The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

01 Sเล่มสรุปเชื่อมโยงจังหวัด ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

01 Sเล่มสรุปเชื่อมโยงจังหวัด ปี 2564

01 Sเล่มสรุปเชื่อมโยงจังหวัด ปี 2564



คำนำ

รายงานผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวที และประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบ และแนวทาง
การพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ตามบริบทของพื้นที่
ทอ้ งถนิ่ ของจังหวัดอุบลราชธานี จัดทาขึ้นเพื่อรวบรวมหลักฐานเอกสารตา่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้องการกับการดาเนนิ งาน
โครงการ แสดงถึงภารกิจ การดาเนินงานและผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 256๔ เสนอต่อ
หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน อันจะนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการจัดการศึกษา
ให้มคี ุณภาพยิ่ง ๆ ขนึ้ ไป ซ่ึงรายงานฉบับนี้เป็นภารกิจสานักงานศึกษาธิการจังหวัดอบุ ลราชธานี ที่ดาเนินตาม
แผนงานโครงการประจาปีเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและได้ดาเนินการเสร็จส้ิน จึงรายงานผลมา ณ
โอกาสนี้

ใคร่ขอขอบพระคุณ นายเสรี ตุ้มอ่อน ศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี นายสุรินทร์ นานาผล รอง
ศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี นายพันธ์ศรี พลศรี ปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล นางยอดอนงค์ จอมหงส์พิพัฒน์ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบการจัดการศึกษาตลอดชีวิต และ
คณะศึกษานิเทศก์ บุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา สถาบันอาชีวศึกษาท่ีและสถาบัน
อุดมศึกษา มีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องและเช่ือมโยงการจัดการเรียนรู้การศึกษาข้ันพื้นฐานกับ
อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของพ้ืนท่ี ท้องถ่ิน
สงั คม และวฒั นธรรมของจังหวดั อุบลราชธานี ตอ่ ไป

สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั อบุ ลราชธานี



บทสรุปสำหรับผู้บรหิ ำร

การดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวที และประชาคมเพ่ือการจดั ทารปู แบบ และแนวทางการพฒั นา
หลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพืน้ ฐานกับอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ตามบริบทของพ้ืนที่ท้องถ่ินของ
จังหวัดอุบลราชธานี จัดทาข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพ่ือพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานที่มีความ
เชื่อมโยงการจัดการเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่สอดค ล้องกับบริบท
ของพ้ืนที่ในระดับจังหวัด 2) เพ่ือให้เกิดการบูรณาการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษา ตามบริบท สภาพปญั หาและความต้องการของจงั หวดั มีกระบวนการข้นั ตอนการดาเนนิ งานดงั นี้

1) การประชุมการขับเคล่ือนโครงการส่งเสริมเวทีประชาคมเพ่ือจัดทารปู แบบและแนวทางการพัฒนา
หลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ผู้เข้าร่วมประชุม ตัวแทน
ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาจากสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 1 ถึง เขต 5 และ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีมัธยมศึกษา เขต 29 ประธานอาชีวศึกษาจังหวัดอุบลราชธานีตัวแทนวิทยาลัยอาชีวศึกษา
พร้อมด้วยอุดมศึกษา รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ฝ่ายวิชาการ อาจารย์คณะศิลปะประยุกต์และ
สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณบดีและรองคณบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์หลักสูตร
การแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ร่วมสรุปการประชุม ระดมความคิด แนวทางการ
ขับเคล่ือนโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง
เช่ือมโยงการศึกษาขนั้ พื้นฐานกับอาชวี ศึกษาและอุดมศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

2) การประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา การทา MOU และแต่งตั้ง
คณะกรรมการดาเนนิ งานพฒั นาหลกั สูตรฯ ของจังหวัดอบุ ลราชธานี

3) การประชมุ คณะกรรมการดาเนนิ งานพัฒนาหลักสตู รฯ เพ่ือกาหนดกรอบการดาเนินงานการพัฒนา
หลกั สูตรตอ่ เนื่องเชอื่ มโยงท่สี อดคล้องกับบริบทจังหวัด

4) การจบั คู่พัฒนาหลักสตู รตอ่ เน่ืองเชอ่ื มโยงโดยสถานศกึ ษาที่มีความพร้อมในการดาเนนิ การ
5) การประชุมคณะทางานวางแผนออกแบบการทางาน /แผนการดาเนินงาน /แนวทางกระบวนการ
สรา้ งพฒั นา คดั เลอื กหลกั สูตรเชอ่ื มโยง
๖) การติดตามการดาเนินงานตามกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร การวิเคราะห์ข้อมูลและลง
พื้นที่ถอดบทเรียนวิธีปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) ในการขับเคลื่อนหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานกบั อาชวี ศึกษาและอุดมศึกษาในจงั หวดั อบุ ลราชธานี
๗) การจัดเวทีเสวนาออนไลน์ เรื่อง “การพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงและแนวทางการจัด
การศึกษาเพ่ืออาชีพของจงั หวดั อุบลราชธานี”โดยมีผู้บรหิ าร ครู บุคลากรทางการศึกษาจากสานกั งานเขตพ้นื ที่
การศึกษาประถมศึกษา เขต 1- เขต 5 และ สานักงานเขตพ้ืนที่มัธยมศึกษา เขต 29 ประธานอาชีวศึกษา
จังหวัดอุบลราชธานี และตัวแทนวิทยาลัยอาชีวศึกษา พร้อมด้วยอุดมศึกษา ร่วมสรุปแนวทางการขับเคลื่อน
หลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงและแนวทางการจัดการศึกษาเพ่ืออาชีพของจังหวัดอุบลราชธานีในปีงบประมาณ
ตอ่ ไป
สรุปผลกำรดำเนินงำน การพัฒนาหลักสตู รต่อเนอ่ื งเชอื่ มโยงการศึกษาขั้นพน้ื ฐานกบั อาชีวศึกษาและ
อดุ มศึกษาท่ีสอดคล้องกับบรบิ ทของพืน้ ที่จงั หวัดอุบลราชธานี คือ การจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาอาชีพเพื่อ
การมีงานทา โดยมีการดาเนินงานในแนวทางบูรณาการในการจัดการศึกษา ๓ รูปแบบ ดังนี้ ๑) การอบรม



วิชาชีพระยะส้ัน ตามสมรรถนะอาชีพและจัดการเรียนการสอนตามความสนใจของนักเรียน โดยใช้วิธีการ
จัดการเรียนการสอนแบบ Block Course ในโรงเรยี น ๒) การสะสมผลการเรียน นารายวิชาในหลักสูตร และ
รายวิชาปรบั พื้นฐานในหลักสูตรของอาชีวศึกษาและอุดมศกึ ษาท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาไปจัดการ
เรียนการสอนล่วงหน้าให้กับนักเรียนมัธยมศึกษา เพ่ือสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit Bank) ๓) การร่วม
พัฒนารายวิชา โดยสถานศึกษาสงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ร่วมกับ สถานศึกษาสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา หรอื อุดมศกึ ษา พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในรายวิชาท่ีเก่ียวขอ้ งกับ
วิชาชีพ เพื่อจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน นักศึกษา โดยมีการบูรณาการการสอนร่วมกันท้ังครูและ
หอ้ งเรียน/ห้องปฏบิ ัตกิ าร

โรงเรียนบ้านหนองนกทากับวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ และ วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ กับมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยาเขตสกลนคร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสานวทิ ยาเขตขอนแก่น
ได้พัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่ีบูรณาการทั้ง ๓
รปู แบบ ดังนี้ ๑) พัฒนาหลกั สตู รงานสานหัตถศลิ ป์ สาขาวิชางานประดิษฐ์รายวชิ างานสานข้นึ รูปปากกาดว้ ย
ลายผ้ามัดหมี่ มคี วามตอ่ เน่อื งเช่ือมโยงการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานกับระดับท้ังระดับอาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา และ
สอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐กับกลุ่มอาชีพ กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรมและบริการท่ีมี
มูลค่าสูง กระบวนการพัฒนาหลักสูตรพัฒนาตนเองและร่วมพัฒนากับสถาบันอาชีวศึกษา และอุดมศึกษา ๒)
รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยง เป็นรายวิชาสะสมหน่วยกิตเตรียมอาชีวศึกษาและเตรียมเข้า
ศึกษาในระดับ อุดมศึกษาเพื่อลดเวลาเรียนและเทียบโอนหน่วยกิต ๓) การจัดเวทีลงนามบันทึกข้อตกลงความ
รว่ มมอื MOU ระหว่างโรงเรียนบ้านหนองนกทากบั วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ และการทาบันทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ
MOU ระหว่างวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยาเขตสกลนคร และ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสิ านวทิ ยาเขตขอนแกน่

กระบวนกำรพัฒนำหลกั สตู ร
กำรพัฒนำหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำนกับอำชีวศึกษำ โรงเรียนบ้านหนองนก
ทากับวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ ตลอดปีการศึกษา ดาเนินการ ดังน้ี ๑) เปิดเป็นรายวิชาเพ่ิมเติมให้นักเรียนได้
เลือกเรียนตามความถนัดและความต้องการโดยมีวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐร่วมเป็นผู้จัดการเรียนการสอนและ
วัดผลประเมินผล ๒) ประชุมคณะทางานวางแผนออกแบบการทางาน /แผนการดาเนินงาน /แนวทาง
กระบวนการสร้างพัฒนา คัดเลือกหลักสูตรเช่ือมโยง ๓) การคัดเลือกหลักสูตรเช่ือมโยง ดาเนินการ ดังน้ี
โรงเรยี นทาแบบสอบถามความต้องการของนกั เรียนระดับมัธยมศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ ว่าต้องการเรยี น
หรือประกอบอาชีพอะไรให้นักเรียนตอบแบบสอบถามพร้อมกับเสนอข้อคิดเห็น ๔) จัดเก็บข้อมูลจาก
แบบสอบถามจากนกั เรียนมาวเิ คราะห์ผลเพื่อใชเ้ ปน็ ข้อมลู พน้ื ฐานในการวางแผนการพัฒนาหลักสตู รต่อไป

การดาเนินการสร้างพัฒนาหรือคัดเลือกหลักสูตรเชื่อมโยง/กระบวนการในการดาเนินงานพัฒนา
หลักสตู รเชอื่ มโยง ดาเนินการดังน้ี ๑) ศึกษาความตอ้ งการจาเป็นของหลักสูตรจากความต้องการความถนดั ของ
นักเรียน ๒) สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกบั หนว่ ยงานทางการศึกษาอ่นื หน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน องค์กร
ต่าง ๆ และภูมิปัญญาท้องถ่ิน ๓) ทาข้อตกลงร่วมมือกัน ๔) ศึกษาระเบียบต่าง ๆ ทั้งของอาชีวศึกษาและของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยเฉพาะเรอ่ื งหลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร คาอธบิ ายรายวชิ า



ตัวช้ีวัดต่าง ๆ เพื่อนามาพัฒนาเป็นหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยง กระบวนการจัดการเรียนการสอนการวัดผล
ประเมินผล

กำรพัฒนำหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงอำชีวศึกษำกับอุดมศึกษำ วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐและ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยาเขตสกลนคร และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยา
เขตขอนแก่น ดาเนินการ ดังน้ี ๑) ศึกษาความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการ
สถานศึกษาและความต้องการของตลาดแรงงาน ๒) ทาข้อตกลงร่วมกันกับวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐและ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยาเขตสกลนคร และมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอิสานวิทยา
เขตขอนแก่น ๓) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหลักสูตรอาชีวศึกษาและหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษาเพ่ือศึกษาแนวทางการเช่ือมโยงของหลักสูตร ๔) ศึกษาระเบียบการวัดผลประเมินผลของ
หลักสูตรแกนกลาง หลักสูตรอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ๕) จัดทาโครงสร้างหลักสูตรของสถานศึกษาให้
สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนโดยเฉพาะในรายวิชาเพ่ิมเติมท่ีโรงเรียนสามารถกาหนดรายวิชาได้ตาม
ความต้องการและเหมาะสมกับวัยของผู้เรียนเพื่อให้ได้หลักสูตรที่สามารถต่อเน่ืองและเชื่อมโยงกับระดับ
อาชวี ศกึ ษาและระดับอดุ มศกึ ษา

หลักกำรของหลักสูตร คือการจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทา กาหนดหลักการไว้
ดังนี้ ๑) เป็นการจัดหลักสูตรด้านหัตถกรรม ที่มีความยืดหยุ่น ท้ังด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับริบทของโรงเรียนและชุมชน ๒) การจัดการเรียนรู้
การสานผลติ ภัณฑ์จากเส้นพลาสติกด้วยลายผ้ามัดหม่มี ุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการพัฒนาไปสอู่ าชีพได้ ๓) ส่งเสรมิ ให้มี
ความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ๔) เน้นการฝึกปฏิบัติจริงเพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความ
เข้าใจ และสามารถนาไปประกอบอาชีพได้ ๕) การทาหัตถกรรมที่เปลี่ยนจากแบบด้ังเดิมในปัจจุบัน ไปสู่
สมัยใหม่ที่เน้นการบริหารการจัดการและเทคโนโลยีสอดคล้องกับนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ ๖) กระบวนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ องค์ความรู้ที่เชื่อมโยงจากการศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
วตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร ดงั ต่อไปน้ี 1) ผเู้ รยี นตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคลอ้ งกับศักยภาพตนเอง ชุมชน
และสังคม 2) ผเู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะเกีย่ วกับการประกอบอาชพี และบริหารจัดการเก่ยี วกับ
การการสานขึ้นรูปปากกาด้วยลายผ้ามัดหม่ี เป็นพ้ืนฐานไปสู่การประกอบอาชีพได้ 3) ผู้เรียนมีคุณธรรม
จริยธรรม และจติ สานึก ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อน่ื และสังคม 4) ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรูแ้ ละ
ทักษะในสาขาวิชาชีพสู่การปฏิบัติจริง รวมท้ังประยุกต์สู่อาชีพ (มาตรฐานคุณวุฒิระดับอาชีวศึกษา) 5)
ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์เชิงประยุกต์ให้เกิดความรู้ และทักษะที่จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ
(มาตรฐานคุณวุฒิสายอาชีพระดับอุดมศึกษา) 6) ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับหัตถกรรมที่เปลี่ยนจากแบบดั้งเดิม
ในปัจจุบัน ไปสู่การเป็นสมัยใหม่ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (นโยบายไทยแลนด์ 4.0) ความ
เชือ่ มโยงของหลักสตู ร ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เรื่องชอ่ งทางการประกอบอาชพี ระดับอาชวี ศึกษา (คอวพิว
เตอรก์ ราฟฟิก : ปวช/ปวส.) การจดั การผลิตภัณฑ์ ระดับอุดมศึกษา (ศิลปประยกุ ต์ : ปริญญาตรี/เทคโนโลยี
บัณฑิต) ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทักษะการประกอบอาชีพอาชีพการสานขึ้นรูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้า
มัดหมี่ ระดับอาชีวศึกษา (คอวพวิ เตอรก์ ราฟฟิก : ปวช/ปวส.) การออกแบบลวดลาย การออกแบบผลิตภณั ฑ์
ระดับอุดมศึกษา (ศิลปประยุกต์ : ปริญญาตรี/เทคโนโลยีบัณฑิต) ศิลปะประยุกต์ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการสานข้ึนรูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามัดหม่ี ระดับอาชีวศึกษา
(คอวพิวเตอร์กราฟฟิก : ปวช/ปวส.) การทาแผนธุรกิจอย่างง่าย การขายสินค้าออนไลน์ การออกแบบ



ผลิตภัณฑ์ ระดบั อุดมศึกษา (ศิลปประยุกต์ : ปริญญาตรี/เทคโนโลยีบัณฑิต) เทคโนโลยีการผลติ การทาแผน
ธุรกิจ การสร้างแบรนด์ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โครกงการประกอบอาชีพการอาชพี การสานข้ึนรูปปากกา
สานฝันด้วยลายผ้ามัดหม่ี ระดับอาชีวศึกษา (คอวพิวเตอร์กราฟฟิก : ปวช/ปวส.) โครงการ การสาน ข้ึนรูป
ปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามัดหม่ี

ปจั จัยควำมสำเรจ็ ระดบั สถำนศกึ ษำ
วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐมีโครงการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนอาชีพในสถานศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษา เพ่ือเป็นการพัฒนาและเตรียมความพร้อมให้กับนักเรียน ระดับมัธยมศึกษา และนักเรียนใน
โรงเรียนขยายโอกาส เข้าสู่เส้นทางอาชีพ โดยได้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการเพื่อจัดการเรียนการ
สอนหอ้ งเรียนอาชพี ท้ังหมด ๒๒ สถานศกึ ษา ซึง่ การดาเนนิ งานความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับโรงเรียน
บ้านหนองนกทา ในการใช้หลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษามีการดาเนินงาน ๓
รปู แบบ คอื
๑) อบรมหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น วิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ ดาเนินการจัดการเรียนการสอน หลักสูตร
วชิ าชีพระยะสั้น ตามความสนใจของนักเรียน โดยใชว้ ธิ กี ารสอนแบบ Block Course.
๒) สะสมผลการเรียน โดยการนารายวิชาในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรือ ปวช. และหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือ ปวส. ไปจัดการเรียนการสอนล่วงหน้า ใหก้ ับโรงเรยี น เพ่ือสะสมหน่วยการ
เรยี นเรียนรู้ หรอื Credit Bank.
๓) ร่วมพัฒนารายวิชา จัดการศึกษาภายใต้หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในรายวิชาท่ีเกี่ยวข้องกับ
วิชาชีพ โดยมีการบูรณาการการสอนร่วมกันระหว่างครู ห้องเรียน และห้องปฏิบัติการท้ังสา นักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โดยวิทยาลัยเทคนิคเขมราฐ ดาเนินการดังน้ี
๑) รับนักเรียนจากโรงเรยี นมัธยมศึกษา ที่มีการเรียนเก่ียวกับรายวิชาปฏิบัติ มาเรียนที่วิทยาลัยเทคนิค
เขมราฐ
๒) ส่งครูออกไปสอนที่โรงเรียนมัธยมฯ ในรายวิชาทฤษฎี เพื่อปรับเจตคติของผู้เรียน และปลูกฝังการ
เรยี นสายอาชพี ให้แก่นกั เรยี น
๓) สนับสนุนงบประมาณคา่ วัสดุฝึกใหก้ ับผเู้ รียน ไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิจรงิ

ปัญหำ อุปสรรค ในการดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและ
แนวทาง การพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ในจังหวัด
อบุ ลราชธานี ดงั น้ี

1) ข้อจากัดเรอ่ื งเวลาเรียน เพราะต้องเรียนร่วมกับสถานศึกษาอื่น เวลาไม่ตรงกันระหวา่ งสถานศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา การเทียบโอนระหว่างหลักสูตรที่พัฒนากับการศึกษาเช่ือมโยงมี
ปญั หาเรื่องชั่วโมงเรยี นของหลักสตู รที่ไม่สามารถเทยี บโอนได้ เน่อื งจากช่วั โมงเรยี นไมพ่ อกับมาตรฐานวิชาชีพที่
กาหนด

2) ข้อกาหนด/เกณฑก์ ารจดั ทาหลักสตู รของคณะกรรมการการอดุ มศึกษา



3) กรอบโครงสร้างเวลาเรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานมีข้อกาหนดชัดเจน เป็นผลให้การเชื่อมโยง
หลกั สตู รกบั อาชีวศึกษาดาเนินการไดเ้ พียงไม่เกนิ 1 รายวิชาเรยี นของระดับอาชีวศึกษาเทา่ น้ัน

ขอ้ เสนอแนะ
1) ควรจัดให้มีการประชุมชี้แจงร่วมกันในการพัฒนาหลักสูตรให้มีการเชื่อมโยงการศึกษาระดับขั้น
พน้ื ฐานกบั ระดับอาชีวศกึ ษาแตจ่ ะเชือ่ มโยงทง้ั สามระดบั เพอ่ื ใหท้ ราบข้อตกลงร่วมกันในการพฒั นาผูเ้ รยี น
๒) สถานศึกษาที่ต้องการพัฒนาหลักสูตรเช่ือมโยงควรศึกษาความต้องการของผู้เรียน บริบท
สถานศึกษาและศึกษาแนวทางการพัฒนางานร่วมกับสถาบันคู่พัฒนาในทุกมิติ และ สร้างความรู้ ความเข้าใจ
กับผ้ปู ฏบิ ัติงานในสถานศึกษาตลอดจนผปู้ กครอง และชมุ ชน
๓) สถาบันค่พู ัฒนาควรกาหนดขอบเขตของการดาเนนิ งาน มีการวางแผนการทางานร่วมกนั ทกุ ฝ่ายใน
การพัฒนาหลักสูตรเช่ือมโยงของแต่ละสถาบันคู่พัฒนา ร่วมกาหนดบทบาท ความรับผิดชอบตามแผนอย่าง
ชดั เจน เพ่ือให้โครงการมีการดาเนนิ งานตามเอกภาพและต่อเน่ือง
๔) ควรมีงบสนับสนุนสถานศึกษาท่ีดาเนินการหลักสูตรเชื่อมโยงในด้านวัสดุ อุปกรณ์การฝึกปฏิบัติ
และสนับสนนุ ทนุ การศกึ ษาใหก้ ับนกั เรียนทีข่ าดโอกาสทางการศกึ ษา
๕) ควรกาหนดให้มีคู่มือดาเนินงาน เอกสารการดาเนินงานต่าง ๆ ให้บุคลากรดาเนินงานตาม
โครงการในทิศทางเดียวกัน มีการประชุมช้ีแจงทาความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการพัฒนาหลักสูตรเชื่อมโยง
เพ่มิ เตมิ เพือ่ ใหส้ ามารถนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งเป็นรูปธรรม



สำรบัญ

เรอื่ ง หนำ้

คำนำ......................................................................................................................................................... ก
บทสรปุ ผู้บริหำร ............................................................................................................................. ......... ข
สำรบญั .................................................................................................................................................. .... ช

ตอนท่ี 1 ควำมสำคญั และควำมเปน็ มำ............................................................................................ 1
วตั ถปุ ระสงค์................................................................................................................. .............. ๓
เปา้ หมาย .................................................................................................................................. ๓
ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ .................................................................................................................... ๓
ระยะเวลา................................................................................................................................ ๔
ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ ..................................................................................................... ๔
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ................................................................................................................... ๔

ตอนท่ี 2 แนวทำงกำรพฒั นำหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยง ................................................................. ๕
ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน .......................................................................................................... 5
มาตรฐานคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา…………………… .............................................................................. ๗
รปู แบบการเชอ่ื มโยงหลกั สตู ร ................................................................................................ ๑๔
องคป์ ระกอบและภาพความสาเร็จของหลกั สตู รท่ีพึงประสงค์ ............................................... ๒๐
เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ................................................................................. ๒๓

ตอนที่ 3 ผลกำรดำเนินงำน.............................................................................................................. 2๕
เอกสำรอำ้ งอิง......................................................................................................................................... 3๖
ภำคผนวก............................................................................................................................. ................ 3๗
คณะผู้จัดทำ……………………………………………………………………………………………………………………….. ๖๖

1

ตอนที่ 1
บทนำ

หลักกำรและเหตุผล
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้

กาหนดเรื่องการเทียบโอนผลการเรียนในมาตรา 15 ว่า “การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาใน
ระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยให้มีการเปรียบเทียบโอน ผลการเรียนที่ผู้เรียน
สะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ ไม่ว่าจะเป็นผลการเรียน จากสถานศึกษาเดียวกัน
หรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบ ตามอัธยาศัย การฝึกอาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางาน
ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ด้านการพัฒนาและส่งเสรมิ ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายการ
พัฒนาท่ีสาคัญเพ่ือพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี คนเก่ง และ มีคุณภาพ โดยคนไทยมีความ
พรอ้ มทงั้ กาย ใจ สติปัญญา มพี ฒั นาท่ดี ีรอบด้าน และมีสุขภาวะท่ีดใี น ทุกชว่ งวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
สังคมและผู้อ่ืน มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะ สื่อสารภาษาอังกฤษและภาษาที่ 3 และอนุรักษ์
ภาษาท้องถิ่น มีนิสัยรักการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง
เป็นนวตั กร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตร ยุคใหม่ และอน่ื ๆ โดยมีสมั มาชพี ตามความถนัดของตนเอง

กระทรวงศึกษาธิการได้ดาเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)
ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยงั่ ยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฯ โดยยึดยุทธศาสตร์ชาติเป็นจุดเน้นด้านการศึกษามีการ
พฒั นาหลักสูตรและกระบวนการเรยี นการสอน การใช้สถานการณจ์ ริงจากสถานประกอบการและชมุ ชน “ปรับ
โรงงานเป็นโรงเรียน” โดยมุ่งเน้นให้นักเรียน นักศึกษาได้ฝึกทักษะฝีมือควบคู่กับการฝึกทักษะการทางาน
ร่วมกับผู้อ่ืน เพ่ือให้มีสมรรถนะท่ีเป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนา
ความรู้และประสบการณ์ไปใช้ได้จริง สามารถประกอบอาชีพได้ตามความถนัดและความสนใจ มีนโยบายใน
การเพ่ิมสัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพและสายสามัญให้ได้ 50 ต่อ 50 และในปีการศึกษา 2563 สัดส่วนผู้เรียน
สายอาชีพจะต้องอยู่ที่ 60 ข้ึนไป และสายสามัญ 40 แต่ท้ังนี้ต้องปรับหลักสูตรการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
และการพัฒนาครู เพอ่ื ทาใหก้ ารเรยี นการสอนในสายอาชีพมคี วามน่าสนใจมากขึ้น

จากการศึกษาอัตราการศึกษาต่อและการมีงานทาของผู้สาเร็จการศึกษาของจังหวัดอุบลราชธานี ปี
๒๕๖๔ จากสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ และสานกั งานปลัดกระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย
และนวัตกรรม ช้ีให้เห็นถึงจานวนผู้ส าเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) และมัธยมศึกษาตอน
ปลาย (ม.6) ในปี พ.ศ. 2563 มีประมาณ 16,928 คน และ 8,282 คน ตามลาดับ จานวนผู้สาเร็จ
การศกึ ษาในระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) และ ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู (ปวส.)/อนปุ ริญญา ในปี

2

พ.ศ. 2562มีประมาณ 3,474 คน และ 3,914 คน และจานวนผู้สาเร็จการศึกษาในระกับปริญญาตรีโท
และเอกมีประมาณ 7,521 คน, 226 คน และ 61 คน ตามลาดับ อย่างไรกต็ าม อัตราการเรียนต่อจะค่อย ๆ
ลดลงในระดับช้ันการศึกษาท่ีสูงขึ้น ดังจะเห็นได้จากอัตราการเรียนต่อของผู้ส าเร็จการศึกษาในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) คือ ร้อยละ 47.52 แต่อัตราการเรียนต่อของผู้สาเร็จการศึกษาในระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)/อนปุ รญิ ญา ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 25.63 เปอร์เซน็ ต์ และลดลงเหลือ
เพียงร้อยละ 0.82 ในระดับปริญญาตรี จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการแรงงาน การขาดแคลน
แรงงาน การเข้าออกของแรงงานในสถานประกอบการจากแบบสารวจความต้องการแรงงานของสถาน
ประกอบการ ของโครงการส ารวจข้อมูลความต้องการแรงงานของสถานประกอบการ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 รวมถึงผลการวิเคราะห์การประมาณการอุปสงค์แรงงาน และประมาณการอุปทานแรงงานเข้า
ใหม่ จากระบบฐานข้อมูลอุปสงค์อุปทานกาลังคนเพ่ือรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย ในจังหวัดอุบลราชธานี ปี
พ.ศ. 2564 ฉบับนี้ได้ช้ีให้เห็นถึงสถานการณ์ความต้องการแรงงาน การขาดแคลนแรงงาน การเข้าออกของ
แรงงานในสถานประกอบการ ณปปี ัจจุบันทที่ าการสารวจ พรอ้ มทั้งแสดงแนวโน้มประมาณการอปุ สงค์แรงงาน
และประมาณการอุปทานแรงงานเข้าใหม่ที่จะเกิดข้ึนในอนาคตของพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีในเบื้องต้น
(สานักงานแรงงานจังหวัดอุบลราชธานี, (๒๕๖๔)รายงานผลการวิเคราะห์ข้อมูลอุปสงค์และอุปทานแรงงาน
จังหวดั อบุ ลราชธานี ปี 2564 สืบค้นจาก https://ubonratchathani.mol.go.th/)

นอกจากน้ียังพบว่าอัตราการมีงานทาในระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) มีอัตราการทางานไม่สูงนัก เน่ืองจากเลือกท่ีจะศึกษาต่อเพื่อเพ่ิมความรู้
ความสามารถ และคุณวุฒิให้กับตนเอง ส่วนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) มีอัตราการทางาน
สูง เน่ืองจากเป็นท่ีต้องการของตลาดแรงงาน โดยผู้ท่ีจบ ปวส.มีอัตราการทาไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 (ระบบ
ฐานข้อมูลแผนพัฒนากาลังคน (PMANP) กระทรวงแรงงาน : 2558) ซึ่งการคาดประมาณการผู้สาเร็จ
การศึกษาหรือการผลิตกาลังคนในปี 2559-2562 พบว่า ในอีก 4 ปีข้างหน้า มีจานวนผู้สาเร็จการศึกษา
ทั้งหมดประมาณ 174,813 คน และมีแนวโน้มลดลงทุก ๆ ปี จากปี 2559 ที่ประมาณการว่าจะมีผู้จบ
การศึกษา 43,912 คน เป็น 43,460 คน ในปี 2562 ลดลงรอ้ ยละ 1.03 ซึ่งในจานวนผู้ทีส่ าเร็จการศึกษา
ประมาณปลี ะ 43,000 คน ในจานวนนเี้ ป็นผทู้ ี่พร้อมเข้าทางานเพียงปี ละไม่เกิน 9,700 คนเท่านน้ั

จากข้อมูลการคาดประมาณการความต้องการกาลังคนและผู้สาเร็จการศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี
ตั้งแต่ปี 2559-2563 พบว่า โดยรวมจังหวัดมีอุปสงค์และอุปทานแรงงานไม่สอดคล้องกัน กล่าวคือ
ผู้ประกอบการต้องการผู้จบระดับมัธยมศึกษาหรือต่ากว่าระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) มากกว่า กาลังการผลิตกาลังคนที่พร้อมเข้าสู่
ตลาดแรงงาน ซ่ึงสาเหตุท่ีทาให้กาลังแรงงานท่ีจบการศึกษาในระดับน้ียังไม่พร้อมที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน
เพราะความเช่ือว่าเม่ือจบการศึกษาท่ีสูง ๆ จะได้ทางานท่ีสบายไม่ต้องทางานท่ีใช้กาลังแรงงานจึงนิยมที่จะ
ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นถึงปริญญาตรีหรือที่เรียกว่าค่านิยมใบปริญญา แต่สถานประกอบการในจังหวัด

3

อบุ ลราชธานีสว่ นใหญ่ใช้กาลังแรงงานเปน็ หลกั การใช้เทคโนโลยหี รอื ผูเ้ ชี่ยวชาญเฉพาะทางยงั น้อย จงึ ทาให้อุป
สงคแ์ ละอุปทานแรงงานไม่สอดคลอ้ งกัน

จากข้อมูลข้างต้น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดอุบลราชธานี ได้เล็งเห็นความสาคัญในการสร้างความ
เข้าใจและเจตคติที่ดีต่อการศึกษาสายอาชีพแก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ให้นักเรียนมีเส้นทางการเรียน
สาหรับนักเรียนได้เลือกเรียนตามความถนัดตั้งแต่ต้นอย่างชัดเจนทั้งสายสามัญและสายอาชีพ จึงได้จัดทา
โครงการ “ส่งเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา”เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาใน
จังหวัดมีนวัตกรรมที่จะสนับสนุนการศึกษาที่ต่อเน่ืองเช่ือมระหว่างการศึกษาขั้นพ้ื นฐานกับอาชีวศึกษาและ
อุดมศึกษา ที่สอดคล้องกับบริบทของพ้ืนที่ สามารถพัฒนาทักษะผู้เรียนให้สอดคล้องกับความต้องการและ
บริบททางการศึกษาในแต่ละสาขาวิชาชีพ มีทักษะต่อยอดในสถาบันอุดมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
อาศัยกระบวนการการมสี ว่ นร่วมผ่านเวทีและประชาคม

วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานที่มีความเชื่อมโยงการจดั การเรียนรู้ในระดับการศึกษาขั้น

พ้ืนฐานกบั อาชีวศกึ ษาและอดุ มศึกษาทีส่ อดคลอ้ งกับบรบิ ทของพ้ืนท่ีในระดับจังหวดั
2. เพื่อให้เกิดการบูรณาการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามบรบิ ท

สภาพปัญหาและความต้องการของจังหวดั

กลมุ่ เปำ้ หมำยโครงกำร
สถานศกึ ษาในจังหวัดอบุ ลราชธานี ทุกสังกัด ได้แก่
1. สถานศึกษาในสังกัดสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
2. สถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
3. สถานศกึ ษาสงั กัดสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
4. สถานศึกษาสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

เปำ้ หมำยและตวั ชีว้ ดั ควำมสำเร็จ
๑.๑ เปำ้ หมำย
1. สถานศึกษาในจังหวดั อุบลราชธานี มีหลกั สูตรต่อเนอ่ื งเชอ่ื มโยงการศึกษาข้นั พื้นฐานกบั อาชีวศกึ ษา

และอดุ มศึกษา
2. มีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษา

และอุดมศึกษา ของจงั หวัดอุบลราชธานี
3. สถานศึกษามีแนวทางการจัดการศึกษาเพื่ออาชีพ ของจังหวัดอุบลราชธานีสถานศึกษาในจังหวัด

อุบลราชธานี มีหลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษาสอดคล้องกับ
บรบิ ทของพ้ืนทร่ี ะดับจังหวัดอบุ ลราชธานี

๑.2 ตวั ช้วี ดั ควำมสำเร็จ
๑. หน่วยงานทางการศึกษา หรือสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ มีการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ือง
เชอื่ มโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกบั อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพ

4

ระยะเวลำกำรดำเนินโครงกำร

มกราคม 256๔ - ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔

สถำนท่ี/พื้นท่ดี ำเนนิ กำร
หน่วยงาน สถานศกึ ษาในจังหวัดอุบลราชธานี

ประโยชนท์ คี่ ำดวำ่ จะได้รบั จำกกำรโครงกำร
1. หน่วยงานทางการศึกษา หรือสถานศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการ มีการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่อง

เช่ือมโยงการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานกบั อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาท่มี ีประสิทธภิ าพ
2. มีรูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษา

และอุดมศกึ ษา ของจังหวดั อบุ ลราชธานี
3. มีแนวทางการจัดการศกึ ษาเพื่ออาชพี ของจงั หวัดอบุ ลราชธานี

นิยำมศัพท์เฉพำะ

1. ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หมายถึงการจัดการศึกษาในระดับก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา
มัธยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศกึ ษาตอนปลายประเภทสามัญศกึ ษา ในสถานศกึ ษาทกุ สังกัด

2. ระดับอาชีวศึกษา หมายถึงการจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภทอาชีวศึกษา
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ในสถานศึกษาทุก
สงั กดั

3. ระดับอุดมศึกษาหมายถึงการจัดการศึกษาในระดับสูงกว่าระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้แก่
หลกั สตู รตา่ กวา่ ปริญญาตรี(อนปุ ริญญา/ และหลกั สูตรในระดับปริญญาตรใี นสถาบัน/มหาวิยาลัยทกุ สังกดั
หลักสูตร หมายถึงหลักสูตรทวิศึกษา/ทวิวุฒิ หลักสูตรระยะส้ัน และรายวิชาในโครงสร้างหลักสูตรระดับ
การศกึ ษา ขน้ั พน้ื ฐาน ระดับอาชีวศกึ ษา และระดับอดุ มศึกษา

5

ตอนที่ 2

แนวทำงกำรพัฒนำหลักสตู รต่อเน่อื งเชอ่ื มโยง

การดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทารูปแบบ และแนวทางการพัฒนา
หลักสูตรต่อเน่ืองเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ของสานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั อบุ ลราชธานี ได้ดาเนนิ การกิจกรรมต่าง ๆ ดงั นี้

ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ งำน
1. แต่งตัง้ คณะทางานโดยการมสี ว่ นรว่ มทุกภาคส่วนท่เี ก่ยี วขอ้ ง ได้แก่ ผแู้ ทนจากมหาวิทยาลยั

ผูแ้ ทนจากสถานศกึ ษาอาชีวศึกษา ผแู้ ทนจากหนว่ ยงานทจ่ี ัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน เช่น สานกั งานเขตพน้ื ท่ี
ผู้อานวยการโรงเรียน ครวู ิชาการ เป็นตน้

2. ศึกษาสภาพปจั จบุ นั การจดั การเรยี นการสอนที่ความเชือ่ มโยงระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกบั
อาชวี ศึกษาและอุดมศกึ ษา

3. ประชุมเปิดเวทีประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบและแนวทางการพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยง
การศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จาก กศจ. อาจารย์
คณะศิลปะประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะบริหารศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย
อุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี อาจารย์หลักสูตรการแพทย์แผนไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฎอบุ ลราชธานี ประธานอาชีวศึกษา ศกึ ษานิเทศก์ จากสพป.และสพม. ผู้บริหาร และครู
วชิ าการของโรงเรียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน

แนวทำงกำรพัฒนำหลกั สูตรตอ่ เนอ่ื งเช่ือมโยง
1. การนาเสนอรายวิชาพน้ื ฐานท่แี สดงสมรรถนะเพ่ือการศกึ ษาต่อในระดับอน่ื โดยไม่ต้องสอบคัดเลอื ก

(Qualify) รวมท้ังการพัฒนาหลักสูตร/รายวิชาเพ่ือให้สถานศึกษาในระดับท่ีต่ากว่านาไปใช้เพ่ือให้เกิดความ
ตอ่ เนือ่ งเชอ่ื งโยงหลกั สตู ร

2. การจัดการเรียนรู้ตามรายวิชาสะสมหน่วยกิตเตรียมอาชีวศึกษา ( Pre-Vocational Education :
Pre-VEd.) หรือเตรียมเข้าศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา (Pre-Higher Education Entrance : Pre-Ent.) เพื่อลด
เวลาเรียนและเทียบโอนหนว่ ยกิต

3. เทียบสมรรถนะบางรายวิชา เพ่ือลดเวลาเรียนและเทียบโอนหน่วยกิตกับรายวิชาตามโครงสร้าง
หลักสูตรในระดบั การศกึ ษาอ่นื

4. ทวิศึกษา/ทวิวุฒิ พัฒนาหลักสูตร/รายวิชาเพ่ือให้สถานศึกษาในระดับที่ต่ากว่านาไปใช้เพ่ือให้เกิด
ความต่อเนือ่ งเชื่องโยงหลักสตู ร ตามแนวทาง 1 หรอื 2

5. Pre-VEd (Pre-Vocational Education) หมายถึงการนารายวิชาตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วชิ าชีพ(ปวช.) หรือ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) หรือหลักสูตรระยะสั้น หรือหลักสูตรเตรียม

6

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ป.ต.อ.)ที่สถานศึกษาอาชีวศึกษาเพื่อสะสมหน่วยกิตเตรียมอาชีวศึกษา ระดับ ปวช./
ปวส.แล้วแตก่ รณเี พ่อื ลดเวลาเรยี นและเทยี บโอนหน่วยกติ

6. Pre-Ent. (Pre-Higher Education Entrance) หมายถึงการนารายวิชาตามหลักสูตรระดับ
อนุปริญญา หรือ หลักสูตรระดับปริญญาตรี หรือหลักสูตรระยะสั้นที่สถาบันอุดมศึกษาหรือหน่วยงานอ่ืน
พัฒนาขึ้นเพ่ือสะสมหน่วยกิตเตรียมอนุปริญญาหรือปริญญาตรีแล้วแต่กรณีเพื่อลดเวลาเรียนและเทียบโอน
หน่วยกิต

7. การเทียบสมรรถนะบางรายวิชา หมายถึง สถานศึกษา/สถาบันการศึกษานารายวิชาที่พัฒนาหรือ
หนว่ ยงานอนื่ ทงั้ ภาครัฐ/เอกชนพัฒนาไปเทียบโอนเวลาเรียนและหนว่ ยกติ กับสถานศึกษา/สถาบันอน่ื

8. ทวิศึกษา/ทวิวุฒิ หมายถึงหลักสูตรที่สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานระดับมัธยมศึกษาตอนปลายประเภท
สามัญศึกษาจัดการศึกษาตามโครงสรา้ งหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) ของสถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา

9. หลักสูตร ป.ต.อ. หมายถึงหลักสูตรประกาศนียบัตรเตรียมอาชีวศึกษา เทียบเท่ากับระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เปิดสอนในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาในรปู แบบโรงเรยี นสาธติ

10. ประเภทสถานศึกษา หมายถึง สถานศึกษา/สถาบันตอ่ ไปน้ี
10.1 ประเภท 1 สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน หมายถึงสถานศึกษาที่จัดการศึกษาภาคบังคับ

และระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ประเภทสามญั ศกึ ษาในทกุ สงั กัด
10.2 ประเภท 2 สถานศึกษาอาชีวศึกษา หมายถึง สถานศึกษาของรัฐหรือเอกชนหรือ

อปท. ท่ีจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ( ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสงู (ปวส.) ทุกสังกัด

10.3 ประเภท 3 สถานศึกษาอุดมศึกษา หมายถึง วิทยาลัย / สถาบัน /มหาวิทยาลัย ที่เปิด
สอนหลกั สูตรอนปุ ริญญา และระดับปริญญาตรีในทกุ สงั กัด

11. รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยง หมายถึง การพัฒนาหลักสูตรต่อเนื่องเชื่อมโยง
การศกึ ษาระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน การอาชีวศึกษาและการอุดมศึกษา มี 3 แบบแผน คือ

11.1 LM ( Linear Model) เป็นการเช่ือมโยงแบบเสน้ ตรง
11.2 TM ( Triangle Model)เปน็ การเชื่อมโยงแบบสามเหล่ยี ม
11.3 MM (Mixed-Model) เปน็ การเชอ่ื มโยงแบบผสมผสาน
12. ระดับ/ประเภทการศกึ ษา
12.1 H : High School หมายถงึ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายประเภทสามัญศึกษา
12.2 S : Secondary School หมายถงึ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
12.3 P : Primary School หมายถึง ระดบั ประถมศกึ ษา
13. กลุ่มอาชีพตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 หมายถึง กลุ่มอาชีพที่ต่อยอดในกลุ่มเทคโนโลยีและ
อุตสาหกรรมเปา้ หมาย ดังนี้

7

13.1 กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น สร้างเส้นทางธุรกิจใหม่ (New
Startups) ด้านเทคโนโลยกี ารเกษตร เทคโนโลยอี าหาร เปน็ ตน้

13.2 กลุ่มสาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยที างการแพทย์ เช่น พัฒนาเทคโนโลยสี ุขภาพ
เทคโนโลยีการแพทย์ สปา เปน็ ต้น

13.3 กลุม่ เครือ่ งมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หนุ่ ยนต์ และระบบเครอื่ งกลทใ่ี ชร้ ะบบอิเล็กทรอนิกส์
ควบคุม เช่น เทคโนโลยีห่นุ ยนต์ เป็นต้น

13.4 กลุ่มดจิ ิตอล เทคโนโลยอี นิ เตอร์เน็ตที่เช่อื มต่อและบังคับอุปกรณต์ า่ งๆ
ปัญญาประดิษฐ์ และ เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว เช่น เทคโนโลยดี ้านการเงิน อุปกรณ์เชื่อมตอ่ ออนไลน์ โดยไม่
ตอ้ งใชค้ น เทคโนโลยีการศกึ ษา อี–มารเ์ ก็ตเพลส อี–คอมเมิรซ์ เปน็ ตน้

13.5 กลุ่มอุตสาหกรรมสรา้ งสรรค์ วฒั นธรรม และบริการท่มี มี ูลคา่ สงู เชน่ เทคโนโลยกี าร
ออกแบบธุรกจิ ไลฟ์สไตล์ เทคโนโลยีการท่องเที่ยว การเพ่ิมประสิทธภิ าพการบริการ เป็นตน้

มาตรฐานคุณวฒุ ิทางการศึกษา
กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เป็นกรอบแนวทางการเชื่อมโยงผลการเรียนรู้กับสมรรถนะในการปฏิบัติงาน

เกิดข้ึนเม่ือวันที่ 8 มกราคม 2556 โดยกาหนดกรอบคุณวุฒิออกเป็น 9 ระดับ คือ ระดับ 1 มัธยมศึกษา
ตอนต้น ระดับ 2 มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับ 3 ประกาศนียบัตร ระดับ 4 อนุปริญญา/ประกาศนียบัตร
วิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ระดับ 5 ปริญญาตรี ระดับ 6 ประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับ 7ปริญญาโท ระดับ 8
ประกาศนียบตั รบณั ฑติ ชน้ั สูง และระดับ 9 ปรญิ ญาเอก (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2561: ข)

ประเทศไทยได้จัดทาและพัฒนากรอบมาตรฐานคุณวุฒิสาหรับระบบการศึกษาของพัฒนากาลังคน
ให้มีความรู้ ทักษะ และสมรรถะที่มีมาตรฐานสามารถเทียบเคียงได้ท้ังในระดับชาติและระดับนานาชาติ และ
เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาอีกด้วย ได้แก่ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน โดยกรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ (National Qualifications Framework: NQF) มีวตั ถุประสงคด์ งั น้ี

1) เพ่ือเป็นกลไกการปฏิรูปการศึกษา ด้วยการเช่ือมโยงความต้องการกาลังคนเชิงคุรภาพของภาค
การผลิตและบริการกับระบบคุณวุฒิทางการศึกษาให้ก้าวทันการเปลี่ยนอาชีพ โดยใช้ระบบการประกัน
คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา สามารถยกระดับคุณภาพการศึกษาให้มีความเป็นสากล โปร่งใส และ
เทยี บเคยี งได้กบั นานาชาติ

2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเพิ่มโอกาสการศึกษา
(Widening Education Participation) ท่ีจาเป็นต่อการสร้างศักยภาพกาลังคนในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมของประเทศ

3) เพ่ือสรา้ งความเช่ือมโยงกบั กรอบคุณวุฒขิ องต่างประเทศ อนั จะเป็นกลไกสรา้ ง
ความสามารถในกาแขน้ ด้านกาลังคนของประเทศ เสริมสร้างความคล่องตัวและในการเคลอ่ื นย้ายกาลังคนและ
นักเรียนนกั ศึกษาในภูมิภาค (Mobility of Manpower and Students)

8

4) เพอ่ื ยกระดับคุณค่าของผ้มู ีความสามารถหรือสมรรถนะในการปฏิบตั งิ านที่ต้องการเพมิ่ พูนคุณวุฒิ
การศึกษาด้วยระบบการเทียบโอนประสบการณ์และความรู้ท่ีมีอยู่ก่อน (Recognition of Prior Learning:
RPL) รวมทง้ั การเชือ่ มโยงเส้นทางการเรียนรแู้ ละความกา้ วหนา้ ในอาชพี ที่หลากหลายของบุคคล

โครงสร้ำงของกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชำติ ประกอบดว้ ย (สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา,2561: 64)
1) ระดับคุณวุฒิ 8 ระดับท่ีกาหนดขอบเขตความยากง่ายแตกต่างกันไป ซ่ึงระบุถึงความสามารถ

ในการปฏิบัติงนตามขอบเขตความรู้ ทักษะ และความสามารถในการประยุกต์ใช้ และความรับผิดชอบที่
สามารถเชือ่ มโยงกบั ผลลพั ธก์ ารเรียนรู้

2) ผลลัพธก์ ารเรยี นรู้ (Learning Outcome) อนั ไดแ้ ก่
2.1 ความรู้ (Knowledge) ทงั้ ในเชงิ วชิ าการ แนวคิดทฤษฎี และขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ ง ๆ
2.2 ทักษะ (Skills) ครอบคลุมทักษะด้านการคิดอย่างมีเหตุผล การหย่ังรู้ การคิดสร้างสรรค์

และการปฏบิ ัติ
2.3 ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชแ้ ละความรับผิดชอบ (Application and Responsibility)

องคก์ รทำงด้ำนกำรศึกษำมกี ำรกำหนดกรอบคุณวุฒิกำรศกึ ษำ แบ่งเป็น 3 ระดับ ดงั น้ี
1) กรอบมำตรฐำนคุณวุฒิระดับอุดมศึกษำแห่งชำติ จัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา ซ่ึงเป็นปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 เพ่อื ให้สถาบนั อุดมศึกษาใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสตู รและ การจดั การเรยี น
การสอน เพ่ือให้คุณภาพของบัณฑิตท่ีผลิตในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันมีฐานเทียบเคียงกันได้ท้ังในระดับชาติ
และระดับสากล โดยมีระดับคุณวุฒิ ระดับมาตรฐาน 6 ระดับ ได้แก่ อนุปริญญา (3 ปี) ปริญญาตรี
ประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญาโทประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และปริญญาเอก โดยในแต่ละระดับจะมี
รายละเอียดองค์ประกอบของระดับคุณวุฒิ/ระดับมาตรฐานผลการเรียนรู้ มีความสอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิ
แหง่ ชาติ

2) กรอบมำตรฐำนคณุ วุฒิอำชีวศึกษำแหง่ ชำติ จดั ทาโดยสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
โดยชื่อของระดับคุณวุฒิ/ระดับมาตรฐาน ประกอบด้วย 5 ระดับ ได้แก่ ประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะ 1
(ระยะสั้น) ประกาศนียบัตรวิชาชีพเฉพาะ 2 (ระยะสั้น) ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) และปริญญาตรี (สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ) โดยกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีพ
ศึกษาแห่งชาติกาหนดการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิผู้สาเร็จการศึกษาให้มีคุณภาพผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับ
คุณวุฒิ ประเภทวิชา และสาขาวิซาต้องครอบคลุมอย่างน้อย 3 ด้าน ดังนี้ 1) ด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
2) ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทัว่ ไป และ 3) ดา้ นสมรรถนะวิชาชีพ

3) มำตรฐำนคุณวุฒิกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน จัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 1 ซึ่งมีท้ังหมด 3 ระดับ ได้แก่
ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาซ่ึงระดับคุณวุฒิการศึกษาท่ีสามารถเทียบเคียงกับกรอบ
คณุ วุฒิแห่งชาตไิ ดม้ ี 2 ระดับ คอื ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ และระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

9

ประกำศกระทรวงศกึ ษำธิกำร
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2546 เรื่อง การเทียบโอนผลการเรียน

การศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษาต่าว่าปริญญา เพ่ือให้สถานศึกษาระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐานและระดับอุดมศึกษา ระดับต่ากว่าปริญญาสามารถดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนโดยการเช่ือมโยง
ผลการเรียนระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั รวมท้ังผลการเรยี นรู้
จากนอกระบบ ตามอัธยาศยั การฝกึ อาชีพหรือจากประสบการณ์การทางาน เพอ่ื ใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงของการศึกษา
ต่อเน่ืองในหลักสูตรใดหลักสูตรหนึ่งในสถานศึกษา ซึ่งมีหลักการและแนวทางในการเทียบโอน ดังนี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2562: ออนไลน)์

1) หลักกำรเทยี บโอนผลกำรเรียน
ยึดหลักการกระจายอานาจไปสู่สถานศึกษา โดยดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนในรูปแบบ

คณะกรรมการ
1.1 ) คานึงถงึ หลกั ความยุตธิ รรม โปร่งใส และมีมาตรฐานเป็นท่ยี อมรับ
1.2) การเทียบโอนผลการเรยี นให้พจิ ารณาจากเอกสาร หลักฐานการศึกษาหรอื

หลักฐานอื่นหรือประเมินจากความรู้ ความสามารถ ทักษะ หรอื ประสบการณ์ของผู้เรียนด้วยเคร่ืองมือและ
วิธกี ารทีห่ ลากหลาย ไม่ชับซ้อน ทง้ั น้ี ให้คานงึ ถึงประโยชนข์ องผูเ้ ทยี บโอนผลการเรียนเปน็ สาคัญ

1.3) พิจารณาเทียบโอนผลการเรียนเพ่ือการศึกษาต่อ โดยพิจารณารูปแบบการศึกษาและ
หลักสูตรทีอ่ ยใู่ นระดับเดยี วกนั
2) แนวทำงกำรเทยี บโอนผลกำรเรียน

2.1) การเทียบโอนผลการเรียนให้พิจารณาจากรูปแบบการจัดการศึกษา ลักษณะการจัดหลกั สูตร
และสาระการเรียนรู้ ซ่ึงมีความแตกต่างหลากหลาย โดยเทียบเคียงกับหลักเกณฑ์และวิธีการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาท่รี บั เทยี บโอน

2.2) ช่วงเวลาในการเทยี บโอนผลการเรียน ดาเนนิ การได้ 2 กรณี ดังน้ี
กรณที ่ี 1 การเทยี บโอนผลการเรยี นท่ีเกิดขึน้ จากสภาพการณ์ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา

การเปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การละท้ิงการศึกษาและขอกลับเข้าศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศ และขอเทียบโอนเข้าศึกษาต่อในประเทศ ให้ดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรกหรือต้นภาค
เรียนแรกท่ีสถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นนักเรียน/นักศึกษาเพ่ือการวางแผนการเรียน ทั้งน้ี สถานศึกษาควร
ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียนให้แล้วเสร็จภายใน 1 ภาคเรียน ถ้ามีเหตุจาเป็นผู้ขอเทียบโอนไม่สามารถขอ
เทยี บโอนไดภ้ ายในช่วงเวลาท่ีกาหนด ใหอ้ ยใู่ นดลุ ยพินิจของสถานศึกษา

กรณีท่ี 2 การเทียบโอนความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์จากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ เช่น
สถานประกอบการ สถานประกอบอาชีพอิสระ สถาบันทางศาสนา สถาบันฝึกอบรมวิชาชีพ บ้านเรียน
(Home School) ฯลฯ ให้ดาเนินการต้นภาคเรียนหรือก่อนภาคเรียน โดยสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนตามความ
เหมาะสม รวมทั้งกรณีของผู้กาลังเรียนและประสงค์จะไปศึกษาจากแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ซ่ึงจะต้องได้รับอนุญาต
จากหัวหน้าสถานศึกษาก่อน

10

2.2 กำรศึกษำข้นั พื้นฐำน
การศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามที่กาหนดในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไข

เพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 นั้นได้กาหนดให้เป็นการศึกษาโดยผู้เรียนไม่ต้องเสีย ค่าใช้จ่ายเป็นเวลา 12
ปี นับแตป่ ี พ.ศ. 2559 รัฐบาลไดข้ ยายเวลาการจัดการศึกษาโดยไม่เสีย ค่าใช้จา่ ยจาก 12 ปี เป็น 15 ปี โดย
เร่ิมจากระดับปฐมวัยจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท้ังในสายสามัญและสายอาชีวศึกษาซ่ึงครอบคลุมถึง
การศึกษาพิเศษสาหรับผู้เรียนด้อยโอกาสและยากไร้ และการศึกษาพิเศษสาหรับผู้พิการในประเภทต่าง ๆ ใน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน แบ่ง เป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น และระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา, 2562)

หลักสูตรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน โครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางข้ันพ้ืนฐานในระดับ
ประถมศึกษากาหนดให้มีเวลาเรียนท้ังหมดไม่น้อยกว่า 1,000 ชั่วโมงต่อปี ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1,200 ชั่วโมงต่อปี ส่วนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต้องมี เวลาเรียน รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,000 ชั่วโมง
อย่างไรก็ตามได้มีการปรับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 ในบางสาระเพื่อให้สอดรับกับ
การพัฒนาเทคโนโลยีในการเข้าสกู่ ารเปน็ ประเทศไทย 4.0 และส่งเสริมให้ผู้เรยี นมลี ักษณะที่จาเปน็ สาหรับการ
เรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โดยปรับหลักสูตรในกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภูมิศาสตร์
(สานกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562)

ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานสายสามัญ ยังได้มีการจัดการศึกษาเพื่อการมีงานทา สาหรับนักเรียน
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษาเพื่อให้มปี ระสบการณ์การทางานและความรู้ ขั้นพื้นฐานสาหรับการทางาน
ในอนาคตและการใช้เทคโนโลยีและในโรงเรียนบางแห่งยังได้จัดการศึกษา เรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลายหรือทวิศึกษา ซ่ึงผู้ท่ีสาเร็จการศึกษาใน หลักสูตรดังกล่าวจะได้รับวุฒิการศึกษา
มัธยมศึกษาตอนปลายและวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พร้อมกัน เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้
ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในการศึกษา ทางด้านวิชาชีพ เพ่ือเพ่ิมทักษะและความรู้ความสามารถ
ตา่ ง ๆ รวมทั้งโอกาสในการมงี านทามากกว่า การมวี ฒุ ิการศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายเพยี งอย่างเดยี ว

2.3 กำรศกึ ษำอำชีวศกึ ษำ
หลกั สตู รประกำศนียบตั รวิชำชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั รำช 2562

หลักกำรของหลักสตู ร
1. เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมัธยมศึกษาตอนต้นหรือเทียบเท่าด้านวิชาชีพท่ี

สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒิ
แห่งชาติมาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคณุ วุฒิอาชีวศกึ ษาแหง่ ชาติ เพ่อื ผลติ และพัฒนากาลังคนระดับ
ฝีมือให้มีสมรรถนะ มีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตามความ
ต้องการของสถานประกอบการและการประกอบอาชพี อิสระ

2. เป็นหลักสูตรท่ีเปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างกว้างขวาง เน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการ
ปฏิบัติจริงสามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและ โอกาสของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเทียบ
โอนผลการเรียนสะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถานประกอบการ
และสถานประกอบอาชพี อสิ ระ

11

3. เป็นหลักสูตรที่สนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
และองคก์ รทเี่ ก่ยี วข้อง ทงั้ ภาครัฐและเอกชน

4. เป็นหลักสูตรที่เปดิ โอกาสให้สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนเละท้องถ่ิน มีส่วนร่วมในการ
พัฒนาหลักสูตรให้ตรงตามความต้องการ โดยยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ และสอดคล้องกับสภาพยุทธศาสตร์
ของภมู ิภาคเพอ่ื เพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ

หลกั เกณฑก์ ำรใชห้ ลักสตู รประกำศนียบตั รวชิ ำชพี พทุ ธศักรำช 2562
1. กำรเรียนกำรสอน
1.1 การเรียนการสอนตามหลกั สตู รน้ี ผู้เรยี นสามารถลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธเี รียนทก่ี าหนด และ

นาผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกันได้ สามารถขอเทียบโอนผลการเรียน และขอเทียบโอนความรู้
และประสบการณ์ได้

1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลาย
รูปแบบเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและการดาเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติงานตาม
แบบแผนในขอบเขตสาคญั และบริบทต่าง ๆ ที่สัมพนั ธ์กันซ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นงานประจาให้คาเนะนาพื้นฐานที่ต้อง
ใช้ในการตัดสินใจ วางเผนและแก้ไขปัญหาโดยไมอ่ ยู่ภายใตก้ ารควบคุมในบางเรื่อง สามารถประยุกต์ใช้ความรู้
ทกั ษะทางวิทาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและกรส่ือสารในการแกป้ ัญหาและการปฏิบตั ิงานในบริบทใหม่ รวมทั้ง
รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ตลอดจนมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยท่ี
เหมาะสมในการทางาน

2. กำรจดั กำรศึกษำและเวลำเรียน
การจดั การศึกษาในระบบปกติ ใชร้ ะยะเวลา 3 ปีการศกึ ษา การจดั เวลาเรยี นให้ดาเนนิ การ ดังน้ี
2.1 ในปีการศึกษาหน่ึงๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบทวิภาค ภาคเรียน

ละ 18 สัปดาห์รวมเวลาการวัดผล โดขมีเวลาเรียนและจานวนหน่วยกิตตามที่กาหนด และสถานศึกษา
อาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั อาจเปิดสอนภาคเรยี นฤคูรอ้ นไดอ้ ีกตามทเี่ ห็นสมควร

2.2 การเรยี นในระบบชน้ั เรียน ให้สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาหรอื สถาบันเปดี ทาการสอนไม่น้อยกวา่
สัปดาหล์ ะ 5 วนั ๆ ละ ไม่เกิน 7 ช่วั โมง โดยกาหนดใหจ้ ดั การเรียนการสอนคาบละ 60 นาที

3. กำรคิดหน่วยกิต ให้มีจานวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 103 - 1 10 หน่วยกิต การคิด
หน่วยกิตถือเกณฑ์ ดังนี้

3.1 ราชวิชาทฤษฎีท่ีใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 18 ชั่วโมง
ต่อภาคเรียนรวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกติ

3.2 รายวชิ าปฏบิ ัติทใี่ ช้เวลาในการทคลองหรือฝกึ ปฏิบัตใิ นห้องปฏบิ ตั กิ าร 2 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์
หรอื 36 ชั่วโมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กบั 1 หนว่ ยกิต

3.3 รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์
หรอื 54 ช่วั โมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มีค่าเทา่ กับ 1 หน่วยกิต

12

3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน รวม
เวลาการวัดผลมีค่าเท่ากบั 1 หน่วยกิต

3.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถะวิชาชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมง
ต่อภาคเรียนรวมเวลาการวัดผล มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกติ

3.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน
รวมเวลาการวดั ผลมคี า่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ

หลักสตู รประกำศนยี บตั รวิชำชีพช้นั สงู (ปวส.) พุทธศักรำช 2563
หลกั กำรของหลักสตู ร

1. เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง เพื่อพัฒนากาลังคนระดับเทคนิคให้มี
สมรรถนะมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ สามารถประกอบอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการ
ของตลาดแรงงานและการประกอบอาชพี อสิ ระ สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตแิ ละ
แผนการศกึ ษาแห่งชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ และกรอบคณุ วุฒิ
อาชวี ศึกษาแหง่ ชาติ

2. เป็นหลักสูตรท่ีเปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้อย่างกว้างขวาง เน้นสมรรถนะเฉพาะด้านด้วยการ
ปฏิบัติจริงสามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถ
เทียบโอนผลการเรียนสะสมผลการเรียน เทียบโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยาการ สถาน
ประกอบการและสถานประกอบอาชพี อิสระ

3. เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งเน้นให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้เต็มภูมิ
ปฏิบัติได้จริงมีความเปน็ ผ้นู าและสามารถทางานเป็นหมูค่ ณะไดด้ ี

4. เป็นหลักสูตรท่ีสนับสนุนการประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
และองคก์ รท่เี กยี่ วขอ้ ง ท้งั ภาครัฐและเอกชน

5. เปน็ หลักสูตรท่ีเปีดโอกาสให้สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถ่ิน มสี ่วนร่วมในการ
พัฒนาหลกั สตู รใหต้ รงตามความต้องการและสอดคล้องกับสภาพยทุ ธศาสตรข์ องภูมิภาค เพ่ือเพิม่ ขีคความ
สามารถในการแขง่ ขันของประเทศ

หลกั เกณฑ์กำรใช้ หลกั สตู รประกำศนียบัตรวชิ ำชีพช้ันสงู พทุ ธศกั รำช 2563
1. กำรเรยี นกำรสอน

1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผูเ้ รียนสามารถลงทะเบียนเรียนไดท้ ุกวธิ ีเรียนที่กาหนด และ
นาผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกัน ได้ สามารถขอเทียบโอนผลการเรียน และขอเทียบโอน
ความรู้

1.2 การจัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลาย
รูปแบบเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการ วิธีการและการดาเนินงาน มีทักษะการปฏิบัติงาน
ตามแบบแผนและปรับตัวได้ภายใต้ความเปล่ียนแปลง สามารถบูรณาการและประยุกต์ใช้ความรู้และ
ทักษะทางวิชาการท่ีสัมพันธ์กับวิชาชีพ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการตัดสินใจ วางแผน
แก้ปัญหาจัดการ ประสานงานและประเมินผลการคาเนนิ งานได้อย่างเหมาะสม มีส่วนร่วมในการวางแผน

13

และพัฒนาริเร่ิมสิ่งใหม่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่ืนและหมู่คณะ รวมทั้งมีคุณธรรม จริยธรรม
จรรยาบรรณวชิ าชีพเจตคติและกิจนสิ ยั ทเ่ี หมาะสมในการทางาน
2. กำรจัดกำรศกึ ษำและเวลำเรยี น

2. 1 การจดั การศกึ ษาในระบบปกติสาหรบั ผ้เู ขา้ เยนทสี่ าเร็จการศึกษาระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ
(ปวช.) หรอื เทยี บเท่าในประเภทวชิ าและสาขาวชิ าตามทหี่ ลักสตู รกาหนด ใช้ระยะเวลา 2 ปกี ารศึกษา
ส่วนผู้เข้าเรียนท่ีสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า และผู้เข้าเรียนท่ีสาเร็จ
การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชชีพ (ปวช) หรือเทียบเท่าต่างประเภทวิชาและสาขาวิชาท่ีกาหนด ใช้
ระยะเวลาไม่นอ้ ยกวา่ 2 ปีการศกึ ษา และเป็นไปตามเงือ่ นไขทหี่ ลกั สตู รกาหนด

2.2 การจดั เวลาเรยี นให้ดาเนินการ ดงั นี้
2.2.1 ในปกี ารศึกษาหน่ึง ๆ ใหแ้ บ่งภาคเรยี นออกเปน็ 2 ภาคเรยี นปกตหิ รอื ระบบทวิภา

ภากเรยี นละ 18 สัปดาห์ รวมเวลาการวัดผล โดยมีเวลาเรียนและจานวนหนว่ ยกิตตามทีก่ าหนด และ
สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั อาจเปีดสอนภาคเรยี นฤดรู ้อนได้อีกตามท่เี ห็นสมควร

2.2.2 การเรียนในระบบช้ันเรียน ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเปิดทาการสอนไม่น้อย
กว่าสปั ดาหล์ ะ 5 วัน ๆ ละ ไมเ่ กิน 7 ช่ัวโมง โดยกาหนดใหจ้ ัดการเรียนการสอนคาบละ 60 นาที

3. กำรคิดหน่วยกิต ให้มีจำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่ำ 83 - 90 หน่วยกิต การคิดหน่วยกิต
ถอื เกณฑ์ ดงั น้ี

3.1 รายวิชาทฤษฎีท่ีใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ หรือ 18 ช่ัวโมงต่อ
ภาคเรยี นรวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กับ 1 หน่วยกติ

3.2 รายวชิ าปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทคลองหรอื ฝกึ ปฏิบัติในหอ้ งปฏบิ ัติการ 2 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์
หรือ 36 ชัว่ โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กับ 1 หน่วยกิต

3.3 รายวิชาปฏบิ ตั ทิ ใ่ี ช้เวลาในการฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นโรงฝึกงานหรอื ภาคสนาม 3 ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ หรอื
54 ชว่ั โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี า่ เท่ากับ 1 หนว่ ยกิต

3.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ที่ใช้เวลาไม่นอ้ ยกวา่ 54 ช่ัวโมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลา
การวคั ผลมีค่าเท่ากับ 1 หนว่ ยกิต

3.5 การฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวิชชีพในสถานประกอบการ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อ
ภาคเรยี นรวมเวลาการวัดผล มีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกิต

3.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิทชีพ ที่ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา
การวัคผลมีค่าเท่ากบั 1 หน่วยกติ

2.4 กำรศึกษำระดับอุดมศึกษำ การศึกษาระดับอุดมศึกษามีบทบาทในการผลิตความรู้ชั้นสูง ทาหน้าท่ี
ผลิตบัณฑิต และบุคลากรเพ่ือพัฒนาประเทศ วจิ ัย บรกิ ารสงั คม โดยจัดในมหาวิทยาลัย สถาบนั วิทยาลัย หรือ
หน่วยงานท่ีเรยี กช่ืออย่างอ่ืน การศึกษาระดับอดุ มศึกษาในปัจจบุ ันได้แบ่งออกเป็นระดับระดบั ต่ากว่า ปริญญา
หรืออนุปริญญาและระดับปริญญา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562: 52 - 54) ก) ระดับ
อนุปริญญาหรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง การศึกษาระดับอนุปริญญาหรือระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูงใช้ระยะเวลา ในการศึกษาจานวน 2 ปี สถานศึกษาท่ีมีหลักสูตรระดับอนุปริญญาหรือ

14

ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ส่วนใหญ่จะอยู่ในมหาวิทยาลัยของรัฐ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ วิทยาลัย
ชุมชน สถาบัน อุดมศึกษาของเอกชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาลัยอาชีวศึกษา สถาบันการพล
ศึกษา วิทยาลัยช่างศิลป์ สถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หลักสูตรระดับอนุปริญญาหรือระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงส่วนใหญ่จะเป็นศึกษาเฉพาะทางหรือสายอาชีพ ข) ระดับปริญญา ผู้ท่ีต้องการ
ศึกษาต่อระดับปริญญาต้องสาเร็จการศึกษาในระดับช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 หรือหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชพี ในสายอาชีวศึกษาหรอื เทียบเทา่ การศกึ ษาระดับปรญิ ญา สามารถแบ่งเป็นระดับการศกึ ษายอ่ ยได้ ดังน้ี

- การศึกษาระดับปริญญาตรี โดยปกติจะกาหนดระยะเวลาของหลักสูตรไว้ 4 ปี และ 2 หรือ 3 ปี
ในหลักสูตรต่อเนื่องจากระดับอนุปริญญา ส่วนหลักสูตรปริญญาตรีท่ีกาหนด ระยะเวลาเรียน 5 ปี นั้น จะอยู่
ในสาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิชาจิตรกรรม สาขาครุศาสตร์หรือ ศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาครุศาสตร์
อุตสาหกรรม ส่วนสาขาที่ใช้เวลาในการศึกษา 6 ปี ได้แก่ สาขา แพทย์ศาสตร์ สาขาสัตวแพทย์ศาสตร์ สาขา
เภสัชศาสตร์ ในบางสาขาต้องมีการฝึกงานก่อนที่จะ สาเร็จการศึกษา - การศึกษาระดับปริญญาโท เป็น
การศึกษาซ่ึงลงลึกในขอบเขตการศึกษา ท่ีเฉพาะเจาะจงมากกว่าระดับปริญญาตรี ผู้เรียนใช้เวลาในการศึกษา
อย่างน้อย 1 ปี แต่โดยทั่วไปแล้ว จะต้องใช้เวลา 2 ปี ผู้เรยี นจะต้องผลติ วทิ ยานิพนธห์ รือสารนิพนธ์ในหัวข้อที่
สนใจท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สาขา วชิ าทเ่ี รยี นก่อนท่ีจะไดร้ ับอนมุ ัตใิ หส้ าเร็จการศึกษา

- การศึกษาระดับปริญญาเอก ใช้เวลาในการศึกษาโดยท่ัวไป 3 ปี ต่อเน่ืองจาก การศึกษาระดับ
ปริญญาโท โดยมีการเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาเอกในบางสาขาวิชา นอกจากนี้ ในระดับอุดมศึกษา
ยงั มีการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตซ่งึ เปน็ การศกึ ษาทีส่ ูงกวา่ ระดับปรญิ ญาตรีแต่ต่ากวา่ ระดับปริญญา
โท และระดบั ประกาศนียบตั รบัณฑติ ช้ันสงู ซ่งึ เปน็ การศึกษาที่สูงกว่าระดบั ปริญญาโทแตต่ า่ กวา่ ระดบั ปรญิ ญา
เอก (สานกั งานเลขาธิการ สภาการศกึ ษา, 2562: 54)

ในปี พ.ศ. 2561 มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาสงั กัดสานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา
จานวน 155 สถาบัน ประกอบด้วยสถาบันประเภทต่าง ๆ ได้แก่ มหาวิทยาลัยใน กากับ 24 แห่ง
มหาวิทยาลัยของรัฐ 10 แห่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏ 38 แห่ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล 9 สถาบัน
สถาบันวิทยาลัยชุมชน 1 แห่ง (มี 20 วิทยาเขต กระจายอยู่ตามภาคต่าง ๆ ของ ประเทศไทย) และ
สถาบันการศึกษาเอกชน 73 แห่ง นอกจากนี้ ยังมีสถาบันการศึกษาระดับ อุดมศึกษาและสถาบันการศึกษา
เฉพาะทางในระดับอดุ มศึกษาสงั กัดกระทรวงและหน่วยงานอ่ืน ๆ นอกเหนือจากสานักงานคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษา (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2562: 54) ในส่วนของสถาบันวิทยาลยั ชมุ ชน ได้มกี ารจัดต้ัง
วิทยาเขตข้นึ ใน 20 จงั หวดั ท่ัวประเทศ ตามนโยบายของรัฐบาลท่มี ุ่งเน้นให้เปน็ สถาบันการศึกษาระดับต่ากว่า
ปริญญาตรีให้ การศึกษาและฝึกอบรมด้านวิชาการและวิชาชีพตามหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของ
ชมุ ชน และส่งเสริมให้มีการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและกลุ่มบุคคลในชุมชน (สานกั งาน
เลขาธิการสภาการศกึ ษา, 2562: 55)

15

รปู แบบกำรเชอ่ื มโยงหลักสูตร
รปู แบบกำรเชอ่ื มโยง
1.พัฒนำหลักสตู รจำกกำรมีสว่ นร่วมแบบไตรภำค

2.พัฒนำหลักสตู รจำกกำรมีสว่ นร่วมแบบทวิภำคี
รูปแบบที่ 1

รูปแบบท่ี 2

รูปแบบท่ี 3

16

3.1 พฒั นำหลกั สูตรโดยใช้อำชวี ศกึ ษำเปน็ แกน
3.2 พัฒนำหลักสูตรโดยใช้อุดมศึกษำเปน็ แกน

3.3 พัฒนำหลักสตู รเชิงบริบท

17

กำรสรำ้ งและพฒั นำหลักสตู รเชื่อมโยงกำรศกึ ษำขนั้ พนื้ ฐำน กบั อำชวี ศึกษำ และอุดมศกึ ษำตำมบรบิ ทของ
พนื้ ที่

องค์การสหประชาชาติประจาประเทศไทย (UN Thailand) ไดเ้ ผยแพร่ "เปา้ หมายการพัฒนา
ท่ียัง่ ยืน" (Sustainable Development Goals - SDGs)

เป้ำหมำยท่ี 4 : ส่งเสริมโอกำสในกำรเรียนรู้ สร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ
อย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Ensure inclusive and
equitable quality education and promote lifelong learning opportunities for all) ครอบคลุมการ
เข้าถึงการศึกษาท่ีมีคุณภาพของเด็กชายและเด็กหญิงในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับปฐมวัย (4.2) ระดับ
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา (4.1)การเข้าถึงการศึกษาระดับเทคนิค อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึง
มหาวิทยาลัยที่จ่ายได้และมีคุณภาพสาหรับชายและหญิงทุกคน (4.3) และในภาพรวมเยาวชนทุกคน และ
ผใู้ หญ่ส่วนใหญ่สามารถอ่านออกเขียนได้และคานวณได้ (4.6) เน้นให้ขจดั ความเหล่อื มล้าทางเพศในการศกึ ษา
และการเข้าถงึ การศึกษาของผพู้ ิการ ชนพนื้ เมือง และกล่มุ เปราะบาง (4.5)

การส่งเสริมให้เพ่ิมจานวนผู้ที่มีทักษะทางเทคนิคและอาชีพสาหรับการจ้างงาน และการเป็น
ผู้ประกอบการ (4.4) และเน้นให้ทุกคนได้รับความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับส่งเสริมการพัฒนาอย่างย่ังยืน
อีกด้วย (4.7) เน้นให้มีการยกระดับอุปกรณ์ที่จาเป็นในการศึกษาให้อ่อนไหวต่อเด็ก ผู้พิการ และผู้มีเพศ
สภาวะหลากหลาย และสร้างสภาพแวดล้อมให้ปราศจากความรุนแรงต่อกลุ่มเหล่าน้ี (4.a) ขยายโอกาสด้าน
ทุนการศึกษาและการฝึกอบรมท้ังในประเทศและระหว่างประเทศ (4.b) และเพิ่มจานวนครูท่ีมีคุณภาพผ่าน
ความร่วมมือระหว่างประเทศ การพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals – MDGs) จะ
ส้ินสุดลงในปี พ.ศ. 2558 UN จึงได้ริเริ่มกระบวนการหารือเพ่ือกาหนดวาระการพัฒนาภายหลังปี พ.ศ.
2558 (post-2015 development agenda) ตามกระบวนทัศน์ “การพัฒนาท่ีย่ังยืน” โดยประเด็นสาคัญ
ของวาระการพัฒนาภายหลังปี พ.ศ. 2558 คือ การจัดทาเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable
Development Goals–SDGs)

กำรแสดงเป้ำประสงค์กำรสรำ้ งหลกั ประกนั วำ่ ทุกคนจะไดร้ บั กำรศกึ ษำท่มี ีคุณภำพ
เป้ำหมำยที่ 4
1. กำรประถมและมธั ยมศกึ ษำ
สรา้ งหลักประกนั ว่าเดก็ ชายและเด็กหญงิ ทุกคนสาเรจ็ การศึกษาระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษาที่
มีคณุ ภาพเทา่ เทียมและ ไม่มีค่าใชจ้ า่ ยนาไปสู่ผลลพั ธ์ทางการเรยี นท่ีมีประสิทธิผลภายในปี 2573
2. กำรศกึ ษำปฐมวัย
สร้างหลกั ประกันวา่ เด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเข้าถงึ การพัฒนา การดูแล และการจัดการศกึ ษาระดับ
ก่อนประถมศกึ ษาสาหรบั เดก็ ปฐมวัยที่มีคุณภาพ ภายในปี 2573 เพ่ือใหเ้ ดก็ เหลา่ นั้นมีความพรอ้ มสาหรับ
การศกึ ษาระดับประถมศึกษา
3. เทคนิคอำชีว อุดมศกึ ษำ และกำรศกึ ษำผู้ใหญ่
ใหช้ ายและหญิงทุกคนเขา้ ถงึ การศึกษาวชิ าเทคนิค อาชีวศึกษา อดุ มศกึ ษา รวมถึงมหาวิทยาลยั ที่มี
ราคาทส่ี ามารถจ่ายได้และมีคุณภาพ ภายในปี 2573

18

4. ทกั ษะสำหรับกำรทำงำน
เพม่ิ จานวนเยาวชนและผู้ใหญ่ที่มที กั ษะทีจ่ าเปน็ รวมถึงทักษะทางเทคนิคและอาชพี สาหรบั การจา้ ง
งาน การมีงานที่ดแี ละการเป็นผ้ปู ระกอบการภายในปี 2573
5. ควำมเสมอภำค
ขจดั ความเหลอื่ มล้าทางเพศในการศกึ ษาและสร้างหลักประกนั ว่ากลมุ่ ที่เปราะบางซึง่ รวมถงึ ผู้พิการ
ชนพื้นเมือง และเด็กเข้าถึงการศึกษาและการฝึกอาชพี ทุกระดับอย่างเทา่ เทยี ม ภายในปี 2573
6.กำรรู้หนังสอื และกำรคดิ คำนวณ
สร้างหลักประกันวา่ เยาวชนทกุ คนและผู้ใหญใ่ นสดั ส่วนสงู ทงั้ ชายและหญงิ สามารถอ่านออกเขยี นได้
และคานวณได้ภายในปี 2573
7.กำรพฒั นำอยำ่ งย่ังยนื และควำมเป็นพลเมืองโลก
สรา้ งหลกั ประกันวา่ ผู้เรียนทกุ คนไดร้ ับความรู้และทักษะท่ีจาเป็นสาหรับส่งเสริมการพัฒนาอยา่ ง
ยั่งยืน รวมไปถึงการศึกษาสาหรับการพัฒนาอย่างย่งั ยนื และการมีวิถชี วี ติ ทย่ี ัง่ ยนื สิทธมนษุ ยชน ความเสมอ
ภาคระหวา่ งเพศ การส่งเสริมวัฒนธรรมแห่งความสงบสขุ และไม่ใช้ความรนุ แรง การเปน็ พลเมอื งของโลกและ
ความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสว่ นรว่ มของวัฒนะธรรมต่อการพัฒนาทยี่ งั่ ยนื ภายในปี
2573
a. สิ่งอำนวยควำมสะดวกทำงกำรศกึ ษำและสภำพแวดล้อมทำงกำรเรียนรู้
สรา้ งและยกระดบั อุปกรณแ์ ละเครื่องมือทางการศึกษาที่อ่อนไหวตอ่ เดก็ ผูพ้ ิการและเพศภาวะและให้
มีสภาพแวดล้อมทางการเรยี นร้ทู ปี่ ลอดภัยปราศจากความรุนแรงครอบคลมุ และมปี ระสิทธผิ ลสาหรับทุกคน
b. ทุนกำรศกึ ษำ
เพิ่มจานวนทุนการศึกษาในทั่วโลกทใ่ี ห้ สาหรบั ประเทศกาลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศพัฒนาน้อย
ที่สดุ รัฐกาลงั พฒั นาทเี่ ป็นเกาะขนาดเล็กและประเทศในแอฟรกิ าในการสมคั รเข้าศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษา
รวมถงึ การฝึกอาชพี และโปรแกรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดา้ นเทคนิค วิศวกรรมและ
วทิ ยาศาสตร์ ในประเทศพฒั นาแล้วและประเทศกาลงั พัฒนาอืน่ ๆภายในปี 2563
c. ครู อำจำรย์
เพิ่มจานวนครทู ี่มคี ุณภาพรวมถงึ การดาเนนิ การผ่านทางความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศในการฝึกอบรม
ครูในประเทศกาลังพัฒนาเฉพาะอยา่ งยิ่งในประเทศพฒั นาน้อยท่ีสุด และรฐั กาลังพฒั นาท่ีเปน็ เกาะขนาดเล็ก
ภายในปี 2573
แนวทำงรปู แบบกำรพฒั นำหลักสูตร
การประชุมคณะกรรมการนโยบายและพัฒนาการศึกษา ครั้งท่ี 1/2559 เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม
2559 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เป็นประธานการประชุม ซึ่งนายกรัฐมนตรีได้ให้
ความสาคัญของแนวทางการขับเคล่ือนด้านการศึกษา โดยมุ่งเน้นบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วนทั้ง
ภาครัฐ เอกชน รวมถึงองค์กรประชาสังคม เพ่ือให้การพัฒนาด้านการศกึ ษามีความตอ่ เนือ่ งและเกิดความย่ังยืน
ในระยะยาวต่อไป รวมท้งั มคี วามสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศและอุตสาหกรรมไทยแลนด์ 4.0

บทบำทของสำนักงำนศกึ ษำธิกำรจังหวดั
1. การส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษารวบรวมสื่อตัวอย่างที่แสดง กระบวนการและขั้นตอน

การเป็นผู้ประกอบการ หรือนาผู้ท่ีประสบความสาเร็จในชีวิตการประกอบการ ใช้เป็นส่ือ สร้างแรงบันดานใจ

19

ให้กับนักเรียน กลุ่มพัฒนาการศึกษา มีการจัดแสดงผลงาน จัดเวทีและประชาคมของการตลาดการค้า เป็น
ระยะ เพือ่ ติดตามผลความก้าวหนา้ การเรียนรูก้ ารเปน็ ผูป้ ระกอบการสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์การพัฒนา

ประเทศและอุตสาหกรรมโดยจาแนกกล่มุ ประเภทงานตามนโยบายไทยแลนด์ 4.0 ดงั น้ี
1. กลมุ่ อาหาร เกษตร และเทคโนโลยชี วี ภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech)
2. กลมุ่ สาธารณสขุ สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness &

Bio-Med)
3. กลุม่ เคร่ืองมืออปุ กรณอ์ จั ฉรยิ ะ หนุ่ ยนต์ และระบบเคร่ืองกล ที่ใชร้ ะบบ

อเิ ล็กทรอนิกส์ควบคมุ (Smart Devices, Robotics & Mechatronics)
4. กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมต่อการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ

ปัญญาประดิษฐ์ และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว (Digital, Internet of Things, Artificial Intelligence &
Embedded Technology)

5. กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการท่ีมีมูลค่าสูง (Creative,
Culture & High Value Services)

2. การประสานความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุน ด้านความรู้เรื่องหลักสูตรอิงมาตรฐาน
รายวิชาและอิงตัวช้ีวัด รวมถึงหลักสูตรฐานสมรรถนะ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่ือมโยงกับมาตรฐานด้าน
อาชีพ มาตรฐานด้านแรงงาน ของสานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา เพ่ือให้ครูใช้เป็นองค์ประกอบ
คาอธบิ ายรายวิชา ผลการเรยี นรู้ การวัดผลให้มคี ุณภาพสูง และยอ้ นกระบวนการกลับมาออกแบบกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ให้นักเรียน นาไปใช้เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเอง นาสื่อความรู้ดังกล่าวไปสร้างเงื่อนไข
การใหค้ รไู ดศ้ ึกษาทัง้ ทางตรง และทางอิเล็กทรอนิกส์

3. ประสาน ขอความร่วมมือกับ วิทยาลัย สถาบันการศึกษา ด้านอาชีพ และมหาวทิ ยาลัยใน
ภูมิภาคจัดทาโครงสร้างเวลา และผลการเรียนรู้ที่อิง ฐานสมรรถนะในแต่ละประเภท หรือกลุ่มสาขาวิชา และ
ทาความร่วมมือกับสถานประกอบการ และกลุ่มอาชีพ อิสระ ใช้สถานประกอบการ และสถานท่ีเป็นท่ีฝึกและ
ถอดประสบการณ์

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ตอนปลาย เช่ือมโยงกับอาชีวศึกษา การพัฒนาหลักสูตรฐาน
สมรรถนะอาชีพระยะส้ัน หลักสูตรทวิศึกษา และหลักสูตร ความถนัดกลุ่มสาขาวิชาชีพระดับอุดมศึกษา การ
ทาความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีมีการจัดทาหลักสูตรฐานสมรรถนะมีการรับรองมาตรฐานสมรรถนะของ
หลักสูตรจากหน่วยงานต้นสังกัด และสามารถ ใช้วิทยากรของหน่วยงานดังกลา่ วมารว่ มจัดทีมการสอนโดยตรง
แทนการจัดหาครูผู้สอนที่มีคุณวุฒิตรงสาขาวิชาชีพ ซึ่งมีหลักสูตรฐานสมรรถนะอาชีพระยะส้ันให้เลือกจาก
วทิ ยาลัยในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ครอบคลุมท้ัง 5 ประเภทวิชาชีพ ได้แก่ อสุ าหกรรม
พาณิชยกรรม คหกรรม ศิลปกรรม และเกษตรกรรม และเป็นไปตามทิศทางการพัฒนาประเทศด้านสมรรถนะ
ทาง สาขาอาชีพภาคเกษตรกรรม ภาคอุสาหกรรม ภาคบริการ และภาควิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และ
สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของชุมชน สถานศึกษาสามารถร่วมมือกับหน่วยงานดังกล่าวข้างต้น
รว่ มกันพัฒนา จัดทาหลักสูตรขึ้นมาใช้ได้ ถือเป็นทางเลือก สาหรับหลักสูตรทวิศึกษา หรือโครงการเรียนร่วม
หลักสูตรอาชีวศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย ให้เป็นไปตามบันทกึ ความรว่ มมอื ระหว่างสถาบันการศึกษาใน
สงั กัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากบั สถานศึกษา

20

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย /อาชีวศึกษา เช่ือมโยงกับอุดมศึกษา จะต้องมีการจัดทา
โปรแกรมการ เรียนให้สอดคล้องรองรบั ความสนใจ บุคลิกภาพ และความถนัดของนักเรียน รองรับความถนัด
กับคณะและกลุ่ม สาขาวิชาชีพในการเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา โรงเรียนจาเป็นต้องทาความร่วมมือกั บ
มหาวิทยาลัยในภูมิภาค กาหนดรายวิชาฝึกและถอดประสบการณ์ความถนัดตามกลุ่มสาขาอาชีพ และกาหนด
รายวิชาความถนัดทางกลุ่ม สาขาวิชาชีพที่เป็นพ้ืนฐานของกลุ่มสาขาอาชีพ จัดทาสาระสาคัญ และผลการ
เรียนรู้ที่เปน็ พื้นฐานการเขา้ และศึกษา ในกลุ่มสาขาระดับอุดมศกึ ษาน้ัน ๆ โรงเรียนไมค่ วรกาหนดเองเพราะไม่
รสู้ าระสาคัญที่เป็นพ้ืนฐานทีส่ าคัญควรให้ มหาวทิ ยาลัยในภูมิภาครบั รองและบันทกึ ความร่วมมือกนั ในการท ำ
หลักสูตรและพัฒนากระบวนการเรียนรู้และ วัดผลประเมินผล ตามมาตรฐานท่ีสามารถส่งต่อนักเรียนเป็น
โควตาการเข้าเรียนได้ การกาหนดกลุ่มสาขาวิชาชีพใน การศึกษาระดับอุดมศึกษามี 9 กลุ่มสาขาวชาชีพ คือ
กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์กายภาพและ ชีวภาพ กลุ่มวิศวกรรมศาสตร์ กลุ่มสถาปัตยกรรม
ศาสตร์ กลมุ่ เกษตรศาสตร์ กลมุ่ บริหาร พาณิชยศาสตร์ การบัญชี การท่องเทีย่ วและการโรงแรม เศรษฐศาสตร์
กลุ่มครุศาสตร์ ศึกษาศาสตร์ พลศึกษาและสุขศึกษา กลุ่มศิลปกรรม ศาสตร์ และกลุ่มมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์

4. การนิเทศ ติดตามและประเมินผล และพาทาหรือติดตามความก้าวหน้าเป็นระยะ ๆ โดย
ศึกษานิเทศก์ หรือสร้างเกณฑ์การ ประเมินกระบวนการดาเนินงานให้ประเมินตนเอง และตรวจสอบการ
ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดทาหลักสูตรรายวิชาในวิชาเพ่ิมเติม เพ่ือสนองความต้องการ
อัตรากาลังแรงงานของจังหวัด และอาเภอ สนองตอบความสนใจ บคุ ลกิ ภาพ และความถนดั ของนกั เรียน

อวยชัย ศรีตระกูล (2557 : 63 – 66) การขับเคลื่อนศูนย์แนะแนวของเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาให้ครแู นะแนว ไดร้ ับความรู้เกยี่ วกับการศึกษาเพื่อการมีงานทาเพ่ือนากลับไปปฏิบัติตามนโยบายเช่ือ
ว่าจะส่งผลต่อสัดส่วนผู้เรียนจากการศึกษาการขับเคล่ือนนโยบายการเพิ่มปริมาณผู้เรียนอาชีวศึกษาสามัญ
ศึกษา พบว่ายังมีข้อมูลสาคัญสาคัญ ที่เป็นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนนโยบายควรทาความเข้าใจและแก้ไข
กล่าวคอื

1. ผปู้ กครอง
ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีค่านิยม ให้นักเรียนเรียนต่อมัธยมศึกษาตอนปลายให้ลูกหลานเข้า
ศึกษาจนจบปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยรวมทั้งผู้ปกครองขาดความเช่ือมั่นในสถาบันอาชีวะอันเน่ืองมาจาก
ภาพลักษณ์ท่ีปรากฏในสื่อสังคม แม้นว่าต่างจังหวัดจะมีปัญหาน้อยก็เป็นเร่ืองที่อาชีวศึกษาต้องเปล่ียน
ภาพลักษณ์ดังกล่าวครูแนะแนว ในสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาส ครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษา
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาโรงเรียนเอกชน โรงเรียนในสังกัดท้องถ่ินไว้นะน่าจะเป็นแกนหลักในการ
ปฏิบัติการประชาสัมพันธ์งานอาชีวศึกษาเชิงบวกให้กับผู้ปกครองแน่นอนว่าอาชีวศึกษาต้องร่วมมืออย่าง
เข้มแขง็ ดว้ ย
2.ครูแนะแนว ขาดการส่งเสริมการพัฒนามานาน รวมทั้งครูแนะแนวไม่เพียงพอกับจานวน
นักเรียน ขาดข้อมลู สารสนเทศในการศึกษาเพื่อการมงี านทา ขาดการสรา้ งเครือขา่ ยภายนอกเนื่องจากนโยบาย
การศกึ ษาทผ่ี า่ นมา โรงเรยี นเนน้ ให้นักเรยี นเรียนตอ่ ในมหาวิทยาลยั ปัจจุบันยงั มผี บู้ รหิ ารและครูจานวนไม่นอ้ ย
ที่มุ่งให้นักเรียน เรียนต่อสายสามัญ เพราะขาดข้อมูลเชิงบวก ด้านอาชีวศึกษา แต่ปัจจุบัน เราเห็นว่า
วิทยาลัยเทคนิค อาชีวศึกษา และสถานศึกษาหลายแห่งได้พิสูจน์ให้เห็นว่า เด็กเรียนเก่ง มีความสาเร็จ ในการ

21

เรียนต่อสายอาชีพ จานวนมาก ซ่ึงข้อมูลเหล่าน้ี ยังไม่ถึงคุณครู ผู้ปกครอง ดังนั้น เราต้องเร่งศึกษาสร้าง
เครอื ข่ายและประชาสมั พนั ธใ์ หท้ ราบ

3. สถาบันอาชีวศกึ ษา วิทยาลัยขนาดใหญม่ ีความพร้อมสูง มีนกั เรยี นเข้าไปศึกษาตอ่ จานวน
มาก ในขณะที่วิทยาลัยต่างอาเภอ จานวนมาก ต้องหานักเรียนเข้ามาเรียนทุกปี นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอน
ปลายในอาเภอเดียวกัน กับวิทยาลัยอาชีวศกึ ษาตั้งอยู่ก็ยังไม่เรียนสายอาชพี ดังน้ันภาพลักษณ์เก่าและกลยุทธ์
ใหม่ควรเป็นสิ่งท่ีต้องทาเป็นภารกิจแรก ควรออกแบบระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอาชีวศึกษาใหม่ เพ่ือให้
เด็กได้ใกล้ชิดกับครูมาก ครูแนะแนวไม่ต้องไปทาหน้าท่ีกู้เงิน กยศ.จนไม่มีเวลาให้กับนักเรียนเหมือนที่เป็นกัน
อยทู่ ั้งมัธยมศึกษาและอาชีวศกึ ษา ณ เวลาน้โี รงเรยี นมัธยมศกึ ษาต้องการความร้อู าชพี ใหก้ ับนักเรยี นในขณะที่
วิทยาลัย เทคนิคอาชีวะ การอาชีพต้องการจานวนนักเรียนมากข้ึน ช่องว่างความร่วมมือทางวิชาการและ
วิชาชีพร่วมกันอย่างมีอยู่ยังมีอยู่หน่วยงานทั้งสองฝ่ายคงต้องร่วมมือกันสร้างถนนให้เด็กเลือกทางเดินอย่าง
ถูกต้องภารกิจของสถาบันอาชีวศึกษาและสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาควรเป็นเจ้าภาพท่ีดีร่วม กันในการ
บริหารการศึกษาด้านการแนะแนวอาชีพเพื่อการมีงานทา ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพควบคู่กันไปตัว
นักเรียน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และ 6 ส่วนหนึ่งมีความมุ่งม่ัน ในการศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยก็ยังมี
จานวนไม่น้อยท่ยี ังไม่รู้ว่าตัวเองอยากทาอะไรถนัดด้านไหนและในอนาคตอยากประกอบอาชีพอะไรที่เหมาะสม
กับตนเองมากท่ีสุด มีความรู้มีความสุขในการทางานอย่างมีความสุข และสุดท้ายถูกตัดสินจากผู้ปกครอง
และเพ่ือนกลุ่มเดียวกันทาให้ไม่ประสบความสาเร็จจากการเรียน และการทางาน ดังนั้นนักเรียนต้องศึกษา
เรยี นรู้สรา้ งแรงบันดาลใจ และมีทักษะการตัดสนิ ใจให้เหมาะสมจงึ เป็นหนา้ ท่ีของครทู ี่ปรกึ ษา และครแู นะแนว
ที่ต้องขับเคล่ือนกิจกรรมแนะแนวอย่างจริงจังมากกว่าเอาคาบแนะแนวไปติว O-NETไปท่องข้อสอบหรือไปทา
อะไรทน่ี ักเรียนเบือ่ และคดิ ไมเ่ ป็น ต้องขอความร่วมมอื ผู้บริหาร มองผลสัมฤทธิ์และมองอนาคตเด็กควบคกู่ ันไป
รู้ว่าจะสร้างแรงบันดาลใจได้อย่างไรก่อน จากน้ันให้ศึกษาข้อมูลเร่ืองอาชีพว่าในอนาคตตนเองอยากทาอะไร
อาชีพเงนิ เดือนค่าตอบแทนความรู้ทักษะท่ีต้องมีคุณลักษณะพิเศษท่ีสร้างข้ึนโอกาสไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
โดยตรงท่ีไหนอยา่ งไรคาถามเหล่าน้จี ะช่วยใหเ้ ดก็ คดิ เป็นเม่ือเขาทาได้เขาจะมีความสุขกบั ทางานที่เขาชอบและ
เลอื กเอง

องค์ประกอบและภำพควำมสำเร็จของหลักสตู รที่พึงประสงค์
1.องค์ประกอบหลักสูตร
1. กาหนดรหสั รายวชิ า ชื่อวชิ า จานวนหน่วยกติ เวลาภาคทฤษฎี/ภาคปฏบิ ตั ิ
2. กาหนดจุดประสงคข์ องรายวชิ าท่ีครอบคลมุ ความรู้ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะ(จติ พิสยั ) โดย

สอดคล้องกับผลลพั ธ์การเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒอิ าชีวศกึ ษาและอุดมศึกษา
3. ระบุสมรรถนะของรายวิชา
4. คาอธิบายรายวิชา
5. แสดงผังการเช่อื มโยงของหลักสูตรฯ ทงั้ 3 ระดับ
2. ภาพความสาเรจ็ ของหลักสตู รท่ีพึงประสงค์
ขอ้ กาหนด
1. หลักสตู รฯ ต้องสอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิมาตรฐานอาชีวศกึ ษาและอดุ มศกึ ษา
2. หลักสตู รต้องสอดคล้องกบั คณุ วุฒวิ ิชาชพี หรอื สถาบนั พัฒนาฝมี อื แรงงาน

22

3. หลกั สตู รตอ้ งสอดคล้องกบั กฎหมายแรงงาน
4. หลักสูตรอยใู่ นรูปแบบวชิ าชีพระยะสน้ั หรือหลักสตู ร ปวช./ปวส. ทีม่ รี ะบบหนว่ ยกิตและ
เชอื่ มโยงกบั หลักสูตรในระดับปรญิ ญาตรี

กรอบแนวคิดกำรจัดกำรศึกษำต่อเน่อื งและเชอ่ื มโยงกำรศกึ ษำข้นั พ้นื ฐำนกับอำชวี ศึกษำและอุดมศึกษำ

Professional ระดับอดุ มศกึ ษา ระดับปวส. ทกั ษะการ
ทางาน

ระดบั อาชวี ศึกษา ระดับอุดมศกึ ษา MOU
ระดบั งานชา่ งฝมี ือ ระดับอาชวี ศกึ ษา
สายสามญั
ระดับมธั ยมศกึ ษา
งานชา่ งพ้ืนฐาน สายอาชวี ศึกษา

ระดบั ประถมศึกษา สถานประกอบการ
งานช่างเบ้อื งต้น
ภาคี เครอื ข่าย
ระดบั ปฐมวยั
รู้จักอาชีพ ออกแบบหลกั สูตร

เนอ้ื หา ทางเลอื ก
ศกึ ษาต่อ ปวช.
ปวส อุดมศึกษา

คุณลักษณะอาชพี ทกั ษะอาชีพ ความรู้เกี่ยวกับอาชีพ สมรรถนะ

23

กลไกกำรขับเคล่ือนกำรพฒั นำหลกั สตู รต่อเน่อื งและเชื่อมโยงกำรศึกษำขั้นพ้นื ฐำนกบั อำชวี ศกึ ษำและ
อดุ มศกึ ษำ

ภาค เครือขา่ ย การจัดทาหลกั สตู ร ผลผลติ

สถาบนั อาชีวศกึ ษา ข้อมูลสารสนเทศ ความร่วมมือจาก
แผนยทุ ธศาสตร์ ภาคเี ครือขา่ ย
หน่วยงานการศกึ ษาใน
จงั หวัดอบุ ลฯ หลักสูตร การจดั การศกึ ษา
เพอื่ พฒั นาผเู้ รียน
สถานประกอบการ การนเิ ทศ ติดตาม การสรา้ งสงั คมแห่งการ
ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่
องค์กร เรียนรู้
ภาคอตุ สาหกรรม รายงานผลการนิเทศฯ
สินคา้ และบรกิ าร ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ ข้อมูลสารสนเทศ
ภาคการท่องเท่ียว แผนยทุ ธศาสตร์

หลกั สตู ร
รายงานผลการนิเทศฯ
ผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดฯี

24

เคร่อื งมือท่ีใช้ในกำรเกบ็ ข้อมูล
แบบสอบผลการดาเนนิ งานโครงการส่งเสริมเวทแี ละประชาคมเพอื่ การจัดทารูปแบบและการพัฒนา

หลักสตู รต่อเนอื่ งเชอ่ื มโยงการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานกับอาชีวศึกษาและอดุ มศึกษา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 256๔

***************************************************************

คาชแี้ จง
แบบสอบฉบับน้ี เป็นการติดตามผลการดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทา

รูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรต่อเนืองเชื่อมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ.2564 แบบนิเทศ ตดิ ตามๆ ฉบบั นี้ ประกอบด้วย 6 ตอน ได้แก่

1.ข้อมูลพ้ืนฐาน
คณะทางาน/ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ/ผ้ทู รงคุณวุฒิ /ผเู้ ชย่ี วชาญจากสถาบันอืน่ และหน่วยงานที่
จดั การศกึ ษาในระดับจงั หวดั
2. ข้นั การเตรยี มการ
- การจับคสู่ ถาบันค่พู ฒั นาหลักสตู รต่อเนื่องเชอื่ มโยง Matching /เอกสาร /ปฏิทินการ
ปฏิบตั ิงาน /หนังสอื ราชการ /เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง
- การประชมุ คณะทางานวางแผนออกแบบการทางาน /แผนการดาเนินงานซึ่งแสดงใหเ้ หน็
กระบวนการสรา้ งพัฒนา คดั เลอื กหลกั สูตรเชอ่ื มโยง /ภาพกิจกรรม
3. ข้นั การดาเนนิ การ
- การสร้างพฒั นาหรอื คดั เลือกหลกั สูตรเชอื่ มโยง/การกาหนดกระบวนการในการดาเนนิ งาน
พัฒนาหลักสูตรเชื่อมโยง / ปฏิทนิ การปฏบิ ตั งิ าน /หนังสือราชการตามเอกสารทีเ่ กีย่ วขอ้ ง /ประกาศผลการ
คดั เลือกหลักสตู ร /ประกาศรายชอ่ื สถานศึกษาผู้พฒั นา
- การลงนามบนั ทึกข้อตกลงความรว่ มมือ MOU /หนงั สอื ราชการ /เอกสารที่เกี่ยวข้อง /
บันทกึ ข้อความตกลงความร่วมมอื MOU
- การดาเนินงานตามกระบวนการของการพัฒนาหลักสูตร/ปฏิทนิ การปฏิบัติงาน /หนังสือ
ราชการ /เอกสารท่ีเกีย่ วข้อง
- การอบรมสรา้ งความเข้าใจเก่ยี วกับการดาเนินโครงการผู้มสี ่วนเก่ียวขอ้ งเชน่ หน่วยงานทาง
การศึกษาผบู้ ริหารผสู้ อนภาคเี ครอื ข่าย /ปฏิทนิ การปฏิบัติงาน /ตารางการอบรม /เอกสารประกอบการอบรม
4. ขนั้ การตดิ ตามผล
การประชมุ นาเสนอแลกเปล่ียนเรยี นรู้ /คาสง่ั คณะทางานการจดั กจิ กรรมนาเสนอหลักสูตร

25

เช่ือมโยงและแลกเปล่ียนเรียนรู้ /แนวทางการจัดกิจกรรมนาเสนอ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท่ีเหมาะสม /การ
ประชาสมั พันธ์เชิญชวนภาคีเครือข่ายในการมีส่วนรว่ มจัดกิจกรรมนาเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ /การเชดิ ชเู กียรติ
หน่วยงานและสถานศึกษาผู้พัฒนาที่มผี ลการนาเสนอและแลกเปลยี่ นเรียนรู้ /ข้อมูลหลักสตู รต่อเนอ่ื งเชือ่ มโยง
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐานของสถานศึกษาผู้พฒั นาระดบั จังหวัดสถติ ทิ เี่ กยี่ วข้อง/ เอกสารเพิม่ เติม

5. ขัน้ การปรับปรุงหรือกาหนดมาตรฐาน
การประชุมและสรุปรายงานผลการดาเนนิ การ/ คณะกรรมการจดั ทาสรุปและรายงานผลการ
ดาเนินโครงการ /รายงานโครงการวจิ ัยทเี่ ปน็ แนวปฏิบัตทิ ่ีดี /เผยแพร่รายงานผลการดาเนินงาน/
เอกสารเพม่ิ เติม
6. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ุ จดุ เด่น /ขอ้ ค้นพบ/วิธีปฏิบตั ทิ ด่ี ี /จุดท่ีควรพฒั นา/ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ

26

ตอนที่ ๓

ผลการดาเนินงาน

การดาเนินงานโครงการส่งเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทารูปแบบ และแนวทางการพัฒนา

หลักสูตรต่อเนื่องเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ของสานักงานศึกษาธิการ

จังหวัดอุบลราชธานี ขอนาเสนอผลการพัฒนาหลักสูตรต่อเน่ืองเช่ือมโยงการศึกษาข้ันพื้นฐานกับอาชีวศึกษา

และอุดมศึกษาที่สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของพ้นื ที่จังหวัดอุบลราชธานี ดงั นี้

หลกั สตู รงำนสำนหตั ถศลิ ป์
ควำมเปน็ มำ

งานสานหัตถศลิ ป์ หมายถึง การสานขนึ้ รปู ปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามัดหม่ี เป็นงานช่างหรอื งานฝมี ือ
ของชาวบ้าน ท่ีประดิษฐ์เป็นเครือ่ งใช้ภายในบ้าน ใช้เป็นสิ่งของสนองความเช่ือถือทางด้านประเพณี ศาสนา
เช่นเป็นเคร่ืองบูชา ใช้เพ่ือความสวยงาม สนองความสุขทางใจและเป็นเคร่ืองมือในการประกอบอาชีพ งาน
จกั สานก็เป็นงานหัตถกรรมอีกแขนงหน่ึงท่ีมใี นชุมชน เช่นการสานหวดนง่ึ ขา้ ว การสานกระต๊บิ ขา้ ว การสาน
ไม้ไผ่ เป็นของใช้ในบ้านและของตกแต่งบ้านเช่นตะกร้าหรือภาชนะอื่น ๆ รวมถึงการสานอุปกรณ์เคร่ืองใช้ต่าง
ๆจากไม้ไผ่ได้แก่ กล่องทิชชู กล่องปากกา กล่องดินสอ เป็นอาชีพอิสระท่ีกาลังอยู่ในความสนใจ ของคน
หลายๆคน เนื่องจากการจักสานเป็นภูมิปัญญาท่ีเป็นพ้ืนฐานของสังคมไทยซึ่งสบื ทอดมาจากบรรพบุรษุ โดยใน
อดีตได้มีการใช้ ไม้ไผ่ ใบจาก ใบลาน มาทาตะกร้า กระบุง หรือของใช้สอยในครัวเรือนเป็นจานวนมาก แต่
เน่อื งจากยุคสมัยเปล่ียนไป รปู แบบการใช้งาน หรือรปู แบบผลิตภัณฑ์ ยอ่ มตอ้ งมีการปรับเปลย่ี นใหร้ ับกบั ความ
เปล่ยี นแปลง

ดว้ ยเหตุผลน้ีโรงเรียนบ้านหนองนกทาจงึ ไดน้ า การจักสานไมไ้ ผข่ ึ้นรูปปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามดั หม่ี
เป็นรายวิชาเพ่ิมเติม โดยนาลายผ้ามัดหมี่มาประยุกต์เป็นลายสาน เพื่อเป็นการอนุรักษ์ลายผ้ามัดหมี่ ท่ีเป็น
ภมู ปิ ัญญาของบรรพบรุ ุษของอาเภอเขมราฐ และทาสืบทอดกันมา จักสานเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ หัตถกรรม ที่บ่งบอก
ถงึ ความเจริญรุ่งเรืองด้าน ประเพณี วัฒนธรรมของพื้นบา้ น มกี ารสืบทอดเทคนิควธิ ีการมาหลายชว่ งอายุคน ซึ่ง
มพี ้ืนฐานการพัฒนาลวดลายในแบบต่างๆ อย่างต่อเน่ือง โดยมีพื้นฐานในการออกแบบจากสภาพการดารงชีวิต
วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ศาสนา และธรรมชาติท่ีแตกต่างกันในแต่ละยุคสมัย จักสานไม้ไผ่ เป็นศิลปะ
การจักสานท่ีมีลวดลายสวยงาม การออกแบบ สีสันของเส้นตอก ลวดลายต่าง ๆตามความตอ้ งการของลกู คา้ มี
ความละเอียดประณีต ได้มาตรฐาน คงทน สมประโยชน์ ราคาไม่แพง มีการพัฒนารูปแบบทันสมัยอย่าง
ต่อเน่ืองและเป็นสากล แตก่ ระบวนการผลิตยงั ใช้แบบดง่ั เดิม ทาให้มองเหน็ คุณคา่ และแสดงถึงเอกลักษณ์ความ
เปน็ ไทย

สภาพสังคมปัจจุบัน มนุษย์เราได้รับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรมนุษย์เพ่ิมข้ึนเรือ่ ย ๆ แต่ทรัพยากรธรรมชาติถกู ใช้ไป
อย่างรวดเร็ว และไม่เพียงพอกับจานวนประชากรที่เพ่ิมขึ้นทุกมุมโลก มนุษย์จึงประสบปัญหาต่าง ๆ ตามมา
มากมาย โดยเฉพาะด้านการดารงชีวิต และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติก็ถูกมนุษย์
ทาลายไปทาให้เกิดภาวะโลกร้อน โรงเรียนบ้านหนองนกทาจึงได้นาไม้ไผ่มาจักสานข้ึนรูปต่างๆ เช่นการสาน
ข้ึนรปู ปากกา ขนึ้ รปู แจกันและการทาเคสโทรศพั ท์ เปน็ ตน้

27

การพัฒนาหลักสูตรอาชีพจัดทาขึ้นโดยทาการศึกษา สารวจ และวางแนวทางการพัฒนาด้าน
โครงสร้างพ้ืนฐาน การนาภูมิปัญญามาต่อยอดและสร้างมูลค่า และการพัฒนาด้านการจัดการแบบบูรณาการ
โดยใช้หลกั กระบวนการ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้เกิดความเข้มแขง็ และ
ย่ังยืน ในการประกอบอาชีพ จึงได้จัดทาหลักสูตรการประกอบอาชีพการสานขึ้นรูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้า
มัดหม่ี โดยมีจุดมุ่งหมายหลักเพ่ือให้ท้องถ่ินและหน่วยงานในท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการพัฒนาอาชีพการสานขึ้น
รูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามัดหมี่ เป็นการสร้างรายได้ ลดรายจ่ายในครัวเรือนและการขยายโอกาสในการ
เข้าถึงแหล่งทุนต่าง ๆ ควบคู่กับการฟื้นฟู และอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไปพร้อมกับการพัฒนาด้าน
คุณธรรม จริยธรรม และมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการรวมกลุ่ม และสร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ใน
ชมุ ชน

หลกั กำรของหลักสูตร
การจดั การศึกษาเพอ่ื การพัฒนาอาชพี เพ่ือการมงี านทา กาหนดหลกั การไว้ดงั น้ี
1. เป็นการจัดหลักสูตรด้านหัตถกรรม ท่ีมีความยืดหยุ่น ทั้งด้านหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้

การวัดและประเมินผล เนน้ การบูรณาการให้สอดคล้องกบั รบิ ทของโรงเรยี นและชมุ ชน
2. การจัดการเรียนรู้การสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติกด้วยลายผ้ามัดหมี่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีการ

พัฒนาไปส่อู าชีพได้
3. สง่ เสริมให้มคี วามร่วมมอื ในการดาเนินงานรว่ มกบั ภาคีเครือข่าย
4. เนน้ การฝกึ ปฏบิ ัติจริงเพื่อใหผ้ ้เู รยี นเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปประกอบอาชพี ได้
5. การทาหัตถกรรมที่เปล่ียนจากแบบด้ังเดิมในปัจจุบัน ไปสู่สมัยใหม่ท่ีเน้นการบริหารการจัดการ

และเทคโนโลยีสอดคล้องกบั นโยบายไทยแลนด์ 4.0
6. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ องค์ความรู้ท่ีเชื่อมโยงจากการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ

อาชีวศกึ ษาและอุดมศกึ ษา

วัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร
หลักสูตหตั ถกรรมทอ้ งถิ่นการสานขนึ้ รปู ปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผา้ มดั หมี่ มีวัตถปุ ระสงค์ ดังตอ่ ไปนี้
1. ผเู้ รียนตัดสินใจประกอบอาชีพให้สอดคล้องกบั ศักยภาพตนเอง ชุมชน และสังคม
2. ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะเกย่ี วกบั การประกอบอาชีพ และบรหิ ารจัดการ

เกีย่ วกับการการสานขึ้นรปู ปากกาด้วยลายผา้ มดั หมี่ เป็นพ้ืนฐานไปสูก่ ารประกอบอาชีพได้
3. ผ้เู รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และจิตสานกึ ความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อ่นื และสงั คม
4. ผูเ้ รยี นสามารถประยุกต์ใช้ความรแู้ ละทักษะในสาขาวชิ าชพี สู่การปฏบิ ตั ิจริง รวมท้ัง

ประยกุ ตส์ ู่อาชีพ (มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อาชีวศึกษา)
5. ผ้เู รียนสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์เชิงประยกุ ต์ให้เกิดความรู้ และทักษะท่จี าเป็นต่อการ

ประกอบอาชีพ (มาตรฐานคุณวฒุ สิ ายอาชพี ระดบั อุดมศึกษา)

28

6. ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้เกย่ี วกับหัตถกรรมที่เปลยี่ นจากแบบดั้งเดมิ ในปัจจุบนั ไปสู่การเปน็ สมยั ใหมท่ ี่
เน้นการบรหิ ารจดั การและเทคโนโลยี (นโยบายไทยแลนด์ 4.0)

ระยะเวลำ
ระยะเวลาเรยี นตลอดหลักสตู ร จานวน 30 ชัว่ โมง

โครงสรำ้ งหลักสตู ร
หลักสูตรหตั ถกรรมทอ้ งถิ่นการทาปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามดั หม่ี มีโครงสรา้ งหลกั สตู รดงั นี้
1. ช่องทางการประกอบอาชพี การสานข้นึ รปู ปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามดั หม่ี
1.1 ความสาคญั ของการประกอบอาชีพการสานขึน้ รปู ปากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มดั หม่ี
1.2 ความเป็นไปไดใ้ นการประกอบอาชีพการสานข้ึนรปู ปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผา้ มัดหมี่
1.2.1 ความต้องการของตลาด
1.2.2 การใชแ้ รงงาน
1.2.3 การจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์
1.2.4 การเลอื กทาเลทตี่ ้งั
1.2.5 ทุน
1.3 แหลง่ เรียนรู้
1.4 ทิศทางการประกอบอาชีพ
2. ทักษะการประกอบอาชพี การสาน ขน้ึ รูปปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผ้ามัดหมี่
2.1 ขัน้ เตรียมการประกอบอาชีพการสานขน้ึ รปู ปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามดั หมี่
2.1.1 สถานท่ี / พ้ืนที่
2.1.2 วัสดุอปุ กรณ์ ท่ีใชป้ ระกอบอาชพี การสานขนึ้ รูปปากกาสานฝันดว้ ยลายผา้

มดั หม่ี
2.1.3 ความรเู้ บือ้ งต้นเกีย่ วกับการสานข้นึ รปู ปากกาสานฝันด้วยลายผา้ มัดหมี่
- จรรยาบรรณของผู้ประกอบวชิ าชีพ
- การคัดเลอื กวสั ดุ
- การวางแผน

2.2 ขัน้ ตอนการสานข้ึนรูปปากกาสานฝนั ด้วยลายผา้ มัดหม่ี
2.2.1 การออกแบบลวดลาย
2.2.2 การเลอื กตอกและสขี องตอก
2.2.3 ขั้นตอนการสาน
2.2.4 การสรา้ งมลู ค่าเพม่ิ ให้ผลิตภัณฑ์

2.3 ข้นั การฝกึ ปฏบิ ตั ิการสานข้ึนรปู ปากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มดั หมี่
3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการสานขน้ึ รูปปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผ้ามัดหมี่

29

3.1 การบรหิ ารจดั การสานข้ึนรปู ปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามดั หม่ี
3.1.1 การจดั การควบคมุ คณุ ภาพผลติ ภณั ฑ์
3.1.2 การลดต้นทนุ ในการสานขึ้นรูปปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามดั หมี่
3.1.3 การวางแผนการผลิต

3.2 การจดั การตลาดในการ สานขน้ึ รูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามัดหมี่
3.2.1 การทาฐานขอ้ มูลลกู ค้า
3.2.2 การจาหนา่ ยไปสู่ผ้บู รโิ ภค
3.2.3 การวางแผนการตลาด

3.3 การจัดการความเสี่ยง
3.3.1 การวเิ คราะห์และควบคุมความเสยี่ ง
1) การจาหน่ายปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามัดหม่ี
2) รูปแบบ ขนาด กบั ความต้องการของตลาด
3) ราคาขาย
4) คูแ่ ขง่ ขนั
3.3.2 การวางแผนการจัดการความเสี่ยง

3.4 การวางแผนการดาเนนิ งาน

4. โครงการประกอบอาชีพการสานข้นึ รปู ปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผ้ามัดหมี่
4.1 ความสาคญั ของโครงการอาชพี การสานขึน้ รปู ปากกาสานฝันด้วยลายผา้ มดั หมี่
4.2 ประโยชนข์ องโครงการอาชีพการ สานขนึ้ รปู ปากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มดั หม่ี
4.3 องคป์ ระกอบของโครงการอาชพี การสานข้ึนรูปปากกาสานฝันด้วยลายผ้ามัดหม่ี
4.4 การเขยี นโครงการอาชีพการสานข้นึ รูปปากกาสานฝนั ด้วยลายผา้ มดั หมี่
4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการ สานขึน้ รปู ปากกาสานฝนั ด้วย

ลายผา้ มัดหมี่

30

ควำมเช่ือมโครงโยงของหลักสตู ร

โครงสรำ้ ง/ ควำมเชือ่ มโยงของเน้อื หำ / หลกั สูตรในแตล่ ะระดับ
เนอื้ หำ
กำรศกึ ษำขั้นพ้นื ฐำน อำชีวศึกษำ อดุ มศกึ ษำ
ของหลักสูตร
1 (คอวพวิ เตอร์กรำฟฟกิ : (ศิลปประยกุ ต์ : ปรญิ ญำตรี/

2 ปวช/ปวส.) เทคโนโลยบี ณั ฑิต)

3 ช่องทางการประกอบ - การจัดการผลติ ภัณฑ์ - สถติ เิ พอื่ งานอาชีพ

4 อาชีพ - กลยทุ ธ์การจดั การธรุ กิจขนาดย่อม

ทกั ษะการประกอบอาชพี - การออกแบบลวดลาย - ศลิ ปะประยุกต์

อาชพี การสานขนึ้ รูป - การออกแบบผลติ ภัณฑ์

ปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผา้

มัดหม่ี

การบรหิ ารจดั การในการ - การทาแผนธรุ กิจอย่างงา่ ย - เทคโนโลยกี ารผลติ

ประกอบอาชีพการสานข้นึ - การขายสนิ คา้ ออนไลน์ - การทาแผนธรุ กจิ

รูปปากกาสานฝันด้วยลาย - การสรา้ งแบรนด์

ผ้ามดั หมี่

โครกงการประกอบอาชีพ โครงการ การสาน ข้นึ รปู

การอาชีพการสานขน้ึ รูป ปากกาสานฝนั ด้วยลายผ้า

ปากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มัดหม่ี

มดั หม่ี

รำยละเอยี ดโครงสรำ้ งหลกั สูตร หตั ถกรรมท้องถิน่

ท่ี หน่วย จุดประสงค์กำรเรยี นรู้

1 ช่องทำงกำรประกอบ 1. บอกความหมายความสาคัญของ 1.1

อำชพี อาชพี ได้ ด้วยล

2. บอกทกั ษะทจ่ี าเป็นต่อการ 1.2

ประกอบอาชีพได้ สานข

3. สามารถเลือกประกอบอาชีพได้

เหมาะสม

1.3

1.4

2 ทักษะกำรประกอบ 6.บอกนิยามและกรอบการออกแบบ 2.1

อำชีพ กำรสำนข้นึ รูป ได้ ปากก

ปำกกำสำนฝันด้วย 7.บอกคุณสมบัตขิ องนักออกแบบ 2

ลำยผำ้ มัดหม่ี ผลติ ภัณฑ์ท่ดี ไี ด้ 2

8.บอกประโยชน์ของการออกแบบ สานข

ผลิตภณั ฑไ์ ด้

31

นกำรสำนขึ้นรปู ปำกกำสำนฝันดว้ ยลำยผ้ำมดั หม่ี

สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรยี น นำ้ หนัก
คะแนน
ปฏิบตั ิ ทฤษฎี
9
ความสาคญั ของสานข้ึนรูปปากกาสานฝัน

ลายผ้ามัดหม่ี

ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพการ

ขนึ้ รูปปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผา้ มดั หม่ี

1.2.1 ความต้องการของตลาด
1.2.2 การใชแ้ รงงาน
1.2.3 การจดั หาวสั ดุ อุปกรณ์
1.2.4 การเลือกทาเลที่ตง้ั
1.2.5 ทุน
แหล่งเรยี นรู้
ทิศทางการประกอบอาชีพ

ขนั้ เตรียมการประกอบอาชีพการสานขึน้ รปู
กาสานฝนั ดว้ ยลายผา้ มดั หมี่
2.1.1 สถานท่ี / พื้นที่
2.1.2 วสั ดุอปุ กรณ์ ท่ีใช้ประกอบอาชีพการ
ขน้ึ รปู ปากกาสานฝนั ดว้ ยลายผ้ามัดหม่ี

ท่ี หน่วย จุดประสงคก์ ำรเรยี นรู้

2 ทักษะกำรประกอบ 9.บอกปจั จยั พ้ืนฐานในการออกแบบ 2

อำชีพ กำรสำนขึ้นรปู ได้ รปู ปา

ปำกกำสำนฝนั ดว้ ย 10.อธิบายขั้นตอน การสานขึ้นรูป

ลำยผ้ำมดั หม่ี ปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามัดหม่ี ได้

และสามารถบันทกึ ขน้ั ตอนการ

ทางานของตนเองได้ 2.2

ลายผ

เลอื ก

3 กำรบริหำรจัดกำรใน 2.3
กำรประกอบอำชพี ฝันดว้

3.1
สานฝ

32

สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรียน น้ำหนัก
ปฏิบัติ ทฤษฎี คะแนน
2.1.3 ความร้เู บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั การสานขน้ึ
ากกาสานฝันด้วยลายผ้ามดั หมี่ 46

- จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวชิ าชพี
- การคดั เลือกวสั ดุ
- การวางแผน
ขัน้ ตอน การสานขึ้นรูปปากกาสานฝันด้วย
ผา้ มัดหมี่
2.2.1 การออกแบบลวดลาย
2.2.2 การเลือกตอกสาน เลือกสี
กขนาด
2.2.3 ข้ันตอนการสาน
2.2.4 การสรา้ งมูลคา่ เพิ่มให้ผลิตภัณฑ์
ขัน้ การฝกึ ปฏิบัติการสานข้นึ รูปปากกาสาน
วยลายผ้ามัดหมี่
การบริหารจัดการ การสานขึน้ รูปปากกา
ฝนั ด้วยลายผ้ามดั หม่ี

ท่ี หน่วย จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้

3 กำรสำนขน้ึ รปู 11.บอกความหมายและองค์ประกอบ 3

ปำกกำสำนฝนั ด้วย ของแผนธุรกิจได้

ลำยผ้ำมัดหม่ี 12.สามารถทาแผนธุรกจิ ได้ ปากก

13.บอกความหมายและววิ ัฒนาการ

ของการตลาดได้ (จดุ ค

14. วิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มทาง 3.2

การตลาดและพฤตกิ รรมผู้บริโภคได้

15. บอกความเป็นมาและความหมาย

ของคณุ ภาพได้ ลายผ

16.บอกแนวคดิ และความหมายสว่ น

ประสมการตลาดตามหลกั การได้ 3.3

17. บอกความเป็นมาและ

ความหมายของคุณภาพได้

18. บอกความสาคญั ของคุณภาพ

และการเพม่ิ ผลผลติ ได้ ของต

19. บอกแนวคิดหลักการสาคัญ

จดั ทาระบบการบริหารงานคุณภาพ รายจ

(QMP)ได้

33

สำระกำรเรียนรู้ เวลำเรียน น้ำหนัก
ปฏิบตั ิ ทฤษฎี คะแนน
3.1.1 การจดั การควบคุมคุณภาพผลิตภณั ฑ์
3.1.2 การลดต้นทุนในการสานข้นึ รูป 15
กาสานฝันด้วยลายผา้ มัดหมี่
3.1.3 การวางแผนการผลติ อย่างงา่ ย
คมุ้ ทุน ปรมิ าณคุ้มทนุ )
การจัดการตลาด และการวางแผนการตลาด
3.2.1 การทาฐานข้อมูลลกู คา้
3.2.2 การจาหน่ายปากกาสานฝันดว้ ย
ผ้ามัดหมี่
3.2.3 การวางแผนการตลาดอย่างา่ ย
การจดั การความเสีย่ ง
3.3.1 การวิเคราะหแ์ ละควบคมุ ความเส่ียง

1) อคี อมเมิร์ส
2) รปู แบบ ขนาด กับความต้องการ
ตลาด
3) การต้งั ราคา การคานวณต้นทุน รายรับ
จา่ ย

ที่ หน่วย จดุ ประสงคก์ ำรเรียนรู้

4 โครงกำรประกอบ 3.4
อำชีพ กำรสำนขึ้น 3.5
รูปปำกกำสำนฝนั 3.6
ด้วยลำยผ้ำมัดหม่ี
4.1
รปู ปา
4.2
ปากก
4.3
รูปปา
4.4
ปากก
4.5
ของโ
ลายผ

34

สำระกำรเรยี นรู้ เวลำเรยี น นำ้ หนัก
ปฏิบตั ิ ทฤษฎี คะแนน
4) คู่แข่งขนั
3.3.2 การวางแผนการจดั การความเสีย่ ง 10
การควบคมุ คณุ ภาพ
การสรา้ งแบรนด์
การเขยี นแผนธุรกิจอยา่ งง่าย
ความสาคัญของโครงการอาชพี การสานขึน้
ากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มัดหม่ี
ประโยชนข์ องโครงการอาชพี การสานขึน้ รปู
กาสานฝนั ด้วยลายผา้ มดั หมี่
องค์ประกอบของโครงการอาชพี การสานขึน้
ากกาสานฝันดว้ ยลายผา้ มดั หมี่
การเขียนโครงการอาชีพการสานข้นึ รปู
กาสานฝนั ด้วยลายผ้ามดั หม่ี
การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้อง
โครงการ การสานขน้ึ รปู ปากกาสานฝนั ด้วย
ผ้ามดั หมี่

35

แนวทำงกำรนำหลกั ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียงมำใช้ในกำรจัดกำรเรยี นกำรสอนกำรสำนขึ้นรปู ปำกกำสำนฝัน
ด้วยลำยผำ้ มัดหมี่

เงื่อนไขส่คู วำมพอเพียง

เงื่อนไขควำมรู้ เงือ่ นไขคุณธรรม

1.บอกความหมายความสาคัญของอาชพี ได้ 1. ทางานรว่ มกนั อยา่ งมคี วามสขุ

2.บอกความสาคัญและคุณลักษณะของการจัดการอาชพี ได้ 2. มคี วามรับผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ บั มอบหมาย

3.บอกทกั ษะท่จี าเป็นต่อการประกอบอาชีพได้ 3. มีความอดทน มุ่งม่ันต่อการทางานให้สาเรจ็

4.บอกจรยิ ธรรมและจรรยาบรรณของนักธรุ กิจได้ 4. มนี า้ ใจชว่ ยเหลือกนั และกันในการทางาน

5.สามารถเลือกประกอบอาชพี ได้เหมาะสม 5. รูจ้ ักแบ่งปนั วัสดุอุปกรณ์ในการทางาน

6.บอกนยิ ามและกรอบการออกแบบได้ 6. แบง่ ปันความรู้และประสบการณ์

7.บอกคณุ สมบตั ขิ องนักออกแบบผลิตภัณฑ์ทดี่ ีได้

8.บอกประโยชนข์ องการออกแบบผลิตภัณฑไ์ ด้

9.บอกปัจจัยพ้นื ฐานในการออกแบบได้

10.อธิบายข้ันตอนการสานข้ึนรปู ปากกาสานฝนั ดว้ ยลาย

ผา้ มัดหมี่ ได้ และสามารถบันทึกขัน้ ตอนการทางานของ

ตนเองได้

11.บอกความหมายและองค์ประกอบของแผนธรุ กิจได้

12.สามารถทาแผนธุรกจิ ได้

13.บอกความหมายและวิวฒั นาการของการตลาดได้

14. วเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มทางการตลาดและพฤตกิ รรม

ผบู้ ริโภคได้

15. บอกความเปน็ มาและความหมายของคุณภาพได้

16.บอกแนวคดิ และความหมายส่วนประสมการตลาด

ตามหลกั การได้

17. บอกความเปน็ มาและความหมายของคุณภาพได้

18. บอกความสาคญั ของคณุ ภาพและการเพ่ิมผลผลติ ได้

19. บอกแนวคิดหลกั การสาคัญจดั ทาระบบการ

บริหารงานคุณภาพ (QMP)ได้

36

หลกั พอเพยี ง

ควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล กำรสรำ้ งภมู ิคมุ้ กนั ที่ดี

-การใช้อุปกรณ์ในการสานข้นึ รูป -นักเรียนสามารถฝกึ ปฏิบตั ิได้ครบ -จัดเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์ไว้ลว่ งหนา้ ให้
เพียงพอกับจานวนนักเรยี นท่ีฝกึ ปฏบิ ัติ
ปากกาสานฝันดว้ ยลายผ้ามดั หมี่ ทุกคน -ศกึ ษาข้นั ตอนการออกแบบรูปแบบและ
ลวดลายผลิตภณั ฑ์ทีจ่ ะปฏบิ ัติให้เข้าใจ
เพยี งพอต่อจานวนนกั เรียนท่ีปฏิบตั ิ -นักเรยี นสามารถสานผลติ ภัณฑ์ได้ -จัดเตรยี มวสั ดอุ ปุ กรณ์ให้พร้อมก่อนการ
ลงมือฝกึ ปฏิบัติ
-รูปแบบลวดลายผลติ ภัณฑ์ สวยงาม

เหมาะสมกบั วัยและความสามารถ -นักเรยี นมีความภาคภูมิใจใจน

ของนักเรยี น ผลงานของตนเอง

- -นกั เรยี นสามารถสานผลิตภณั ฑ์ได้

เสรจ็ ทนั เวลา

-นักเรยี นสามารถเพมิ่ มลู คา่ ของ

ผลติ ภัณฑไ์ ด้

เปำ้ หมำยสมดลุ และพรอ้ มกำรเปล่ียนแปลงใน 4 มิติ

ดำ้ นวัตถุ ดำ้ นสังคม ดำ้ นสงิ่ แวดลอ้ ม ด้ำนวฒั นธรรม

-มที ักษะในการใชว้ ัสดุ -มีความรบั ผิดชอบ มี -นาวัสดทุ ีเ่ ปน็ มติ รกับ -เปน็ การนาภูมปิ ญั ญา
อปุ กรณ์อยา่ งประหยัด ความมุ่งม่ันทางานจน สงิ่ แวดลอ้ มมาใชอ้ ยา่ ง ทอ้ งถ่นิ มาใช้
และคุม้ คา่ สาเรจ็ ประหยัดและคุม้ ค่า



37


Click to View FlipBook Version