื่อเมม่ันใ่ือนพตนิจเอางรแลณะกาลใ้านแสภดางอพอรกใวนมส่ิงทพ่ีดีงบามวอ่าัน เปเ็นดอ็กัตลรักะษดณับ์ขอปงสฐถมานวศัยึกษมาีผเลพื่อกใหา้เรด็ปกมรี ะเมิน
พปรัฒะสนบกา2ากร.ณจาแ์ัดรลกดะิจนก้าํารนสร่ิงมรทก่า่ดี าีจงรากเกรภีายนายยรนู้ โอดดกย้ามยนาึดพอศฒั ักานยราภตมานพณเอขงอ์ ตงด่อเดไ้าป็กนแตส่ลังะคคนมเชแ่นลกิจะกดรร้ามนกสารตเริปียนัญรู้แญบบา STในEMระดับดี
Eพรdฒั้อuนยcาaลกtiาoะรnทั้ง๙โ4ด๕ยด.ค้า๓นรูผเ๐ตู้สม็ อ,ตนาจ๙มัดศ๙กกั ิจย.ก๔ภราร๕พมขกอา๙งรเสด๖อ็กน.แ๙แตบ่ล๖ะบค5นแลSะtep๙s ๓ซ.ึ่ง๙เป๒็นกาตรเราียมนลกา�ำรสดอับนที่สซ่ง่ึงเสทริมุกใหด้เด้า็กนมสี ูงกว่า
เป้าหมายท่ีสถานศึกษาก�ำหนด คือ ผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย
ด้านอารมณ์ ดา้ นสงั คม และด้านสตปิ ญั ญา ในระดับดี รอ้ ยละ ๙๐.๐๐

24

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

แนวทางพัฒนาคุณภาพใหด้ ีข้นึ กวา่ เดิม
๑. ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมกับชุมชนและสังคมภายนอกสถานศึกษา
ใหม้ ากขึน้ โดยมงุ่ หวังใหเ้ ดก็ มคี วามเชอ่ื มั่นในตนเองและกลา้ แสดงออกในสิง่ ทดี่ ีงาม
อันเป็นอัตลักษณ์ของสถานศึกษา เพ่ือให้เด็กมีประสบการณ์และน�ำส่ิงที่ดีจาก
ภายนอกมาพฒั นาตนเองต่อไป
๒. จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยยดึ ศักยภาพของเด็กแตล่ ะคน เช่น กจิ กรรม
การเรยี นรแู้ บบ STEM Education โดยครผู สู้ อนจัดกจิ กรรมการสอนแบบ ๕ Steps
ซง่ึ เป็นการเรียนการสอนท่สี ง่ เสริมใหเ้ ดก็ มพี ัฒนาการทงั้ ๔ ดา้ นเต็มตามศักยภาพ
ของเด็กแตล่ ะคน

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ระดบั คณุ ภาพ : ดเี ลศิ
สถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ มหี ลักสูตรสถานศึกษา
ท่ีครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
และบริบทท้องถิ่น ซึ่งการจัดท�ำหลักสูตรดังกล่าว เป็นความร่วมมือท้ังครู
ผู้ปกครอง และชมุ ชน มคี รผู ้สู อนที่มวี ุฒิและความเชยี่ วชาญทเ่ี พยี งพอทกุ ระดับชน้ั
มีส่ิงแวดล้อมท่ีสะอาด ปลอดภัย เอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก พร้อมทั้งมีส่ือและ
เทคโนโลยีที่สนับสนุนการจัดประสบการณ์ท่ีได้มาตรฐาน ผู้บริหารเปิดโอกาส
ให้ผ้เู ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา
ขอ้ มูลหลกั ฐานและเอกสารสนับสนนุ
ตวั อยา่ งท่ี ๑:
๑. สถานศึกษาได้วิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ของกระทรวงศึกษาธิการ แล้วน�ำมาจัดท�ำเป็นหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

25

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ซึ่งเป็นหลักสูตรอิงอัตลักษณ์ ชื่อว่า หลักสูตรกุลสตรียุค ๔.๐ ซึ่งครอบคลุม
พัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน เพื่อเป็นแนวทางในการ
พัฒนาเด็กให้บรรลุผลด้านพัฒนาการ ตลอดจนมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
ปรากฏเด่นชัด
๒. สถานศึกษาไดจ้ ัดครูทม่ี ีวฒุ กิ ารศกึ ษาปฐมวัยสอนทกุ ระดับช้ัน โดยเนน้
ให้ครูมีการบริหารชั้นเรียนท่ีสร้างวินัยเชิงบวก และปฏิสัมพันธ์ท่ีดีกับเด็กและ
ผปู้ กครอง จนเป็นท่ีพึงพอใจและเปน็ ท่ยี อมรบั ของผู้ปกครองในการสง่ บุตรหลาน
เข้าเรียนในระดบั ปฐมวัยเป็นจำ� นวนมากทกุ ปกี ารศกึ ษา
๓. สถานศึกษาส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์
โดยการสนับสนุนครูทุกคนได้พัฒนาตนเองและวิชาชีพท้ังในและนอกสถานศึกษา
อย่างต่อเน่ือง ตลอดจนร่วมมือรวมพลังกันในการพัฒนาบทเรียนร่วมกันโดยผ่าน
กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (PLC) เพอื่ สรา้ งความเปลย่ี นแปลง
ท่ีส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพเด็กผ่านการจัดท�ำแผนการจัดประสบการณ์
โดยค�ำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของเด็กและเน้นพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน
ผ่านกจิ กรรมหลัก ๖ กิจกรรม มกี ารประเมินพฒั นาการของเด็ก ทัง้ แบบรายบคุ คล
และโดยรวม และน�ำผลการประเมินให้ผู้ปกครองร่วมพิจารณาเพื่อน�ำมาพัฒนาเด็ก
ตามความสามารถของเด็กแต่ละคน
๔. สถานศึกษาได้จัดสภาพแวดล้อมและสื่อการเรียนรู้ที่ปลอดภัยและเพียงพอ
ส�ำหรับเด็กทุกระดับชั้น เช่น มุมประสบการณ์ ห้องสมุด ห้องเรียนคอมพิวเตอร์
จัดโทรทศั นท์ สี่ ามารถเช่ือมต่อส่ือการเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ในทกุ หอ้ งเรียน สนามเดก็ เล่น
สระว่ายน้ำ� ห้องนาฏศลิ ป์ หอ้ งดนตรี หอ้ งประชมุ เป็นต้น
๕. สถานศึกษาจัดหาโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ในห้องเรียนส�ำหรับให้นักเรียน
ได้เรียนรู้ เกมการศึกษา โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรมจ�ำค�ำศัพท์
ภาษาอังกฤษ (Wording Easy Word) โปรแกรมฝึกทักษะวาดรูป แต่งภาพ
ส�ำหรบั เด็ก (Kid Painter)

26

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

๖. มีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ผู้บริหารเข้าใจถึงปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ให้ค�ำแนะน�ำ
ค�ำปรึกษาทางวิชาการและ เอาใจใส่การจัดการศึกษา มีการกระจายอ�ำนาจ
การบริหารงานทุกระดับช้ัน มีการประชุมกลุ่มย่อย และเปิดห้องเรียน (Open
Class) ในงาน K-STEM Open Class ผู้ปกครองและชุมชน ได้มีโอกาสรับรู้
ถึงการจัดการเรียนการสอนและเปิดโอกาสให้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเกี่ยวกับ
การพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัย มีการก�ำกับติดตาม ประเมินผล
จัดท�ำรายงานผลการด�ำเนินงานประจ�ำทุกปี จัดประชุมผู้ปกครองเพ่ือแจ้งผล
การประเมิน ให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมและประสบการณ์เพื่อพัฒนา
เด็กร่วมกันจนเป็นความพึงพอใจของทางสถานศึกษา ชุมชนและผู้ปกครอง
น�ำไปเป็นแนวทางการดำ� เนินงานเพอื่ พฒั นาคุณภาพของสถานศกึ ษา

ตัวอย่างท่ี ๒: ผลการด�ำเนนิ งาน
จัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย ซึ่งเป็น
ประเด็นการพิจารณา หลกั สตู ร อิงอัตลักษณ์ ช่อื วา่ หลักสตู รกลุ สตรยี ุค ๔.๐
๑. มีหลักสูตรครอบคลุม - จ�ำนวนหอ้ งเรยี น
พฒั นาการท้งั ๔ ด้าน ชนั้ อนุบาลศึกษาปที ี่ ๑ ๖ ห้องเรียน
๒. จัดครใู หเ้ พยี งพอกับชัน้ เรยี น ช้นั อนุบาลศกึ ษาปที ่ี ๒ ๖ หอ้ งเรยี น
- จ�ำนวนครูท่มี ีวุฒิการศกึ ษาปฐมวัย
ชน้ั อนุบาลศกึ ษาปที ี่ ๑ ๔ คน
ชน้ั อนุบาลศกึ ษาปีท่ี ๒ ๕ คน
- จำ� นวนครูทไ่ี ดร้ บั การอบรมการจัดการศึกษาปฐมวัย
ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่ ๑ ๒ คน
ชนั้ อนบุ าลศึกษาปที ่ี ๑ ๑ คน

27

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ประเดน็ การพิจารณา ผลการดำ� เนินงาน

๓. สง่ เสรมิ ให้ครูมีความเชี่ยวชาญ ชื่อ -สกุล จ�ำนวนชั่วโมงทไี่ ดร้ ับการอบรม
ดา้ นการจัดประสบการณ์ ภาคเรียนท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ รวม
๑.
๒. ๖ ๑๒ ๑๘
๓. ๖ ๑๒ ๑๘
๔. ๖ ๑๒ ๑๘
๕. ๖ ๑๒ ๑๘
๖. ๖ ๑๒ ๑๘
๗. ๖ ๑๒ ๑๘
๘. ๑๒ ๖ ๑๘
๙. ๑๒ ๖ ๑๘
๑๐. ๑๒ ๖ ๑๘
๑๑. ๑๒ ๖ ๑๘
๑๒. ๑๒ ๖ ๑๘
๑๒ ๖ ๑๘

๔. จดั สภาพแวดล้อมและสือ่ - จัดมมุ ประสบการณ์ในห้องเรยี น หอ้ งสมุด หอ้ งเรยี น
เพ่ือการเรยี นรู้ คอมพวิ เตอร์ สนามเดก็ เลน่ สระวา่ ยนำ้� หอ้ งนาฏศลิ ป์
๕. ให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยี ห้องดนตรี
สารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้ - จัดคอมพวิ เตอร์ทกุ หอ้ งเรียน
เพอ่ื สนับสนนุ - จดั หาโปรแกรมจ�ำคำ� ศัพทภ์ าษาองั กฤษ
การจดั ประสบการณ์ (Wording Easy Word)
สำ� หรับครู - จดั หาโปรแกรมฝกึ ทักษะวาดรปู แตง่ ภาพสำ� หรับ
เด็ก (Kid Painter)
๖. มีระบบบรหิ ารคุณภาพ - จัดหาโปรแกรม Multiplication Table หรอื
ที่เปิดโอกาสให้ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง โปรแกรมสูตรคูณ
ทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม - จัดประชุมผปู้ กครองนกั เรยี นภาคเรยี นละ ๑ ครง้ั
- จัดประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน
จำ� นวน ๔ ครงั้ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑
- จดั กจิ กรรมเปดิ ห้องเรยี น (Open Class)
ในงาน K-STEM Open Class

28

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

แนวทางพฒั นาคุณภาพให้ดีขน้ึ กวา่ เดิม
๑. พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศโดยการตดิ ต้ังคอมพวิ เตอร์ ทเี่ ชือ่ มตอ่
อินเทอร์เน็ตครบทุกชั้นเรียน ในห้องเรียนปฐมวัยทุกห้องเพ่ือให้ครูได้ลงมือใช้
จนเกิดความช�ำนาญ
๒. ส่งเสริมให้ครูทุกคนมีวัฒนธรรมการท�ำงานแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดประสบการณ์และกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน
และส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงและการท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน
กระตุ้นให้เด็กได้คิด วิเคราะห์ แก้ปัญหา และส่ือสารให้ผู้อ่ืนรับรู้ เป็นผู้กล้าคิด
กลา้ ทำ� กลา้ แสดงออก

มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เป็นส�ำคัญ
ระดับคุณภาพ : ดีเลิศ
ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กท่ีมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ส่ือและเทคโนโลยี
ทีเ่ หมาะสมในการกระต้นุ การเรียนรูข้ องเด็ก จนท�ำใหเ้ ด็กมีพัฒนาการท้งั ๔ ดา้ น
เป็นไปตามเป้าหมายที่สถานศึกษาก�ำหนด ครูทุกคนจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็ก
เปน็ สำ� คญั เพ่อื ใหเ้ ด็กมีพฒั นาการสมบูรณ์ครบ ๔ ดา้ น ครรู ู้จกั เด็กเปน็ รายบคุ คล
มีการจัดกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับประสบการณ์ผ่านการเล่น
และการลงมือปฏิบัติผ่านประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ครูสามารถจัดบรรยากาศและ
สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกชั้นเรียนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ของเด็ก ครูใช้ส่ือ
และเทคโนโลยีเพ่ือกระตุ้นพัฒนาการของเด็ก ครูมีการประเมินผลเด็กเป็นราย
บุคคลและ น�ำผลมาพัฒนาการจัดประสบการณ์ให้เด็กเพ่ือบรรลุตามเป้าหมายท่ี
สถานศกึ ษากำ� หนดไว้

29

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ข้อมูลหลักฐานและเอกสารสนบั สนุน
ตวั อยา่ งท่ี ๑:
ครูจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นส�ำคัญ เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการ
ครบทัง้ ๔ ด้าน ไดแ้ ก่ ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม และสติปัญญา โดยเปิดโอกาส
ให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงได้เลือกเล่นและลงมือปฏิบัติผ่านกิจกรรมหลัก
๖ กิจกรรม คือ กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ กิจกรรมเล่นตามมมุ กจิ กรรมกลางแจง้ กจิ กรรมเกมการศึกษา
โดยบูรณาการกิจกรรมอย่างหลากหลายท่ีสอดคล้องกับแนวคิดการใช้สมองเป็นฐาน
(BBL : Brain Based Learning) การสอนแบบโครงการ (Project Approach)
ไฮสโคป (High Scope) ด้วยการจดั กิจกรรมหนา้ เสาธง กิจกรรมกฬี าสี กจิ กรรม
เสริมประสบการณ์ กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรมเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรม
ประเพณีไทย ค่าย K-STEM English Camp กจิ กรรมหนังสอื จา๋ ๕ นาที เปน็ ตน้
ครูจัดบรรยากาศห้องเรียนให้มีมุมประสบการณ์ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
ครูใช้สื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมสอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก มีคอมพิวเตอร์
ในห้องเรียนส�ำหรับให้นักเรียนได้เรียนรู้ มีโปรแกรมจ�ำค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษ
(Wording Easy Word) โปรแกรมฝึกทกั ษะวาดรปู แตง่ ภาพส�ำหรับเด็ก (Kid Painter)
ในห้องเรียนเน้นความสะอาด ปลอดภัย มีอากาศถ่ายเท ครูมีการประเมิน
พัฒนาการเด็กตามสภาพจริงโดยการสังเกต ตรวจผลงานเด็ก ฯลฯ ในกิจกรรม
ประจ�ำวันและกิจกรรมต่าง ๆ ที่จัดโดยผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ามา
มีส่วนร่วมในการประเมินพัฒนาการและการน�ำผลมาพัฒนาเด็กเป็นรายบุคคล
และการจดั ประสบการณ์ให้เด็กต่อไป

30

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ตัวอยา่ งท่ี ๒: ผลการดำ� เนินงาน
- จัดท�ำแผนประสบการณต์ ามหลกั สตู รการศกึ ษา
ประเด็นการพิจารณา ปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๓.๑ จดั ประสบการณ์ท่ีสง่ เสริม - จดั กจิ กรรมหลกั ๖ กิจกรรม คอื กจิ กรรม
ให้เด็กมพี ฒั นาการทุกดา้ น เคลอ่ื นไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์
อยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ กิจกรรมเลน่ ตามมมุ กจิ กรรม
กลางแจง้ กจิ กรรมเกมการศกึ ษา
- จดั กจิ กรรมการใชส้ มองเป็นฐาน (BBL : Brain
Based Learning)
- จดั กจิ กรรมการสอนแบบโครงการ (Project
Approach)
- จดั กจิ กรรมการสอนไฮสโคป (High Scope)

๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั - จดั กจิ กรรมหนา้ เสาธง
ประสบการณต์ รง เลน่ และ - จัดกจิ กรรมกีฬาสี
ปฏิบตั ิอยา่ งมคี วามสุข - จัดกิจกรรมศลิ ปะสรา้ งสรรค์
- จดั กจิ กรรมเรยี นรูศ้ ลิ ปวฒั นธรรมประเพณีไทย
- จัดค่าย K-STEM English Camp
- จดั กจิ กรรมหนังสอื จา๋ ๕ นาที
- จดั กจิ กรรมทัศนศึกษา
- จดั กิจกรรมเดินทางไกล

31

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

อยา่ งมีความสุข -จัดกจิ กรรมศิลปะสรา้ งสรรค์
-จดั กจิ กรรมเรยี นรูศ้ ิลปวัฒนธรรมประเพณไี ทย
-จดั ค่าย K-STEM English Camp
-จัดกิจกรรมหนงั สือจา๋ 5 นาที
-จดั กิจกรรมทัศนศึกษา
๓.๓ จปัดรบเ3ะร.รีเย3ดรนยจ็นรัดาู้ กบใกชารา้สรรศ่ืยอพทาแกจิ ลี่เาอาะศร้ือเททณต่ีเคอ่อาโื้อนตโ่อลกยาีทร่ี -จัดกจิจจ�ำกํานรนรววมนเนดนินนกั ทเักรางยีเรไนกยีปลนฐผมปลวยัฐกผมาูใ้ ชรวป้ดยั ฏำ�ผบิ เ้ใูตันชิกนิ า้ปรงฏมาลั บินตตัมิ เิกิดียารมลั ตมิ เิ ดยี
การเหเรมียาะนสรมกู้ ใบั ชวัย้สือ่ และ
400

เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั วัย 350
300

250

200 อนบุ าลศกึ ษาปีท่ี ๑

150 อนบุ าลศกึ ษาปีท่ี ๒
100 รวม

50

0

๓.๔ ตปารมะ3สเสภ.4มาภพินปาจพรพระิงัฒจเแมรลนินิงะพาแนักฒําลาผนะรลานกกเดาา�ำรร็กผปเดลร็กะตเมาินม --ปต-- รรวะตปจเมรรผนิวละพงจเาฒัมผนนนิเลดาพก็งกาาฒั รนเดนเ็กดาโ็กกดายใรชเ้แดบ็กบ อโดบ.ย0ใ2ช้แอบบ.0บ3อบ.๐๒ อบ.๐๓
ไกปาปรปพรปรัฒับะรนสปะาบรเกกมุงาากรรนิ เณาดพร์แ็กจฒัลไดัะปนพปปฒัรารับนกะปาสาเรดบรุง็กเกกดาารก็รจณัด์ ---จจร-- าัดัดยกกจรงจิิจาาดั กกยนกรรผงรรจิลามมกนกเปปารผรรดิ ะปลรบชรมกา้มุ ะนผาปเอมปู้รรนินปกะบุใครหารชะผ้ลอมุ้ปูเงมเกผดนิคก็ูป้ รใปอกหฐงค้ผมภวาปู้รับคอกเรคงียเรนดอล็กะงภป1าฐคคมรเง้ัวรียัยนละ ๑ ครัง้


และพัฒนาเดก็ - จัดกจิ กรรมเปดิ บา้ นอนุบาล

แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดขี นึ้ กวา่ เดมิ
๑. ส่งเสริมให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมโดยใช้แหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษา
ให้มากข้ึน โดยจัดทัศนศึกษาไปยังแหล่งเรียนรู้ภายนอกสถานศึกษาท่ีส่งเสริม
การเรียนรูข้ องเดก็ ท่สี อดคล้องตามหลกั สูตรให้มากย่ิงขนึ้
๒. ส่งเสริมให้เด็กสร้างองค์ความรู้และถ่ายทอดความรู้สู่สังคมและชุมชน
ภายนอกไดอ้ ยา่ งภาคภูมใิ จในงาน Open Class ของสถานศึกษา

32

การจัดทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ตวั อยา่ งการเขียนรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
ระดบั คุณภาพ: ดีเลศิ
สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และก�ำหนดโครงการ/
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในหลากหลายวิธีการ เช่น โครงการส่งเสริมรักการอ่าน
การประเมินการรู้เรอื่ งการอา่ น (PISA) ๔ ครง้ั โครงการแข่งขันทกั ษะทางวิชาการ
กจิ กรรมการเขยี นเรยี งความ การอา่ นในวนั สำ� คญั เชน่ วันพ่อ วนั แม่ วันไหวค้ รู
กิจกรรมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน กิจกรรมวันภาษาไทยแห่งชาติ
กิจกรรมวันคริสต์มาส กิจกรรมวันตรุษจีน กิจกรรมวันทานาบาตะ ส่งเสริม
นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน กล่าวสุนทรพจน์
(Impromptu Speech) ฝึกสมองประลองปัญญา เลขคณิตคิดในใจ แบบฝึก
คณู คล่อง การบูรณาการตวั ชี้วดั ของการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น
ร่วมกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แล้วน�ำผลการประเมินมาปรับปรุง
แก้ไขความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์ การเขียน การส่ือสาร และการคิด
คำ� นวณ ตามรปู แบบและวธิ ีการท่ีกำ� หนดอย่างตอ่ เนือ่ ง
ข้อมลู หลักฐาน และเอกสารสนบั สนนุ
ตวั อยา่ งท่ี ๑: การน�ำเสนอผลการประเมินแบบบรรยาย
๑. ดา้ นคุณภาพผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
๑.๑ สถานศึกษาได้ตั้งคณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษาข้ึน
และรวบรวมข้อมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนด้านต่าง ๆ ตามแผน
การเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากนักเรยี นทกุ คน (จ�ำนวน ๒,๓๖๗ คน) ของสถานศึกษา
แลว้ น�ำมาประเมินตามเกณฑ์ของสถานศึกษา พบวา่

33

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๑. การประเมินดา้ นการอา่ น พบวา่ นกั เรียนจ�ำนวน ๒,๒๔๘ คน
มีผลการทดสอบการอ่านในระดับดีข้ึนไป คิดเป็นร้อยละ ๙๔.๙๗ (สูงกว่า
คา่ เป้าหมายรอ้ ยละ ๘๐.๐๐)
๒. การประเมนิ ด้านการเขียน พบว่านกั เรยี นจ�ำนวน ๒,๑๗๗ คน
มีผลการทดสอบการเขียนในระดับดีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ ๙๑.๙๗ (สูงกว่า
คา่ เป้าหมายรอ้ ยละ ๘๐.๐๐)
๓. การประเมินด้านการสื่อสาร พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมิน
การสือ่ สารในระดับดีขึ้นไป จำ� นวน ๒,๑๓๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๘๙.๙๙ (สงู กวา่
คา่ เป้าหมายรอ้ ยละ ๘๐.๐๐)
๔. การประเมินความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมินในระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน ๑,๑๘๕ คน คิดเป็น
รอ้ ยละ ๕๐.๐๖ ซง่ึ สูงกว่าค่าเป้าหมาย
๕. ผลการประเมินด้านการคิดค�ำนวณ พบว่า ผู้เรียนมีผล
การประเมินในระดับดีขึ้นไป จ�ำนวน ๑,๕๒๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๕๕
ซึ่งสูงกว่าคา่ เป้าหมาย
๖. ผลการประเมินด้านความสามารถในการสร้างนวตั กรรม พบวา่
ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมินระดับดีข้ึนไป จ�ำนวน ๑,๕๒๘ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๔.๕๕
ซ่งึ สงู กวา่ คา่ เป้าหมาย
๗. ผลการประเมินด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียน
โดยเฉลี่ยทุกคน ทุกระดับชั้นพบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ สถานศกึ ษาตง้ั คา่
เปา้ หมายผู้เรียนร้อยละ ๖๐ มผี ลการเรียนเฉลีย่ ตงั้ แต่ ๒.๕๐ ขนึ้ ไป สว่ นกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สถานศึกษาตงั้ ค่าเป้าหมายผเู้ รียนร้อยละ ๖๐ มผี ลการเรียนเฉลี่ยตง้ั แต่ ๓.๐๐ ขึ้นไป
ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา พลศึกษา

34

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

และกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมาย
ผู้เรียนร้อยละ ๖๐ มีผลการเรียนเฉล่ียตั้งแต่ ๓.๕๐ ข้ึนไป โดยทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้มคี ะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธิท์ างการเรียนท่สี งู กว่าคา่ เป้าหมาย แต่ผลสัมฤทธิ์
ในแตล่ ะปยี งั ไมม่ พี ฒั นาการในทางบวกติดต่อกนั ท้งั ๓ ปียอ้ นหลัง
๘. สว่ นผลการประเมินระดับชาติขัน้ พื้นฐาน (O-NET)
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๓ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียว ท่ีมีคะแนนผลการทดสอบ (๖๑.๔๕ คะแนน)
ที่สูงกวา่ เกณฑผ์ า่ นการประเมนิ (๕๐ คะแนน) นอกน้นั มคี ะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบ
ท่ีต�่ำกวา่ เกณฑ์การผ่านท้ังสิน้ (กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาองั กฤษ ได้ ๓๐.๕๐ คะแนน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้ ๓๒.๘๑ คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ได้ ๓๘.๘๕ คะแนน) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีพัฒนาการ
เชิงบวก ๓ ปีย้อนหลงั นอกนัน้ มีพฒั นาการเชงิ บวก ๒ ปียอ้ นหลงั
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ พบว่า ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีผล
การประเมินท่ีต่�ำกว่าเกณฑ์การผ่านโดยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมีคะแนนผล
การทดสอบ ๔๗.๐๕ คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมมีคะแนนผลการทดสอบ ๓๔.๓๗ คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษา
อังกฤษ มีคะแนนผลการทดสอบ ๒๘.๕๕ คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ มีคะแนนผลการทดสอบ ๒๕.๕๒ คะแนน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ มีคะแนนผลการทดสอบ ๒๘.๔๑ คะแนน) โดยทกุ สาระการเรยี นรู้
มีพัฒนาการเชงิ บวก ๒ ปยี ้อนหลัง
๙. จากผลการประเมินด้านในข้อ ๗ ท่ีผ่านมา แสดงให้เห็นว่า
นักเรียนมีความรู้ ทักษะพ้ืนฐานตามหลักสูตร และจากการประเมินในสถิติ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ มีจ�ำนวนร้อยละ ๓๕.๖๕ ที่เรียนต่อด้านอาชีพ
และจากการประเมินเจตคติในการท�ำงานกลุ่มท่ีเน้นอาชีพ พบว่านักเรียน
รอ้ ยละ ๑๐๐ มีผลการประเมินตงั้ แตร่ ะดับดีข้ึนไป

35

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ตัวอย่างที่ ๒: การนำ� เสนอผลการประเมนิ แบบแผนผงั P a g e | ๒๔

ตวั อยา่ งที่ 2: การนาํ เสนอผลการประเมินแบบแผนผัง

1.1 ผลการประเมนิ ความสามผาลรถกขาอรงปผเู้รระยี เนมินความสามารถของผเู้ รยี น

การอ่าน 94.97
100

80

การสร้างนวัตกรรม 67.09 60 การเขียน
40 91.97
20

0

การคิดคาํ นวณ 64.55 89.99
การสอื่ สาร

50.06

การใช้เทคโนโลยี

ผลกผารลปกระาเรมปินรคะวาเมมสินาคมาวราถมขสองานมักาเรรียถนขดอ้านงกนาักรอเร่าียนนดด้าน้ากนากรเาขรียอน่าดน้านกดา้ารสน่ือกสาารรเดข้าียนนการใช้
เทคโดน้าโลนยกีสาารส่อืนสเทาศร ดด้า้านนกการาคริดใชคเ้ําทนควณโนโดล้ายนีสควาารมสสนาเมทาศรถดในา้ กนากราสรค้างดิ นควำ�ัตนกวรณรมขดอ้างนสคถาวนาศมึกสษาามทาุกรดถ้านสูง
ก ในการสร้างนวัตกรรมของสถานศึกษาทวุก่ ด้านสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา า
ค่าเปก้า�หำหมานยดท่ีสถโดานยศผึกลษกากาํารหปนรดะโเดมยินผลคกวาารปมรสะาเมมินาครวถามในสากมาารรถอใ่านนการผอู้เ่ารนียผนู้เรรีย้อนยร้อลยะละ๙9๔4..๙97๗ มีผล
กรผไปะาลดรกผปับาใมรลรรนด้อกีผะปีขกาเยลร้ึนมราะลกปนิไรเปะรมารสะะรินผือ่ เดปค๙มลสบั วนิกร๑าดาาคะรมีขร.วเ๙ึ้นสปามผาไมร๗ินปู้เมะสราเราียมรมมผะนิถนาลีผดใครรกนลับถว้อากใากรดยนามปาลรีขกสรคระาึ้นาะิดรปมเไกคม๘าปราําินร๙ะรนถคใ.เผวใวช๙มนณา้เลท๙กินมกาคผสรรามโู้เาะรนสรมผีีย่ือโดปาลนลสรับยรรกถาี้อะดรใาผนยเีขรู้เผมรลกปู้เึ้นยีะาินรรนรียไค6เะรปนข4้อวเรียมยา.้อน5ผลนิมย5ละผลรสู้เกะะ5มารดาียีผ0ม8นรลับ.9า0กรปดร.6้อ9ารถีขรย9มะปใน้ึลนีผเระมไมละปกีผ9กเินลมาา1ผกิรนคร.าล9ปเรวขระกร7าปียดะามรเมับนรมะสีผดปินเลมีขาผรรกิึ้นนมะะู้เารไดราเรปะบัียมรปดดผนินถรับขีละดึ้นเกมีขไาปิน้ึนร
ประเคมวนิ าคมวาสมาสมามาารรถถใในนกกาารสรรกา้ างนรวใชัตก้เทรรคมโผนเู้ โรลยี นยรี ้อผยู้เลระีย6น7ร.้อ09ยลมะผี ลก๕า๐รป.๐ระ๖เมินมรีผะดลบั กดาีขรึ้นปไประเมิน

ระดับดีขึ้นไป ผลการประเมินความสามารถในการคิดค�ำนวณ ผู้เรียนร้อยละ
๖๔.๕๕ มผี ลการประเมินระดับดีขึ้นไป ผลการประเมนิ ความสามารถในการสร้าง
นวตั กรรม ผู้เรียนรอ้ ยละ ๖๗.๐๙ มีผลการประเมินระดับดขี นึ้ ไป

36

การจดั ท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

1.2 ผลการประเมนิ ดา้ นผผลสลัมกฤาทรธ์ทิปารงกะาเรมเรินียนดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น P a g e | ๒๕
P a g e | ๒๕

1.42.00ผลการประเมินด้านผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 3.58 3.49 3.66
3.58 3.49
43..0500 3.21 3.18 3.04 3.66
33..5000 3.21 3.18 3.04
2.74 2.97

32..0500 2.74 2.97

2.50
2.00
2.00 ปที ่ี 1
11..5500 ปีท่ี 1 ปที ี่ 2
11..0000 ปีที่ 2
ปที ี่ 3 ปีที่ 3

00..5500

00..0000

11..33ผผลลกกาารรปปรผระละเมเกมนิ ินกาากรราปทรดทรสดะอสบเอมทบานิทงกากงากราศารึกรทศษึกาดรษะสาดรอับะชบดาบั ทตชิขาาน้ั ตงพิขก้ืนน้ั ฐาพารน้นื ศฐาึกนษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน

คคะะแแนนนนเเฉฉลลีย่ ย่ี เปเรปยี รบยี เทบยีเทปบชียีผ2ัน้ปบล5ชีมผก52ั้นธั9าล5ยมรก5มทัธ9าศดยรึกสมทษอศดบากึสปปทษอีทีา2บางี่5ป3ปทก6ีีทาา20ปรง่ี5กีศ3ก6าึกา0รปษรศกีศาึกราึกษะรษปดาศีาบั2กึ2ร5ชษะ56าปดา51ตี ับ29ขิ25ชั้น-526าพ51ต5ืน้ 9ขิ6ฐั้น-1า2พน5ื้น(6Oฐ1า-NนE(TO) -NET)

7700..0000

6600..0000
50.00
50.00
40.00
3400..0000
2300..0000

1200..0000

100..0000 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์
0.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

37

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

PPaaggee| |๒๒๖๖

คคะแะแนนนนเฉเฉลล่ยี ีย่ เปเปรรยี ียบบเทเทียียบบผผลลกกาารรททดดสสออบบททาางงกกาารรศศึกึกษษาารระะดดับับชชาาตต(ิ O(ิ O-N-NEETT))
6600 ปปี 2ี ช25ช5นั้ 5้นั 5ม9ม9ัธธัยยมมศปศปกึี 2กึีษ25ษา56าป60ปีท0ที ่ี 6ี่ 6ปปปีป2ีกี 2กี5า5า6ร6รศ1ศ1กึ ึกษษาา 22555599--22556611
5500
4400 สสังคังคมมศศึกึกษษาาฯฯ ภภาษาษาอาองั กงั กฤฤษษ คคณณติ ติศศาสาสตตรร์ ์ ววิทิทยยาศาศาสาสตตรร์ ์ รราายยววิชชิาา
3300
2200
1100
00

ภภาษาษาไาทไทยย

1 1.2.2ดดา้ ้านนค๒คณุ .ุณ ลลักดักษา้ ษณนณะคะออนัุณนั พพลึงึงปักปรษระะสณสงงคคะ์ ์อนั พงึ ประสงค์

สขุสภุขาภวาะวทะาทงารงา่ รงา่ กงากยายจtติจ9tสิต59ังส.5ค3ังม.ค23ม2 tค1ttttttttttุณค03296745181ttttttttttุณล000000000000245613789tกั ล...........0000000000000000000000ษัก...........0000000000000000000000ณษ00000000000ณะอะนั อพันึงพtป9ึงtรป89ะร.8ส5ะ.งส65คง6์ ค์ t9tค59วค.5า3วม.า23ภม2ูมภิใูมจิใใเจนปใเทนน็ป้อทไน็ ทงอ้ไถยทงน่ิถยแิน่ ลแะลคะวคาวมาม

คกวคาการวามยารแอมยตมแอกรตมบัตกรา่ทบัตงจ่ีา่ทแงะ่ีจลแอะะลยอหะ่รู ยtลห่ว9ู่รามtล่ว59กกามห.5กนั 3กลห.บนั 23าลนบ2ยานย

ผผลลกกาารรปปรระะเมเมินินดด้า้านนคคุณุณลลักักษษณณะะแแลละะคค่า่านนิยิยมมทท่ีดี่ดีงาีงามมตตาามมทที่สี่สถถาานนศศึกึกษษาากกําําหหนนดดนนั้นั้นผผู้เรู้เรียียนนผผ่า่านนกกาารรปปรระะเมเมินิน
คคุณุณลลักักษษณณะะออันันพพึงึปงปรระะสสงคงค์ท์ทุกุกคคุณุณลลักักษษณณะะในในรระะดดับับดดีขีขึ้นึ้นไปไปรร้อ้อยยลละะ9988.5.566 ผผู้เรู้เรียียนนรร้อ้อยยลละะ9955.3.322มมีคีคววาามม
ภภมู ูมิใจิใจในในททอ้ ้องถงถ่นิ ่ินแแลละะคคววามามเปเป็นน็ ไทไทยยโดโดยยปปรระะเมเมินินจจาากกกกาารรกกาารรเขเข้า้ารร่ว่วมมกกิจิจกกรรรรมมตต่า่างงๆๆทที่สี่สถถาานนศศึกึกษษาาจจัดัดขข้ึน้ึนผผู้เรู้เรียียนน
38

การจดั ทำ�รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา

ผลการประเมินด้านคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีงามตามท่ีสถานศึกษา
ก�ำหนดนั้น ผู้เรียนผ่านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ทุกคุณลักษณะ
ในระดบั ดขี นึ้ ไป ร้อยละ ๙๘.๕๖ ผูเ้ รียนร้อยละ ๙๕.๓๒ มคี วามภูมใิ จในท้องถ่นิ
และความเป็นไทย โดยประเมินจากการการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สถานศกึ ษา
จดั ข้นึ ผู้เรียนรอ้ ยละ รอ้ ยละ ๙๕.๓๒ มกี ารยอมรับทีจ่ ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่าง
และหลากหลาย และผูเ้ รยี นรอ้ ยละรอ้ ยละ ๙๕.๓๒ มสี ุขภาวะทางร่างกาย จิตสงั คม
ผา่ นตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมอนามยั
แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีข้นึ กว่าเดิม
๑. พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ
มีการใช้กระบวนการวิจัยในการด�ำเนินงาน และมีการสร้างเวทีให้ผู้เรียนเผยแพร่
ในชอ่ งทางตา่ ง ๆ อย่างต่อเนือ่ ง
๒. สง่ เสรมิ นกั เรียนในการเรยี นรูผ้ า่ นกิจกรรม IS โดยมีการด�ำเนินงานลงสู่
ชมุ ชนทเ่ี ป็นระบบทงั้ สถานศกึ ษา
๓. ใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดต่าง ๆ มากขึ้น โดยมกี ารวางแผน
การจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีการประเมินความสามารถ
ในการคิดของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
๔. ด�ำเนินงานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
ตงั้ แตร่ ะดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๖

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
ระดบั คณุ ภาพ: ดีเลิศ
สถานศึกษาด�ำเนินการก�ำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่าง
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน
วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรัฐบาลและของส�ำนักงาน

39

การจัดท�ำ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

เขตพื้นท่ีการศึกษา โดยได้ประชุมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อการด�ำเนินงาน จัดท�ำ
แผนพัฒนาการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการประจำ� ปี ผ่านการเห็นชอบโดยคณะกรรมการ
สถานศึกษา ท�ำให้สถานศกึ ษามรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาทชี่ ดั เจน
มีประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยความร่วมมือของผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย มีการน�ำข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง สถานศึกษามีการด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการผู้เรียนรอบด้านตาม
หลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่ือมโยงกับชีวิตจริง พัฒนาครู
และบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครู และ
สถานศกึ ษา และจดั ให้มชี ุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี เพอื่ พฒั นางาน จัดสภาพแวดลอ้ ม
ทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัย
จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา แต่สถานศึกษายังไม่มีกระบวนการ
วจิ ยั และพฒั นาระบบการบริหารท่ีถูกต้องตามหลักวชิ าการ
ข้อมูลหลักฐาน และเอกสารสนับสนนุ
- สถานศึกษาบริหารจัดการโดยมีการจัดท�ำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึด
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง
พ.ศ.๒๕๖๐ มีการบริหารเก่ียวกับงานวิชาการโดยจัดให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรม
วิชาการ ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ตามความรู้ ความสามารถและความถนัด
พรอ้ มท้งั เขา้ รว่ มแขง่ ขันกิจกรรมวชิ าการระดบั สถานศกึ ษา ระดบั เครอื ข่ายการศึกษา
ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา และระดับภาค สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตร
ปีละ ๑ ครง้ั มีกจิ กรรมเสริมหลกั สตู รท่ีเน้นคณุ ภาพผู้เรยี น จัดครูต่างชาติเขา้ สอน
จัดจ้างครวู ิชาเอกทขี่ าดแคลนครบทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ จดั ท�ำรายวชิ าเพมิ่ เตมิ
พัฒนาห้องเรียนดิจิทัล ศูนย์สถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมลูกเสือ แนะแนว
สะเต็มศกึ ษา กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ฯลฯ

40

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

- สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ตามโครงการพัฒนาครูรูปแบบครบวงจรคูปองครู ท้ังในระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
และหน่วยงานอ่ืน ๆ เพื่อให้มีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน
ส่งเสริมให้ครูเป็นวิทยากรภายนอก ให้ความรู้ด้านวิชาชีพ โดยการสอนกิจกรรม
ลูกเสอื กิจกรรมการสอนมัคคเุ ทศก์ และน�ำวิทยากรทอ้ งถิ่นมาให้ความรู้แกน่ กั เรียน
อย่างสม่ำ� เสมอและตอ่ เนอื่ ง
- สถานศึกษาจัดให้มีโครงการปรับปรุง พัฒนาอาคารสถานท่ีและ
สิ่งแวดล้อม มีการจัดสภาพแวดล้อมท้ังภายในและภายนอกห้องเรียนที่เอ้ือต่อ
การจดั การเรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมทร่ี ่มรนื่ ปลอดภยั จดั ให้มอี าคารเรยี น อาคาร
ประกอบอย่างเพียงพอ จดั ใหม้ หี อ้ งสมุดการเรียนรทู้ ที่ ันสมัย ห้องปฏบิ ตั ิการเพียงพอ
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
ท่ีนักเรยี นสามารถเข้าถงึ และใช้ประโยชนจ์ ากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ไดง้ ่าย
- สถานศึกษาจัดให้มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหาร
จัดการและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม โดยมีข้อมูลสารสนเทศมีความถูกต้อง
ครบถว้ น ทนั สมัย นำ� ไปประยุกตใ์ ช้ได้ มกี ารด�ำเนินงานอย่างเปน็ ระบบ มกี ารจัด
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้
เชน่ มีคอมพิวเตอร์สำ� หรบั ห้องปฏบิ ัติการ และตดิ ต้ัง TV LCD และคอมพิวเตอร์
โน๊ตบุ๊คในห้องพิเศษและห้องปฏิบัติการ ติดต้ังระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ต
เพ่ือกระจายสัญญาณ WIFI ให้ครอบคลุมท่ัวถึงทั้งบริเวณสถานศึกษา เพื่อให้ครู
นักเรียน ผปู้ กครอง และประชาชนสามารถเข้าถงึ ระบบสารสนเทศของสถานศกึ ษา
ไดง้ า่ ยขน้ึ สะดวกต่อการติดต่อประสานงานและอำ� นวยความสะดวกในด้านตา่ ง ๆ
ได้มากขึ้น และน�ำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผลโดยการ
จัดทำ� การทดสอบด้วยระบบออนไลน์ในทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

41

การจัดทำ�รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version