The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by opol555, 2021-09-14 02:28:00

book original_Sep 13

นักเรียนทุน “ม.น.ข.” และ “นวฤกษ์”

จบการศึกษาแบ่งตามภาค

ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ – ๒๕๖๓







ภาคเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


๒๓.๐๗%
๑๙๗ คน ๒๕.๐๖%
๒๑๔ คน









ภาคกลาง




๓๗.๕๙%
๓๒๑ คน







๔.๖๘%
๔๐ คน

ภาคตะวันออก
๙.๖๐%
๘๒ คน


ภาคใต ้

๒๗

นักเรียนทุน“ม.น.ข.” และ “นวฤกษ์”

ส าเร็จการศึกษาวิชาชีพต่างๆ

ปีพุทธศักราช ๒๕๔๕ – ๒๕๖๓










แพทยศาสตร์
และวิชาเกี่ยวข้องกับสุขภาพ
๒๒.๐๑%
วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์
และเทคโนโลยี
๑๖.๔๙%




วิศวกรรมศาสตร์
๑๑.๖๓%
วิชาอื่นๆ
๗.๖๕%
นิติศาสตร์
เกษตรศาสตร์ ๑.๗๕%
วนศาสตร์และการประมง
๕.๕๒% สังคมศาสตร์
๑๓.๙๘%
ศึกษาศาสตร์และฝึกหัดครู
๑๓.๙๘% วิจิตรศิลป์ และประยุกต์ศิลป ์
มนุษยศาสตร์ ๐.๗๑%
ศาสนาและเทววิทยา
๖.๒๕%









๒๘

๖๐ ปี ม.น.ข. ให้โอกาสทางการศึกษา









ด้วยความมุ่งมั่นและกตเวทิตาต่อปณิธานการก่อตั้งมูลนิธิช่วย
นักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ท าให้นักเรียนทุนมี

โอกาสได้รับความส าเร็จในการเล่าเรียน มีการด าเนินชีวิตที่มั่นคง มี
ต าแหน่งหน้าที่การงานที่ดีและมีโอกาสรับใช้สังคมในทุกระดับ

รวมทั้งมีส่วนร่วมในการตั้งกองทุนที่ส่งมอบโอกาสแก่นักเรียนทุนใน
รุ่นต่อ ๆ มา ดังตัวอย่างของนักเรียนทุน ๖ คน ต่อไปนี้











































๒๙



นายประสงค์ ธาราไชย
นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗


“นักเรียนทุนที่ขาดแคลน ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่ ทุนการศึกษาแก่รุ่นน้องต่อไป และจาก
การเป็นประธานกรรมการบริษัท โปรเจค แบบอย่างที่ดีนี้ ท าให้นักเรียนเก่าทุน
แพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด (มหาชน) บริษัท “ม.น.ข.” รุ่นหลังๆ เจริญรอยตามรุ่นพี่
พีพีเอส ดีไซน์ จ ากัด และเป็นประธาน รวบรวมเงินบริจาคสมทบทุน “ทุนนักเรียน
กรรมการจรรยาบรรณสภาวิศวกรในปี เก่า ม.น.ข.” เป็นประจ าทุกปีจนถึงปัจจุบัน
พุทธศักราช ๒๕๖๓ - ปัจจุบัน” ได้ช่วยเหลือรุ่นน้องที่ขาดแคลนทุนทรัพย์

คุณประสงค์ เป็นนักเรียนทุน “ม.น.ข.” รุ่น ต่อเนื่องมาแล้ว ๕๒ ปี
ที่ ๒ เริ่มรับทุนเมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๐๗ การท างานเป็นวิศวกรภาคสนามหลายปี ท า
คุณประสงค์เป็นคนเรียนเก่ง สอบเข้าเรียน ให้คุณประสงค์มีความรู้และประสบการณ์
ได้ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มากขึ้น จึงได้แต่งต าราวิชาการโดยรวบรวม
มหาวิทยาลัย จบปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ จากประสบการณ์ของตนเองออกจ าหน่าย
บัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา (เกียรตินิยม) น ารายได้บริจาคให้แก่มูลนิธิฯหลายครั้ง
จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี นอกจากนั้นยังได้จัดตั้งทุนการศึกษาในนาม
พุทธศักราช ๒๕๑๑ เข้าเรียนต่อสถาบัน ของมารดา “ทุนเสงี่ยม ธาราไชย” และใน
เทคโนโลยีแห่งเอเชีย (A.I.T.) รับปริญญา นามบริษัทตนเอง “ทุน PPS กรุ๊ป” และได้
วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิตในปี ชักชวนเพื่อนร่วมรุ่นจัดตั้งทุนการศึกษาใน
พุทธศักราช ๒๕๑๔ นาม “ทุนวิศวฯ จุฬาฯ รุ่นเข้าปี ๐๗” อีก
ด้วย
ทันทีที่เรียนจบจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คุณประสงค์เริ่มท างานเป็นวิศวกรภาคสนาม คุณประสงค์ ได้เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการ
เมื่อเริ่มมีรายได้ก็ได้รับแรงบันดาลใจจากคุณ บริหาร ม.น.ข. หลายสมัย เคยด ารง
สมศักดิ์ สงวนหมู่ ต าแหน่งอุปนายกคณะกรรมการบริหาร เคย
อดีตนักเรียนทุน ช่วยเหลือ ม.น.ข. ในการจัดแข่งขันกอล์ฟ
“ม.น.ข.” รุ่นแรก การกุศลเพื่อจัดหาทุนให้มูลนิธิฯ หลายครั้ง
ชักชวนนักเรียนทุน ปัจจุบัน คุณประสงค์ เป็นประธานกรรมการ
ที่จบการศึกษาแล้ว บริษัท โปรเจค แพลนนิ่ง เซอร์วิส จ ากัด
คนอื่นๆ บริจาค (มหาชน) และ บริษัท พีพีเอส ดีไซน์ จ ากัด
เงินคนละเล็กละ มีผลงานทั้งทางด้านวิศวกรรมโยธา
น้อย รวบรวมน าไป โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ของทั้งภาครัฐ
มอบให้มูลนิธิฯ ใน และเอกชน และยังมีต าแหน่งในสังคม ที่
ปีพุทธศักราช ท างานเพื่อส่วนรวม อีกมากมาย
๒๕๑๒ เพื่อให้เป็น


๓๐

นายสุประวัติ ใจสมทร ๒

นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๑๒


ี่
“คุณสุประวัติ เป็นทนายความคนแรก ผลงานทคุณสุประวัติภาคภูมิใจอย่างยิ่ง คือ
ที่รัฐบาลจ้างว่าความคดีฉ้อโกงคลองด่าน การที่เป็นทนายความคนแรกที่รัฐบาลจ้างว่า
เป็นผลให้รัฐบาลไม่ต้องจ่าย “ค่าโง่คลอง ความคดีฉ้อโกงคลองด่าน จนศาลฎีกา
ด่าน” ๑๒,๐๐๐ ล้านบาท” พิพากษาลงโทษจ าเลยทั้ง ๑๘ คน และเป็น
ผลให้รัฐบาลไม่ต้องจ่าย “ค่าโง่คลองด่าน”
คุณสุประวัติ เข้าเรียนที่ภาควิชานิติศาสตร์
ในคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เงินต้นพร้อมดอกเบี้ย รวม ๑๒,๐๐๐ ล้าน
(สิงห์ด า รุ่นที่ ๒๒) และรับทุน “ม.น.ข.” บาท
ของบริษัท เสริมสุข จ ากัด รุ่นปีพุทธศักราช ผลงานล่าสุด ได้เขียนหนังสือ “เรื่องเล่า
๒๕๑๒ คุณสุประวัติ เป็นคนเรียนเก่งมาก เกร็ดมหากาพย์คลองด่าน” ออกจ าหน่าย
ในระดับปริญญาตรี สอบได้คะแนนยอด ในราคาถูกเพื่อเป็นความรู้แก่คนทั่วไป
เยี่ยมเหรียญทอง ชั้นปีที่ ๑ และปีที่ ๓ ของ คุณสุประวัติได้น ารายได้จากการขายหนังสือ
คณะรัฐศาสตร์ และได้รับปริญญานิติศาสตร์ ดังกล่าวบริจาคให้แก่มูลนิธิช่วยนักเรียนที่
บัณฑิต (เกียรตินิยม) จากจุฬาลงกรณ์ ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์
มหาวิทยาลัย พร้อมสอบเนติบัณฑิตไทย ได้ ปัจจุบัน คุณสุประวัติ เป็นประธานบริหาร
ล าดับที่ (สมัยที่๒๕) ในปีเดียวกัน

ส านักกฎหมาย บริษัท สุประวัติอินเตอร์
(ปีพุทธศักราช ๒๕๑๖) เนชั่นแนล คอนซัลแตนท์ จ ากัด ซึ่งจด
คุณสุประวัติ สอบเป็นอัยการได้ปี ทะเบียนจัดตั้งมาครบ ๓๐ปี เมื่อเดือน
พุทธศักราช ๒๕๑๙ และสอบชิงทุน มีนาคม ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ไป
เรียนปริญญาโทด้านกฎหมายต่อ
ณ Howard University, Master of
Criminal Justice ประเทศสหรัฐอเมริกา .
หลังจบการศึกษาก็กลับมาเป็นอัยการ
ต่อจากนั้นได้ผันตัวเองมาเป็นทนายความ
เป็นเวลาเกือบ ๔๐ ปี












๓๑



ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์ วิทเชษฐ พิชัยศักดิ์
นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๑๘

“นายแพทย์ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็น งานช่วยเหลือมูลนิธิฯ คุณหมอวิทเชษฐได้
“ศาสตราจารย์คลินิก” จากสภา เข้ามาร่วมเป็นกรรมการในคณะกรรมการ
มหาวิทยาลัยมหิดล ต าแหน่งส าหรับผู้มี บริหารมูลนิธิฯ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ -
ประสบการณ์ภาคปฏิบัติอย่างมากในสาขา ๒๕๖๔ และจากการที่คุณหมอวิทเชษฐ
ที่เชี่ยวชาญ นอกจากนั้นยังเป็นผู้มี มีความสามารถพิเศษในการวาดรูป ได้รู้จัก
พรสวรรค์ในงานด้านศิลปะแขนงต่างๆ” ศิลปินที่มีชื่อเสียงหลายท่าน คุณหมอ
วิทเชษฐ ได้จัดแสดงนิทรรศการภาพเขียน
คุณหมอวิทเชษฐ จบการศึกษาแพทยศาสตร์
บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลปี ของศิลปินต่างๆ ในงานห้าทศวรรษ ม.น.ข.
พุทธศักราช ๒๕๒๔ หลังจากจบการศึกษา เมื่อวันที่ ๕ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔
เป็นแพทย์อย่างสมบูรณ์ คุณหมอวิทเชษฐได้ เพื่อจ าหน่ายภาพเขียนน ารายได้บริจาคแก่
เริ่มท างานเป็นแพทย์ประจ าอ าเภอขนาด มูลนิธิฯ
๓๐ เตียง ที่โรงพยาบาลพนมสารคาม ในวาระครบ ๖๐ ปี ม.น.ข. คุณหมอวิทเชษฐ
จังหวัดฉะเชิงเทรา ต้องท าทุกอย่างเอง ได้อาสาจัดนิทรรศการภาพวาดสีน ้าของ
ทั้งหมด รวมทั้งการร่วมออกหน่วยแพทย์ ศิลปิน “ชมรมสรรค์ศิลป์ศิริราช” และ
เคลื่อนที่ พอ.สว. (มูลนิธิแพทย์อาสาสมเด็จ จ าหน่ายเพื่อน ารายได้มอบให้มูลนิธิฯ เมื่อ
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี) ช่วงปี ปลายเดือนตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ เพื่อ
พุทธศักราช ๒๕๒๔ ถึง ปีพุทธศักราช ร่วมฉลองในวาระ ๖๐ ปี ม.น.ข. เป็นเงิน
๒๕๒๖ จากนั้นได้ไปศึกษาต่อที่ประเทศ ๖๐๐,๐๐๐ บาท อีกด้วย
ญี่ปุ่น หลักสูตร Spine surgery and
biomaterial research fellow ที่ Niigara
University ประเทศญี่ปุ่น แล้วกลับมาเป็น
แพทย์ออร์โธปิดิคส์ ที่โรงพยาบาลสิงห์บุรี
เป็นเวลาอีก ๓ ปี หลังจากนั้นจึงมาเป็น
อาจารย์หมอที่โรงพยาบาลศิริราช ดูแล
นักศึกษาแพทย์และเป็นที่ปรึกษาให้
นักศึกษาแพทย์ทั้งด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา
และกิจกรรมนักศึกษาอื่นๆ

เพื่อให้เป็นอาจารย์หมอที่สมบูรญ์แบบ คุณ
หมอวิทเชษฐได้ไปศึกษาต่อปริญญาโทด้าน
การบริหารการศึกษา และได้รับปริญญา
ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต จากมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๕

๓๒

แพทย์หญิงชัญวลี ศรีสุโข ๔

นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๑๙


“เด็กก าพร้าสอบเข้า เป็นเงินก้อนแรกที่ฉันร้สึกว่ามันมาก มีหนังสือ
แพทย์ได้แต่ไม่มีเงินเรียน ของเจ้าของทุนเขียนมา ท่านชื่อ คุณหญิง
ได้รับทุนคุณหญิงสมหญิง สมหญิง โปษยานนท์ อนุญาตให้ฉันเรียกแม่ มี
โปษยานนท์เจ้าของทุนผู้ เงินเดือนอีกเดือนละ ๑,๐๐๐ บาท หากมีอะไร
บริจาคให้แก่มูลนิธิช่วย ต้องซื้อเพิ่มให้แจ้งได้ จึงเป็นวันแรกที่ฉันซื้อ
นักเรียนที่ขาดแคลน ใน นมสดกับเค้กกล้วยหอมกิน และรู้สึกว่ามัน
พระบรมราชินูปถัมภ์ สู่การ อร่อยเหลือเกิน
เป็นสูตินรีแพทย์ แพทย์ ทุน ม.น.ข. จึงชุบชีวิตของฉันเพราะนอกจาก
เชี่ยวชาญ (นายแพทย์ ๙) เงินทองที่มีเพียงพอในการใช้จ่าย คุณหญิง
โรงพยาบาลพิจิตร” สมหญิง โปษยานนท์ เจ้าของทุนได้มาหา มา
เมื่อวันที่ ๒๖ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๓ ดูแลสารทุกข์ สุขดิบ ครั้งแรกที่เจอกัน ท่านให้
เนื่องในวาระวันครบรอบการจากไปของ คนขับรถมารับฉันขึ้นต าหนักภูพิงค์ราชนิเวศน ์
คุณหญิงสมหญิง โปษยานนท์ ผู้เป็นเจ้าของทุน ท่านตามเสด็จในฐานะนางสนองพระโอษฐ์

“ม.น.ข.” ที่คุณหมอชัญวลีหรือหมอหวิว ได้รับ เมื่อเห็นฉันสวมเสื้อนักศึกษาโดยไม่มเสื้อหนาว
จนจบการศึกษา เพื่อเป็นการร าลึกถึงท่าน ในอุณหภูมิ ๑๕ องศา ท่านอุทานและน ้าตา
หมอหวิวได้โพสต์ข้อความลงในเฟสบุ๊ค ดังนี้ ไหล หยิบเสื้อหนาวให้ฉันสวมใส่ทันที หลังจาก
ั้
“พ.ศ.๒๕๑๙ ฉันสอบเข้าคณะแพทย ์ นนท่านอุปถัมภ์ทุกอย่าง ให้ไปหา ไปพักที่บ้าน
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ แต่ไม่มีใครส่งเรียน สอนเรื่องการใช้ชีวิตที่เป็นประโยชน์ อบรม
เฝ้าเขียนจดหมายขอทุนไปยังมูลนิธิต่างๆด้วย มารยาท จนฉันจบเป็นแพทย์อย่างภาคภูมิ
ตนเอง แต่ไม่มีตอบกลับ ฉันร้องไห้กลับมาที่ เมื่อจบฉันยังไปเยี่ยมท่านทุกปี มีจดหมายถึง
โรงเรียนวัฒโนทัยพายัพ อาจารย์สมาคมศิษย์ ท่านทุกเดือน
เก่าได้ให้ฉันเขียนจดหมายขอทุนมูลนิธิช่วย ท่านจากไปในเดือนตุลาคม ปี พ.ศ. ๒๕๕๘
นักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ หลายสิ่งหลายอย่างที่ราชวงศ์ท า ไม่ได้
(ม.น.ข.) โดยปั๊มตราโรงเรียนและอาจารย์เซ็น ประกาศให้ใครทราบ ฉันขอเป็นผู้หนึ่งซึ่ง
รับรอง เป็นพยานยืนยันการปิดทองฐานพระของ
มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรม
ไปเรียนวันแรก ฉันไม่มีชุดนักศึกษา ไม่มีเงิน ราชินูปถัมภ์ โดยมีคุณหญิงสมหญิง
ค่าลงทะเบียน ไม่มีเงินค่าหอ ไม่มีแม้แต่ตังค์กิน โปษยานนท์ เป็นผู้รับสนอง”
ข้าว อาจารย์เกษม วัฒนชัย พาไปหาคุณนาย


ลัดดาเพื่อขอทุนการศึกษา ในวันนั้นคุณนายให้ ปจจุบัน คุณหมอหวิว เป็นสูต-นรีแพทย์ แผนก

ทุนเดือนละ ๕๐๐ บาท ตอนนั้นมีกฎว่า ขอได้ สูติ-นรเวชกรรม แพทย์เชี่ยวชาญ (นายแพทย ์
ทุนเดียว เงินจ านวนนี้อาจพอค่าอาหารต่อ ๙) โรงพยาบาลพิจิตร จังหวัดพิจิตร เป็น
เดือน แต่ไม่เพียงพอค่าลงทะเบียนและอื่นๆ กรรมการแพทยสภา ปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ -
๒๕๖๒ และ ๒๕๖๒ - ๒๕๖๔ มีความสามารถ
๑ สัปดาห์ต่อมาทุนจาก ม.น.ข. ก็มาถึงมีทั้ง พิเศษด้านวรรณกรรมและการสื่อสารจนได้รับ
ค่าลงทะเบียน ค่าเสื้อผ้า ค่าอาหารค่าหนังสือ รางวัลมากมาย

๓๓



รองศาสตราจารย์ ดร. รังสิมันต์ สุนทรไชยา
นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๒๕



“การได้รับทุน “ม.น.ข.” เป็นการจุด ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (จิตวิทยา
ประกายของเส้นทางการศึกษาวิชาความรู้ พัฒนาการ) แล้วเข้ารับราชการที่คณะ
ของประชาชนชาวไทยอย่างแท้จริง หาก พยาบาลศาสตร์ศิริราช มหาวิทยาลัยมหิดล
ไม่มีทุน “ม.น.ข.” ในวันนั้น คงไม่มีบุคคล ท างานได้ประมาณ ๓ ปี ได้รับทุน
ที่ได้รับทุนการศึกษาต่างๆ ในวันนี้อย่าง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ไป
แน่นอน” เรียนต่อปริญญาโทและเอก สาขาพยาบาล-
ศาสตร์ ณ Virginia Commonwealth
. University และ University of Illinois ที่
Chicago ประเทศสหรัฐอเมริกา ในด้านการ
พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ
หลังจากท างานได้ ๑๕ ปี ก็ได้รับทุน
Fulbright ไปท าการสอนและวิจัยที่
Florida Atlantic University ป ร ะ เ ทศ
สหรัฐอเมริกา

ดร.รังสิมันต์กล่าวว่า “การได้รับทุน
“ม.น.ข.” เป็นการจุดประกายของเส้นทาง
การศึกษาวิชาความรู้ของประชาชนชาว
ไทยอย่างแท้จริง หากไม่มีทุน “ม.น.ข.”
ในวันนั้น คงไม่มีบุคคลที่ได้รับทุนการ
ศึกษาต่างๆ ในวันนี้อย่างแน่นอน”
ดร.รังสิมันต์ เป็นนักเรียนทุนมาตลอดตั้งแต่ ด้วยความประทับใจที่ได้เป็นนักเรียนทุน
ระดับประถมศึกษาจนถึงระดับปริญญา “ม.น.ข.” และความซาบซึ้งในบุญคุณของ
บัณฑิต จนได้รับปริญญาวิทยาศาสตร์ มูลนิธิฯ ดร.รังสิมันต์จึงร่วมบริจาคเงิน
บัณฑิตสาขาการพยาบาลและผดุงครรภ์ สมทบ “ทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข.” เป็น
จากคณะพยาบาลศาสตร์ ศิริราชพยาบาล ประจ าอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยมหิดล และเข้ารับราชการเป็น
พยาบาลประจ าการ ณ โรงพยาบาลศิริราช ปัจจุบัน ดร.รังสิมันต์ เป็นรองศาสตราจารย์
ต่อมาเข้าศึกษาต่อที่คณะครุศาสตร์ ท างานอยู่ที่ คณะพยาบาลศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จนได้รับปริญญา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต และ
ยังเป็นคณะอนุกรรมการจริยธรรมการท า
วิจัยในคนชุดที่๑ และหน่วยวิจัยทางคลินิก
คณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

๓๔

นางสาวจันแก้ว ชัยรัตน์ ๖

นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๒๖



“การได้รับทุน “ม.น.ข.” ได้น าไปสู่การ ในระหว่างที่เรียนในมหาวิทยาลัยได้
เป็นครูผู้สร้างความฝันของลูกศิษย์ให้เป็น พยายามช่วยตัวเอง ท างานหารายได้ไปด้วย
จริง เป็นครูช านาญการพิเศษซึ่งทุ่มเททั้ง โดยการเป็นพนักงานขายของร้านค้าสหกรณ์
ชีวิตสอนเด็กในชนบทยาวนานกว่า ของมหาวิทยาลัย ได้ค่าจ้างวันละ ๓๐ บาท
๓๔ ปี” บางทีก็ไปช่วยเลี้ยงลูกให้อาจารย์ ท่านก็ให้
ค่าขนมวันละ ๑๐๐ บาท เป็นต้น

. ครูจันแก้วได้รับการบรรจุเป็นครูที่โรงเรียน
บ้านโชคชัยพัฒนา อ าเภอคลองลาน จังหวัด
ก าแพงเพชร ในปีพุทธศักราช ๒๕๒๙ และ
ได้ย้ายไปสอนที่โรงเรียนบ้านช่องแคบ
อ าเภอพบพระ จังหวัดตาก ในปีพุทธศักราช
๒๕๓๑ หลังจากนั้นได้ย้ายไปสอนอีก ๓
โรงเรียน ภายในจังหวัดตาก

ครูจันแก้วมีความเห็นว่า ทุน “ม.น.ข.” ควร
มีต่อไป เพราะ เป็นการช่วยเหลือนักเรียนที่
มีปัญหาด้านการเงินที่จะน าไปใช้ใน
การศึกษาต่อ ครูจันแก้วจึงช่วยสนับสนุน
บริจาคเงินเข้ากองทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข.
เป็นประจ าทุกป ี

ปัจจุบัน ครูจันแก้ว สอนอยู่ที่โรงเรียน
ครูจันแก้ว มาจากครอบครัวที่มีฐานะยากจน สรรพวิทยาคม อ าเภอแม่สอด จังหวัดตาก
พ่อแม่มีลูกรวมกัน ๙ คน ตอนเรียนอยู่ รวมระยะเวลาการเป็นครูในชนบท ยาวนาน
มัธยมศึกษาปีที่ ๕ ได้โควตาเรียนต่อระดับ ถึง ๓๔ ปี มีความภาคภูมิใจที่ได้อบรม สั่ง
ปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สอนลูกศิษย์มาเป็นระยะเวลายาวนาน ให้
พิษณุโลก สาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ และ ลูกศิษย์ประสบความส าเร็จสู่ฝันในหน้าที่
ได้รับทุนการศึกษา “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช การงาน และสามารถด ารงชีวิตอยู่ในสังคม
๒๕๒๖ ชื่อทุน “อาชวดิศ ดิศกุล” รุ่นที่ ๔ ได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข
ซึ่งพระองค์เจ้าศิริรัตน์บุษบง ทรงเป็น
เจ้าของทุน





๓๕

ชีวิตที่มั่นคงและเปนประโยชน์ตอสังคม


ของอดีตนักเรียนทุนเหล่านี้ คือ พยาน ยืนยันความส าเร็จของ
มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ตลอดเวลาที่ผ่านมา และมูลนิธิฯ ยังเปิดโอกาสเสมอส าหรับทุกคน
ที่อยากมาส่งต่อโอกาสดีๆ ให้คนรุ่นต่อๆ ไป มากน้อย
ตามก าลังความพร้อม ความสามารถของแต่ละคน
“เหมือนเป็นดังเช่นน ้าหยดหนึ่ง”
ที่คุณหญิงอัมพร มีศุข เคยกล่าวไว้
















สแกน QR Code เพื่ออ่านชีวประวัติอดีตนักเรียนทุน “ม.น.ข.” คนอื่นๆ




















๓๖

๓๗



ยั่งยืน


































๓๙

ความคิดเห็นจากประสบการณ์ของผู้บริจาค

ทุน “ม.น.ข.” และ ทุน “นวฤกษ์” อย่างต่อเนื่องยาวนาน





ทุน “ม.น.ข.”
ทุน วิศวฯจุฬาฯรุ่นเข้าปี ๐๗
บริจาคต่อเนื่อง ๕๒ ปี



ผู้บริจาค นายประสงค์ ธาราไชย ทุน PPS กรุ๊ป

(นักเรียนทุน “ม.น.ข.” ปีพุทธศักราช ๒๕๐๗) บริจาคต่อเนื่อง ๓๑ ปี



ทุน เสงี่ยม ธาราไชย
บริจาคต่อเนื่อง ๓๑ ปี


























การบริจาคทุนนี้ เพื่อขอบคุณและตอบแทนท่านที่เคยให้ทุนโดยไม่หวังผลตอบแทน จึงมีความ
ตั้งใจที่จะ สืบสาน ต่อยอดความเอื้ออาทรต่อกัน ในการส่งเสริม สนับสนุน นักเรียนที่เป็นคนดี
แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ให้มีโอกาสศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา เมื่อจบการศึกษา จะได้มีอาชีพ

ที่มั่นคง และกลับมาช่วยเหลือนักเรียนที่ขาดแคลนให้ได้รับโอกาสศึกษาใน รุ่นต่อๆไป


๔๐

ทุน “นวฤกษ์”









สาขา “เฉลิม – วงษ์ แสงประภา

ผู้บริจาค นางศิราภรณ์ แสงประภา
บริจาคต่อเนื่อง ๔๐ ปี










สาขา “ฉะม้าย อนุบาลสกลเขตต์”
ผู้บริจาค นางสาวจุฬารัตน์ มหาสันทนะ ทุนทั้ง ๓ สาขานี้ เป็นครอบครัว

บริจาคต่อเนื่อง ๒๓ ปี เดียวกัน ทุกปีท่ผ่านมา นางสาววิยะดา

มหาสันทนะ จะเป็นผู้แทนมามอบทุน
ในวันประชุมสามัญประจ าปีของ
มูลนิธิฯ แต่เนื่องจากปัญหาด้าน
สุขภาพ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ได้
ให้ผู้แทนมามอบทุน และเหตุผลที่มอบ
สาขา “วิยะดา มหาสันทนะ” ทุนให้มูลนิธิฯ เป็นระยะเวลายาวนาน

ผู้บริจาค นางสาววยะดา มหาสันทนะ เพราะมั่นใจว่าทุนที่มอบให้จะถึงมือ
บริจาคต่อเนื่อง ๒๓ ปี นักเรียนที่ขาดแคลน ตลอดจนมีความ
ความศรัทธาต่อคณะกรรมการฯ และ
การบริหารเงินทุนของมูลนิธิฯ และ

ตั้งใจว่า จะมอบทุนให้มูลนิธิฯ เพื่อช่วย
นักเรียนที่ขาดแคลนทุกปี






๔๑

ทุน “นวฤกษ์”






สาขา “นายแพทย์ชลิต – นางสาวสีกาญจน์ สงวนสัตย์”

ผู้บริจาค นางสาวทัศนีย์ สงวนสัตย์
บริจาคต่อเนื่อง ๒๐ ปี



































ท่านมีความไว้ใจมูลนิธิฯ และผู้ด าเนินงาน ตั้งแต่สมัยท างานกับ
คุณหญิงอัมพร มีศุข ซึ่งเคยเป็นผู้บังคับบัญชา และเห็นว่า ทุน
“นวฤกษ์” เป็นกองทุนต่อเนื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล
ที่ ๙ ทรงให้ทุนประเดิมไว้ เพื่อเป็นการให้โอกาสคนดีแต่ขาดแคลนทุน
ทรัพย์ให้ได้รับการศึกษา และเห็นว่ามูลนิธิฯนี้ ไม่ค่อยชักชวนและ
ประชาสัมพันธ์ ผู้บริจาคจึงมีความตั้งใจที่จะให้และมาให้ด้วยใจ




๔๒

มอบโอกาสทางการศึกษาผ่านพินัยกรรม
















































พุทธศักราช ๒๕๐๘

หม่อมเจ้าจงกลณี วัฒนวงศ์ สิ้นชีพตักษัยเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๐๘ ท่านได้

ทาพินัยกรรมยกที่ดินและอาคารที่ถนนสุรวงศ์ให้กับสภากาชาดไทย และได้สั่ง
ว่าให้สภากาชาดไทยน าเงินที่ได้จากผลประโยชน์มอบให้กับ ม.น.ข. เป็นจ านวน
๓,๐๐๐ บาท ต่อเดือน โดยผ่านทางพระองค์เจ้าสุขุมาภินันท์ ซึ่งขณะนั้นท่าน
ทรงเป็นอุปนายกสภากาชาดไทย ซึ่ง ม.น.ข. ได้รับเงินจ านวนนี้ต่อเนื่องมา
จนถึงปัจจุบัน (ยอดสะสมรวม ๒,๐๑๖,๐๐๐ บาท)



๔๓

จากใจนักเรียนทุนปัจจุบัน




ผม นายฐากูร จรูญสิริเศรษฐ์ ขอขอบคุณผู้บริจาคทุนเป็น
อย่างสูง ส าหรับทุนการศึกษาที่ผมได้รับผ่านมูลนิธิฯ สร้าง
โอกาสให้ผมได้ศึกษาในระดับปริญญาตรี ซึ่งผมสัญญาว่าจะ

น าเงินทุนการศึกษาไปใชให้เกิดประโยชน์สูงสุด และหลังจบ
การศึกษา หากมีโอกาสผมหวังว่าจะได้ตอบแทนความ
อนุเคราะห์ของท่าน
นายฐากูร จรูญสิริเศรษฐ์
ปี ๓ คณะวิศวกรรมศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร




ครบรอบ ๖๐ ปี ม.น.ข ต้องขอขอบคุณมูลนิธิฯที่ได้มี
โครงการดีๆ ให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียน นักศึกษา
เหมือนเป็นบันไดที่ให้ทุกคนได้ก้าวขึ้นไปเพื่อถึงฝั่งฝัน
เมื่อเรียนจบมีหน้าที่การงานที่มั่นคง หนูพร้อมที่จะ
หันกลับมาช่วยเหลือนักเรียนทุนรุ่นน้อง เพื่อให้น้องๆ มี
อนาคตที่สดใสดั่งใจฝัน ขอบคุณที่ให้โอกาสและอนาคต
เด็กคนนึง ขอบคุณค่ะ
น.ส.อรพิมล ทวิวิญ
ปวส.๑ สาขา การจัดการโลจิสติก
วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ สมุทรปราการ




ขอบพระคุณ ม.น.ข. ที่เลือกหนูเป็นเด็กทุน ได้รับทุนจาก
คุณจักกาย ศิริบุตร ท าให้หนูสามารถเรียนต่อคณะที่ชอบได้
หนูหวังว่าในอนาคต เมื่อหนูมีงานที่ดีท า จะสามารถช่วยเหลือ
เด็กที่ขาดแคลนอีกหลายๆคน ได้รับโอกาสที่ดีเช่นเดียวกัน

ขอขอบพระคุณ ส าหรับความเมตตากรุณาค่ะ
น.ส.อาลีนา จันทร์ประะจ า
ปี ๒ วิทยาลัยเพาะช่าง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ กรุงเทพมหานคร

๔๔

ดิฉันนางสาวชีวนิช นิลรัตน์ ขอขอบพระคุณ คุณโชติ
โสภณพนิช ผู้บริจาคทุนการศึกษา และขอขอบพระคุณ
ม.น.ข.ที่ให้การสนับสนุนทุนการศึกษาให้ดิฉันจนจบ

การศึกษา อันเป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพใน
อนาคต และเพื่อเป็นการตอบแทนพระคุณของท่าน ดิฉัน
จะประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นคนดีของสังคม ประเทศชาติ
สร้างสรรค์ประโยชน์เพื่อส่วนรวม และตอบแทนคุณ
แผ่นดินสืบไป
น.ส.ชีวนิช นิลรัตน์
ปี ๒ คณะแพทย์ศาสตร์
มหาวิทยาลัยบูรพา ชลบุรี



ดิฉันขอขอบพระคุณ ท่านผู้ใหญ่ใจดีทุกท่านที่บริจาค
ทุนการศึกษาให้ดิฉันและคนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาทุก
คน ดิฉันไม่รู้จะขอบคุณน ้าใจในครั้งนี้อย่างไร จึงขอตอบแทนด้วย
การตั้งใจเรียนให้ได้ความรู้ให้มากที่สุด เพื่อน าไปใช้ในการท างาน
ในอนาคต เมื่อเรียนจบท างานมีเงินเดือนมากพอที่จะด ารงชีวิตได้

ก็จะน าเงินบางส่วนบริจาคให้รุ่นน้องที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการ
เรียน เพื่อที่ว่าน้องๆจะได้เรียนตามที่หวังไว้ค่ะ
น.ส.บุญรัตน์ แสงสว่าง
ปี ๒ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี ปทุมธานี



กระผมขอขอบพระคุณในความเมตตาที่ ม.น.ข.ได้มอบทุนการศึกษา
ให้ ซึ่งกระผมได้น าไปใช้ประโยนช์ทางการศึกษาทั้งหมด กระผมขอ
สัญญาว่า จะตั้งใจเรียนและน าความรู้ที่ได้รับมาท าประโยชน์ให้แก่
สังคม ในอนาคตถ้ามีโอกาสกระผมจะมอบทุนการศึกษาให้กับน้องๆ

และเอื้อเฟื้อต่อผู้อื่น สุดท้ายนี้ขอให้ท่านพบแต่ความสุข ปราศจาก
ทุกข์ทั้งปวง และมีสุขภาพแข็งแรงตลอดไป
นายจิรกิตติ์ นาจ าปา
ปี ๒ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

๔๕

ทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข.

เอกลักษณ์ความกตัญญูกตเวทีของอดีตนักเรียนทุนของมูลนิธิฯ

โดย นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์





ในปีพุทธศักราช ๒๕๑๒ นักเรียนทุนรุ่นที่ ๑ และรุ่นที่ ๒ จ านวน ๑๐ คน ได้แสดงความส านึก
ในบุญคุณของมูลนิธิฯ ที่ให้ทุนการศึกษาแก่พวกตนจนสามารถเรียนจบปริญญาตรีและมีอาชีพที่

เป็นหลักแหล่งมั่นคง จึงรวบรวมเงินจัดตั้งเป็นทุนการศึกษาจ านวน ๑ ทุน เป็นเงิน ๒,๕๐๐ บาท
มอบให้กับมูลนิธิฯ เพื่อช่วยเหลือรุ่นน้องที่มีความขาดแคลนต่อไป

การกระท าของกลุ่มนักเรียนเก่า ม.น.ข. นี้สร้างความประทับใจแก่คณะกรรมการบริหาร ม.น.ข.
ในขณะนั้นเป็นอย่างยิ่ง คุณหญิงอัมพร มีศุข และ มูลนิธิ “แถม-สร้อย ชอบฝึก” จึงร่วมสมทบ
ด้วย และเพิ่มมูลค่าทุนนี้เป็น ๓,๐๐๐ บาท

หลังจากนายสมศักดิ์ สงวนหมู่ ประธานนักเรียนเก่า ม.น.ข. คนแรกเสียชีวิตลง นายวีระศักดิ์

ฮุนเมฆาเวทย์ จึงมารับเป็นผู้ประสานงานกองทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข. แทนตั้งแต่ปีพุทธศักราช
๒๕๑๖ และได้มอบทุนการศึกษาแก่มูลนิธิฯ อย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบันสามารถให้
ทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่ขาดแคลนได้ปีละ ๑๐ ทุนๆ ละ ๘,๐๐๐ บาท

ตลอดระยะเวลา ๕๒ ปีที่ผ่านมา ทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข. ก็เติบใหญ่ขึ้น นอกจากการบริจาคราย
ปี ปีละ ๘๐,๐๐๐ บาท แล้ว ยังมียอดเงินเก็บดอกผลสะสมอยู่ที่ ม.น.ข. อีกเป็นเงิน ๔๒๗,๗๒๐
บาท ด้วย

ในวาระ ๖๐ ปี ม.น.ข. กองทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข. จึงขอบริจาคเงินเพื่อเก็บดอกผลมอบให้
มูลนิธิฯ อีก ๑๗๒,๒๘๐ บาท เพื่อให้ยอดเงินเก็บดอกผลสะสมที่ ม.น.ข. เพิ่มเป็นเงิน

๖๐๐,๐๐๐ บาท และขอเชิญชวนอดีตนักเรียนทุน ม.น.ข. ทุกท่าน ร่วมบริจาคสมทบ
“ทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข.” เพื่อท าให้กองทุนนี้เติบโตยิ่งๆขึ้นไป ให้สามารถให้ทุนการศึกษาแก่
นักเรียนทุนรุ่นน้องได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไป

นอกจากทุนนักเรียนเก่า ม.น.ข. แล้ว ยังมีทุนที่บริจาคโดยอดีตนักเรียนทุน ม.น.ข. ที่ประสบ
ความส าเร็จในชีวิตและมีก าลังพอได้ตั้งทุนการศึกษาของตนเองขึ้น ทุนเหล่านี้มีทั้งที่ให้เฉพาะปี
การศึกษาแล้วหยุดไป และให้อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ได้แก่



๔๖

๑. ทุนวิศวฯ จุฬาฯ รุ่นเข้าปี ๐๗ โดย นายประสงค์ ธาราไชย
๒. ทุนอมรา เสตะรุจิ โดย นายคณิต เสตะรุจิ
๓. ทุนบุญจง ลิ้มอุดมพร โดย นายบุญจง ลิ้มอุดมพร
๔. ทุนเสงี่ยม ธาราไชย โดย นายประสงค์ ธาราไชย
๕. ทุน PPS กรุ๊ป โดย นายประสงค์ ธาราไชย
๖. ทุนทวีศักดิ์ ธนาธรรมธร โดย นายทวีศักดิ์ ธนาธรรมธร
๗. ทุนแสงธรรมผาสุข โดย นายผาสุข น่วมจาด
๘. ทุนลิ้มสุวรรณ โดย นายเอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ
๙. ทุนนายเป้า – นางม้วน เหล่าพัดจัน โดย นายพภพ เหล่าพัดจัน

๑๐. ทุนรุ่นพี่ โดย นางสาวสมศรี ยอดยิ่งวิทยา
๑๑. ทุนสุวจี เรืองจินดา โดย นายชาติชาย พหลแพทย์
๑๒. ทุนนภาพร วิชัยดิษฐ โดย นางสาวนภาพร วิชัยดิษฐ
๑๓. ทุนนายแพทย์ธรศักดิ์ พุ่มสีทอง โดย นายแพทย์ธรศักดิ์ พุ่มสีทอง


๑๔. ทุนดร.ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต โดย ดร.ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต
๑๕. ทุนจันทร์จุฑา เบญจพลากุล โดย นางสาวจันทร์จุฑา เบญจพลากุล
๑๖. ทุนนักเรียนทุน ม.น.ข. วิศวฯ จุฬาฯ รุ่นเข้าปี๐๕ โดย นายธีระวัฒน์ บุญประภาสิทธิ์
๑๗. ทุน ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีสมบัติ โดย ดร.เกรียงศักดิ์ ศรีสมบัติ
๑๘. ทุนหวล หงษ์ชัย โดย นายมงคล หงษ์ชัย


การที่อดีตนักเรียนทุน ม.น.ข. ที่หวน
ร าลึกถึงพระคุณของมูลนิธิฯ และ
กลับมาช่วยเหลือมูลนิธิฯ บริจาคเงิน
ตั้งทุนการศึกษาช่วยเหลือนักเรียนที่

ขาดแคลนรุ่นน้องเช่นนี้ เป็นการ
แสดงความกตัญญูกตเวทีต่อมูลนิธิฯ
ย่อมเป็นเครื่องหมายของคนดี ซึ่ง
เป็นเจตนารมย์ของ ม.น.ข. ที่ให้
โอกาสทางการศึกษาเพื่อสร้างคนดี
ให้แก่สังคม

ทุนการศึกษาที่เกิดขึ้นโดยบรรดา อดีตนักเรียนทุน ม.น.ข. จึงสอดคล้องกับปณิธานของ ม.น.ข.
“สืบสาน พัฒนา ก้าวหน้า ยั่งยืน”


๔๗

เด็กบ้านนอก ผู้ใหญ่นอกบ้าน


“จากการเป็นผู้รับ…สู่การเป็นผู้ให้”


อยากกินอาหารดี ๆ มีประโยชน์ก็จงตั้งใจ การยกระดับการศึกษาคือการยกระดับชีวต
เรียน ค าสอนของแม่ยังคงก้องอยู่ในโสต การศึกษาสามารถท าให้เรามีชีวิตที่ดีขึ้น
ประสาทแม้ว่าแม่ได้จากโลกนี้ไปแล้วเมื่อ เพราะการศึกษาน ามาซึ่งความรู้ ทักษะ
สิบปีก่อน ผมโตมากับแม่ตั้งแต่อายุ ๔ และทัศนคติที่จ าเป็นต่อการท างาน และ
ขวบเพราะพ่อเสียชีวิตจากอุบัติเหตุในคืน การต่อยอดความรู้ในทักษะที่สูงขึ้น
วันประถมศึกษา ไม่เพียงแต่น าพาซึ่ง ตัวอย่างเช่น ตัวผมเองเคี่ยวเข็ญตัวเองให้
ความเจ็บปวดมาสู่ครอบครัวแต่ยังน ามา ตั้งใจเรียนภายใต้เวลาและเงินทุนที่มีจ ากัด
ซึ่งภาระอันหนักอึ้งที่แม่ต้องเลี้ยงลูกเอง จนสามารถสอบเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์
สามคนให้ท้องอิ่มและเติบใหญ่จน สาขาวิศวกรรมเครื่องกล สถาบันเทคโนโลยี
สามารถบริหารจัดการตัวเองได้ และแม่ พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ผม
ท าส าเร็จ ตั้งแต่จ าความได้ ในวัยเด็กผม ไม่มีเงินลงทะเบียนเรียนเทอมแรก แต่ผม
ได้กินแต่ปลาทูเค็มปิ้งกับข้าวเหนียวที่ทั้ง ได้รับความช่วยเหลือจากครูบาอาจารย์และ
ครอบครัวกินได้เป็นอาทิตย์ ผมมีความ ศิษย์เก่าจากโรงเรียนสูงเม่นชนูปถัมภ์
ฝันว่าวันหนึ่งผมจะต้องได้กินอาหารที่ดี จังหวัดแพร่ โรงเรียนมัธยมศึกษาที่ผมเรียน
และมีประโยชน์มากกว่านี้ ผมจึงตั้งใจ และผมได้รับความช่วยเหลือจากครูที่
เรียนมากโดยเฉพาะเวลาอยู่ในห้องเรียน โรงเรียนให้ไปท างาน ผมท าความสะอาด
ผมไม่ได้มีเวลาเสาร์อาทิตย์ หรือวันหยุด โรงเรียนสอนภาษาอังกฤษและยกของที่
ให้มาท าการบ้านเพราะผมเริ่มท างานที่ ร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้าในตัวเมืองแพร่
ร้านอาหารเพื่อส่งเสียตัวเองในเรื่องของ นอกจากนั้นผมก็ได้ยืมเงินจากป้าจ านวน
อุปกรณ์การเรียนและอาหารกลางวัน หนึ่งให้พอกับการลงทะเบียนและดูแล
ตั้งแต่อายุ ๑๑ - ๑๗ ปี ในวันนี้วันที่ผม ตนเองให้ได้ก่อนที่จะได้รับเงินกู้จากรัฐบาล
ก าลังจะก้าวเข้าสู่วัย ๔๑ ปี ในวันที่ผมได้ ในเทอมที่สองของปีการศึกษาปีแรก
กินอาหารดี ๆ และมีประโยชน์ ผมเลย แล้วหลังจากนั้นมาผมก็ได้ทุนจากคุณหมอ
อยากมาเล่าว่าท าไมผมจึงให้ทุนแก่ ชาญชัย ศิลปอวยชัย และ คุณ Douglas
น้อง ๆ นักเรียน นักศึกษา ภายใต้ชื่อ Wittaker จากสโมสรโรตารีกรุงเทพใต้
“กองทุนหวล หงษ์ชัย” ที่ถูกตั้งขึ้นใน ภายใต้การดูแลของ ม.น.ข. เข้ามาสมทบ
วันที่แม่ผมมีอายุครบ ๖๐ ปี ภายใต้ ท าให้ผมมีเวลาเรียนและท ากิจกรรมที่
มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระ ชมรมชาวเหนือของสถาบันจนได้เป็น
บรมราชินูปถัมภ์ (ม.น.ข.) โดยผมมี ประธานชมรม พวกเราออกไปสร้าง
เหตุผลอยู่สามข้อคือ เพื่อยกระดับชีวิต ห้องสมุดหรือลานเด็กเล่นกับโรงเรียนใน
เศรษฐกิจและสังคมให้กับประเทศไทย ทุรกันดารที่ภาคเหนือทุกๆ การปิดภาค
ภายใต้การยกระดับการศึกษาครับ เรียน

๔๘

สิ่งนี้น ามาซึ่งทักษะของการเป็นผู้น าและจิต ในการท างานหลังจากเรียนจบ ผมได้เลี้ยง
อาสาต่อสังคมให้กับผมจนถึงปัจจุบัน ดูแม่ ผมปลูกบ้านให้ครอบครัวและผ่อน
นอกจากนี้เงนทุนต่าง ๆ ที่ผมได้รับท าให้ผม เสร็จอย่างรวดเร็วภายในระยะเวลา ๕ ปี

มีเวลาที่จะเสาะแสวงหาการเพิ่มทักษะ และผมก็ยังมีโอกาสเก็บเงินเป็นเวลา ๑๑
ภาษาอังกฤษระหว่างเรียน ผมน าเงินกู้และ ปีอีกด้วย หลังจากที่แม่เสียผมจึงน าเงินที่
ทุนการศึกษาบางส่วนไปเรียนภาษาอังกฤษ เก็บหอมรอมริบไว้บินไปศึกษาต่อที่
ที่บางกะปิ การเรียนแต่ในห้องไม่สามารถท า ประเทศสหรัฐอเมริกา ผมได้ไปเรียน
ให้ผมพูดภาษาอังกฤษได้ ผมกับเพื่อนจึงไป ภาษาอังกฤษและธุรกิจที่ City College
ฝึกภาษาอังกฤษที่ตรอกข้าวสารด้วยการน า of San Francisco และเข้าศึกษาต่อ
สินค้าของชาวบ้านที่เราไปท าค่ายไปขาย ระดับปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์
ให้กับนักท่องเที่ยว ท าให้ผมมีทักษะการ สาขาบริหารและการจัดการวิศวกรรม ที่
สื่อสารกับชาวต่างชาติได้รู้เรื่อง ผมจึง San Jose State University ในรัฐ
สามารถได้งานกับบริษัทข้ามชาติก่อนที่จะ แคลิฟอร์เนีย
เรียนจบและระหว่างนั้นบริษัทอื่น ๆ
มากมายทั้งในไทยและต่างประเทศก็ยังคง
ติดต่อให้ผมไปสัมภาษณ์งานอยู่เรื่อย ๆ
ความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่ดี ที่ผมได้รับ
จากการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นท าให้ระดับ
ชีวิตความเป็นอยู่ของตัวผมเองและสมาชิก
ในครอบครัวดีขึ้นมากหลังจากที่ผมได้เรียน
จบและเริ่มท างาน

ความรู้คืออาวุธท าให้เราฝ่าฟันให้ทันกับ
เศรษฐกิจที่ผันผวนในปัจจุบัน เราปฏิเสธ
ไม่ได้เลยว่าในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๔
เทคโนโลยีเข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิตและวิถีการ
ท าธุรกิจในวงกว้างระดับโลกและในปี พ.ศ.
๒๕๖๓ โลกของเราก็โดนเขย่าด้วยโรคโควิด-
๑๙ เข้าไปอีก จะมีเพียงบุคคลและธุรกิจที่
ปรับตัวให้ทันกับสิ่งที่เปลี่ยนไปเท่านั้นที่จะ
สามารถยังคงด ารงชีวิตและธุรกิจของตนเอง
ได้ การที่ผมได้รับโอกาสจากผู้คนมากมายให้
ทุนการศึกษาในช่วงที่เรียนที่พระจอมเกล้า
ลาดกระบัง และมีบริษัทต่าง ๆ ให้โอกาส



๔๙

ความรู้ใหม่นี้น ามาซึ่งการบริหารที่
คล่องแคล่วท าให้ธุรกิจและการด าเนิน
งานขององค์กรต่าง ๆ ปรับตัวให้เข้ากับ
สถานการณ์ของโลกที่เปลี่ยนไปอย่าง
รวดเร็วได้ ผู้บริหารน าความเมตตากรุณา
มาบริหารจัดการให้ได้ใจคนท างาน และ
คนท างานก็มีความสุขมากขึ้นในการ
ท างานและการใช้ชีวิต ดังนั้นนอกจาก
การศึกษาจะยกระดับชีวิตแล้วก็ยัง
สามารถยกระดับความสามารถในการ
แข่งขันในภาคธุรกิจได้อีกด้วย
ในสังคมประกอบไปด้วยคนที่รู้และไม่รู้
ผมมีความเชื่อว่าสังคมไม่ได้ประกอบไป
ด้วยคนฉลาดหรือคนโง่ หน้าที่ของผมคือ
ท าให้จ านวนของคนรู้มีให้มากขึ้นในสังคม
แล้วจะท าให้สังคมสามารถที่จะอยู่
นอกจากนี้ผมได้มีโอกาสเข้าไปศึกษาดูงาน ร่วมกันได้และด ารงอยู่ต่อไปในอนาคต
กับบริษัทชั้นน าไม่ว่าจะเป็น บริษัท Apple จากเงินทุนการศึกษาที่ได้รับจาก ม.น.ข.
บริษัท Google บริษัท Facebook บริษัท ท าให้ผมได้มีเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม
Niki และอีกมากมาย ผมก็ยังได้มีโอกาส กับชมรมชาวเหนือในพระจอมเกล้า
ร่วมงานกับบริษัท Startup และบริษัท ลาดกระบัง ทางชมรมพาสมาชิกไปท า
เกี่ยวกับการขนส่งใน Silicon Valley อีก ค่ายในถิ่นทุรกันดารในภาคเหนืออย่าง
ด้วย สิ่งที่ผมได้เรียนในระดับปริญญาโทและ ต่อเนื่อง ทางชมรมได้ร่วมมือกับชมรม
ประสบการณ์ที่สหรัฐอเมริกาท าให้ผมได้ ชาวเหนือของมหาวิทยาลัยมหิดล และ
เรียนรู้และเก็บเกี่ยวทักษะที่โลกทั้งใบก าลัง นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยโตไก ประเทศ
ต้องการ ท าให้ผมได้ร่วมงานและพบปะกับ ญี่ปุ่น สร้างห้องสมุด ลานเด็กเล่น น า
คนระดับโลก ท าให้ผมได้บินรอบโลกเพื่อไป อาหาร สมุด หนังสือ อุปกรณ์การเรียน
เป็นคนพูดในงานสัมมนาต่าง ๆ และได้รับ และทุนการศึกษาเข้าไปมอบให้กับ
เชิญให้ไปสอนในประเทศสหรัฐอเมริกา นักเรียนและชุมชนต่าง ๆ ในจังหวัดทาง
สวีเดน เยอรมนี เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ ภาคเหนือ ผมได้เห็นคนที่ทุกข์ยาก
โปแลนด์ ฮ่องกง และเวียตนาม ปัจจุบันผม มากกว่าผม ผู้คนที่อดมื้อกินมื้อ ผู้คนที่
ได้น าความรู้ใหม่นี้มาน าเสนอและสอนให้กับ เลือกทางผิดให้กับชีวิต เมื่อตัวผมเองมี
ผู้บริหารระดับสูงและพนักงานทั้งภาครัฐ พอกิน มีความรู้พอแบ่งปัน มีเวลาว่าง
ภาคเอกชน และหน่วยงานทางการศึกษา มากขึ้น

๕๐

ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๒ ผมได้ท า และคนในครอบครัวได้กินอาหารดี ๆ และ
โครงการ Free Friday เพื่อน าความรู้ไป มีประโยชน์ ผมจึงมอบสิ่งนี้ให้กับคนอื่น ๆ
แบ่งปันให้กับองค์กรการกุศล โรงเรียนและ ด้วยการให้ทุนมาอย่างต่อเนื่อง ผมได้หยุด
มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ในประเทศไทย ให้ ให้ไปช่วงที่ผมไปศึกษาต่อที่สหรัฐอเมริกา
บุคลากรมีความรู้ใหม่ในการท างาน การ และกลับมาให้ต่อเนื่องอีกครั้งหลังจากที่
จัดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่ท าให้ เรียนจบเพราะผมหวังโดยที่ไม่คาดหวัง ว่า
ผู้เรียนได้ความรู้และวิธีการท างานที่ตรงกับ น้อง ๆ จะมีโอกาสและเวลาในการศึกษา
ภาคธุรกิจต้องการ และผู้จัดการสอนได้ถ่าย อย่างเต็มที่เพื่อน าความรู้ ทักษะ ทัศนคติ
โอนอ านาจให้กับผู้เรียน จนท าให้ผู้เรียน เชิงบวกและประสบการณ์มาช่วยยกระดับ
สามารถท าสิ่งนี้ได้เมื่อตนเองก้าวขึ้นสู่ระดับ ชีวิตของตนเองและสมาชิกในครอบครัวให้
ผู้บริหารขององค์กรต่าง ๆ ในอนาคต อยู่ดีกินดี ยังเผื่อแผ่ไปถึงคนอื่น ๆ อีกด้วย
นอกจากนี้ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๔ ได้มีโอกาสและเวลาท างานให้กับองค์กรที่
ผมได้มีโอกาสเข้าร่วมเป็นอาสาสมัครกับ เราท างานอย่างเต็มที่และได้มีโอกาส
โครงการ CoCare ที่มีบุคลากรทางการ แบ่งปันกับองค์กรอื่น ๆ ได้มีโอกาสและ
แพทย์และอื่น ๆ มาร่วมกันให้ความรู้กับ เวลาออกไปสังเกตสังคมรอบข้างแล้วหยิบ
บุคคลทั่วไปเกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ ที่ ยื่นความช่วยเหลือให้มีจ านวนคนรู้ให้มาก
บุคคลสามารถส่งข้อความผ่านแอพพลิ- ยิ่งขึ้นให้คนเหล่านั้นได้มีโอกาสและเวลาใน
เคชั่นไลน์ เข้ามาสอบถามเกี่ยวกับอาการ การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เรื่องราวของเด็ก
การปฏิบัติตัว การเฝ้าดูอาการหรือเรื่อง บ้านนอกคนนี้คงน ามาซึ่งแรงบันดาลใจกับ
วัคซีนได้ ผมได้เห็นความวุ่นวายในการ คนหลาย ๆ คน ก่อนที่เด็กบ้านนอกคนนี้
จัดการและการรับมือกับโรคนี้ผ่านชุมชน จะขอลาประเทศไทยเพื่อไปเป็นผู้ใหญ่นอก
คลองเตยและชุมชนนางเลิ้งที่ยังมีผู้คน บ้านอีกครั้งในช่วงเดือนสิงหาคม พ.ศ.
มากมายที่ขาดโอกาสในการศึกษาและ ๒๕๖๔ เพื่อตามหาฝันชิ้นสุดท้ายของชีวิต
โอกาสในชีวิต สิ่งเหล่านี้ตอกย ้าเรื่องความ กับการศึกษาต่อระดับปริญญาเอก คณะ
เหลื่อมล ้าทางสังคมที่มีอยู่ระดับลึกมากของ วิศวกรรมศาสตร์ สาขาบริหารและการ
ประเทศไทยที่ต้องการการแก้ไขและ จัดการวิศวกรรมและเทคโนโลยี ที่ Port-
ปรับปรุงอย่างเร่งด่วน แต่สิ่งเหล่านี้จะ land State University ในรัฐโอเรกอน
หายไปในสังคมไทยได้อย่างไร ถ้าคนที่ไม่รู้ ประเทศสหรัฐอเมริกา
มีมากกว่าคนรู้
โอกาสและเวลาคือสิ่งที่ผมได้รับมาโดย ขอขอบคุณและแสดงความเคารพเป็นอย่าง
ตลอดจากการมีชีวิตอยู่จนถึงปัจจุบันจาก สูงครับ

ม.น.ข. และผู้คนมากมาย ผมขอขอบคุณ มงคล หงษ์ชัย (ดามพ์)
เป็นอย่างสูงต่อท่านผู้มีอุปการคุณที่ท าให้ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๔
ผมได้มีโอกาสและเวลาในชีวิต ท าให้ตัวผม

๕๑

๖๐ ปี ม.น.ข. กับการก้าวเดินต่อไป




ภารกิจและเป้าหมาย มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (ม.น.ข.) คือ การ

จัดหาทุนให้กับนักเรียนและนักศึกษาที่ขาดแคลน เพื่อสร้างโอกาส สร้างคนดีสู่สังคมและมูลนิธิฯ
ยังคงมุ่งมั่นที่จะเดินหน้าต่อไปตามปณิธาน “สืบสาน พัฒนา ก้าวหน้า ยั่งยืน”

วัตถุประสงค์ เพื่อระดมทุนการศึกษา จัดสรรทุนการศึกษาให้กับนักเรียนและนักศึกษาที่ขาด
แคลน ด้วยการสร้างเครือข่ายการบริหารจัดการและการสร้างความร่วมมือกับทั้งภาครัฐและ

เอกชน


การสร้างเครือข่ายที่กว้างขวาง การสร้างความเชื่อมั่น มูลนิธิฯต้องสร้าง
ครอบคลุม ด้วยการสร้างมิติขององค์กร ความเชื่อมั่นและความศรัทธาให้กับ
เครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน มิติการ ผู้บริจาคทุน โดยการจัดระบบบริหาร
บริหารจัดการทั้งในเรื่องการจัดสรรทุน จัดการที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ เพื่อสร้าง
ให้กับผู้เรียน โดยใช้ความร่วมมือจาก ความเชื่อมั่นให้กับทั้งผู้รับและผู้ให้
เครือข่ายในการสรรหา การตัดสินให้ทุน ทุนการศึกษา โดยมีกระบวนการคัดเลือก
การประเมินและการติดตามผล มิติของ ที่เป็นธรรม มีเกณฑ์ที่ชัดเจนและ
การประชาสัมพันธ์เพื่อการรับรู้ภารกิจ ตรวจสอบได้
การระดมทุน และการบริหาร
จัดการของมูลนิธิฯ
ยุทธศาสตร์

วิธีการและรูปแบบ ปรับปรุงให้ การพัฒนาในทุกมิติ ด้วยการ
เกิดความหลากหลายในการสื่อสาร พัฒนาทั้งด้านการระดมทุน การ

เพื่อการระดมทุน อาทิ การระดมทุน จัดสรรทุน การจัดท าโครงการพิเศษต่างๆ
ออนไลน์และการขอความร่วมมือจาก ตามความต้องการของผู้บริจาคทุน การ
อดีตนักเรียนทุน รวมทั้งการรายงานผล บริหารจัดการอย่างมีธรรมาภิบาล การ
การด าเนินงานให้ผู้บริจาคทุนและสังคม ตรวจสอบและการรายงานผล โดยจัดท า
ได้รับทราบ แผนปฏิบัติการที่ยืดหยุ่นอันจะน าไปสู่
ความก้าวหน้าและยั่งยืน





๕๒

แด่..มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ (ม.น.ข.)

๖๐ ปี ม.น.ข. ก่อตั้งมา
ที่พึ่งพาเด็กยากไร้ใฝ่ศึกษา
ให้ทุนเรียนถึงฝั่งฝันขั้นปริญญา
เพิ่มคุณค่าจากเด็กจนเป็นคนดี

มาวันนี้เด็กเหล่านั้นพลันเติบใหญ ่
ได้รับใช้ชาติสังคมสมศักดิ์ศร ี
สร้างผลงานมากมายหลายวิธี
ทุกแห่งที่มีอดีตนักเรียนทุน

เขาเหล่านั้นส านึกคุณ ม.น.ข.
ร่วมกันก่อตั้งทุนกลับสนับสนุน
ช่วยรุ่นน้องที่ขาดแคลนตอบแทนคุณ

ช่วยเจือจุนมูลนิธิฯตามก าลัง

ขอขอบคุณเจ้าของทุนผู้บริจาค
เงินไม่มากแต่บรรเทาเร้าความหวัง
เด็กขาดแคลนได้ทุนเรียนเปลี่ยนเป็นพลัง
เมื่อถึงฝั่งคือก าลังของบ้านเมือง

๖๐ปี ม.น.ข. ขอชื่นชม
ที่สั่งสมคนมีชื่อเสียงลือเลื่อง
“นักเรียนทุนมูลนิธิฯที่รุ่งเรือง”

ย่อมเป็นเครื่องยืนยันนั่น“ผลงาน”

นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์
อดีตนักเรียนทุน ม.น.ข. (๒๕๐๙)
ผู้ประพันธ์




๕๓

รายนามคณะกรรมการจัดกิจกรรมเนื่องในวาระครบรอบ ๖๐ ปี ม.น.ข.



คณะกรรมการที่ปรึกษา
๑. นางขจิตพรรณ ไทยเพ็ชร
๒. ศาสตราจารย์เกียรติคุณศรีสุรางค์ พูลทรัพย์
๓. นายโชติ โสภณพนิช
๔. หม่อมราชวงศ์โอภาศ กาญจนะวิชัย
๕. ดร.พนม พงษ์ไพบูลย์
๖. นายประสงค์ ธาราไชย
๗. ดร.วิทธยา บริบูรณ์ทรัพย์
๘. ดร.กฤษฎา จ่างใจมนต์

คณะกรรมการจัดงาน
๑. นางเดือนฉาย คอมันตร์ ประธาน
๒. นายสุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ รองประธาน
๓. นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์ รองประธาน
๔. กรรมการบริหารทุกท่าน กรรมการ
๕. เลขาธิการ กรรมการและเลขานุการ
๖. รองเลขาธิการ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ






























๕๔

คณะกรรมการด าเนินงานประกอบด้วยฝ่ายต่างๆ ดังนี้

๑. คณะกรรมการฝ่ายพิธีการ/สถานที่ /อาหาร-เครื่องดื่ม

- นางเดือนฉาย คอมันตร์ ที่ปรึกษา
- นายสุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ ที่ปรึกษา
- นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์ ที่ปรึกษา
- นางสาววัลลีย์ วงศ์ภักดี ที่ปรึกษา
๑. พลโทหญิงคนึงนิจ พึ่งแย้ม ประธาน
๒. นางประอรพรรณ อยู่สถาพร กรรมการ
๓. นายสมเจตน์ เมฆพายัพ กรรมการ
๔. นางพนิดา วิชัยดิษฐ กรรมการ
๕. นายขรรค์ชัย คงเสน่ห์ กรรมการ
๖. นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย์ กรรมการ
๗. นางวรรณวิไล วรวิกโฆษิต กรรมการและเลขานุการ
ุ์
๘. นางสุพัฒตรา ลิมปะพันธ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๙. นางจารุพร พุทธวิริยากร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๒. คณะกรรมการฝ่ายจัดท าหนังสือที่ระลึก

- นางเดือนฉาย คอมันตร์ ที่ปรึกษา
- นายสุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ ที่ปรึกษา
- นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์ ที่ปรึกษา
๑. นางประอรพรรณ อยู่สถาพร ประธาน
๒. นางวรรณวิไล วรวิกโฆษิต กรรมการ
๓. นายบุญจง ลิ้มอุดมพร กรรมการ
๔. นางสุธิดา กัลยาณรุจ กรรมการ
๕. นางสาวสุภรณ์ ปรีชาอนันต์ กรรมการ
๖. นางสิริรัตน์ เกษประทุม กรรมการ
๗. นายขรรค์ชัย คงเสน่ห์ กรรมการ
๘. นายจัตรตุพล ลามา เพิ่มวงษ์มาก กรรมการ
๙. นางสาวดุสิดา ปานเนาว์ กรรมการ
๑๐. นางจารุพร พุทธวิริยากร กรรมการและเลขานุการ
๑๑. นางสาวพนิดา โกมลมาลย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๕๕

๓. คณะกรรมการฝ่ายจัดสัมมนาทางวิชาการ

๑. นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์ ประธาน
๒. ศ.คลินิค นพ.วิทเชษฐ พิชัยศักดิ์ กรรมการ
๓. นางวรรณวิไล วรวิกโฆษิต กรรมการ
๔. นายประสิทธิ์ บุญทรง กรรมการ
๕. นางสิริรัตน์ เกษประทุม กรรมการ
๖. นายขรรค์ชัย คงเสน่ห์ กรรมการ
๗. นางสุธิดา กัลยาณรุจ กรรมการ
๘. นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย์ กรรมการ
๙. นางสุพัฒตรา ลิมปะพันธ กรรมการและเลขานุการ
ุ์
๑๐. นางสาวพนิดา โกมลมาลย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑๑. นายสุภัทท์ สุนทรภักดี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

๔. คณะกรรมการจัดหาทุน

- นายโชติ โสภณพนิช ที่ปรึกษา
- นางขจิตพรรณ ไทยเพ็ชร ที่ปรึกษา
- นางมุกดา จิราธิวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล ที่ปรึกษา

- นางสาววัลลีย์ วงศ์ภักดี ที่ปรึกษา
๑. นายสุรวัฒน์ ชมภูพงษ์ ประธาน
๒. นายพงศ์ธร ธาราไชย กรรมการ
๓. นายปาลชัย มีศุข กรรมการ
๔. ศ.คลินิค นพ.วิทเชษฐ พิชัยศักดิ์ กรรมการ
๕. นายบุญจง ลิ้มอุดมพร กรรมการ
๖. นางวรรณวิไล วรวิกโฆษิต กรรมการ
ุ์
๗. นางสุพัฒตรา ลิมปะพันธ กรรมการ
๘. นางปาริชาติ ปราบ กรรมการ
๙. นายโฉลกพร ผลชีวิน กรรมการ
๑๐. นางประอรพรรณ อยู่สถาพร กรรมการ
๑๑. นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย์ กรรมการ
๑๒. นางจารุพร พุทธวิริยากร กรรมการและเลขาธิการ
๑๓. นายสุภัทท์ สุนทรภักดี กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
๑๔. นางสาวจันจิรา วงษ์มา กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ


๕๖

๕.คณะกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์

๑. นายพงศ์ธร ธาราไชย ประธาน
ุ์
๒. นางสุพัฒตรา ลิมปะพันธ กรรมการ
๓. นางประอรพรรณ อยู่สถาพร กรรมการ
๔. นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย์ กรรมการ
๕. นางสุธิดา กัลยาณรุจ กรรมการ
๖. นายสมเจตน์ เมฆพายัพ กรรมการ
๗. นางสาวลัดดา เจริญชาศรี กรรมการ
๘. นายวิศิษฐ์ เจียรนัย กรรมการ
๙. นางสาวปรานี บุญรัตน์ กรรมการ
๑๐. นายจัตรตุพล ลามา เพิ่มวงษ์มาก กรรมการ
๑๑. นางสาวิอันนาสิตา บ่อเกิด กรรมการและเลขานุการ
๑๒. นางสาวณัฐชานันท์ คุณารัตนพฤษ ์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ








































๕๗

๕๘

จากคณะกรรมการชุดปัจจุบัน (พุทธศักราช ๒๕๖๔ – ๒๕๖๖)












คณะกรรมการฝ่ายจัดท าหนังสือที่ระลึกได้น าผลงานของมูลนิธิ

ชวยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ตั้งแต่อดีตถึง
ปัจจุบันมาร้อยเรียงเป็นเรื่องราวที่มีคุณค่าเพื่อเผยแพร่ให้
สาธารณชนได้เห็นคุณประโยชน์ในการให้โอกาสทางการศึกษา
แก่นักเรียนที่ขาดแคลนมาตลอดระยะเวลา ๖๐ ปี


ขอแสดงความชื่นชมต่อคณะกรรมการบริหารมูลนิธิฯในอดีตทุก
คณะ ที่ได้สร้างบรรทัดฐานการท างานอาสาสมัคร ได้สร้าง
ศรัทธาและความเชื่อมั่นต่อผู้บริจาคทุนการศึกษาและองค์กรที่

เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ท าให้มูลนิธิช่วยนักเรียนที่
ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นองค์กรหนึ่งที่เป็นที่

พึ่งพาของนักเรียนที่ขาดแคลนและใฝ่ศึกษาให้ได้รับโอกาสศึกษา
ต่อจนจบหลักสูตรปริญญาตรี ได้มีโอกาสรับใช้สังคมและ
ประเทศชาติในหลากหลายสาขาอาชีพ

คณะกรรมการบริหารชุดปัจจุบัน ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก

ปลัดกระทรวงมหาดไทย นายทะเบียนมูลนิธิกรุงเทพมหานคร
เมื่อวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๔ ขอสัญญาว่า จะสืบสานและพัฒนา

งานของมูลนิธิฯให้เจริญก้าวหน้าสืบไป












๕๙

คณะกรรมการมูลนิธิฯ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๔ - ๒๕๖๖











นายสุรวัฒน์ ชมภูพงษ์






นายวีระศักดิ์ ฮุนเมฆาเวทย์ นางวรรณวิไล วรวิกโฆษิต นายบุญจง ลิ้มอุดมพร นางมุกดา จิราธิวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล








นางสุพัฒตรา ลิมปะพันธ ุ์ นายปาลชัย มีศุข นายโฉลกพร ผลชีวิน พลโทหญิงคนึงนิจ พึ่งแย้ม






นายวิทเชษฐ พิชัยศักดิ์ นายพงศ์ธร ธาราไชย นางปาริชาติ ปราบ นางสาวจารุวรรณ ธรรมวิทย ์








นายสมเจตน์ เมฆพายัพ นายขรรค์ชัย คงเสน่ห์ นางชัญวลี ศรีสุโข นายจัตรตุพล ลามา เพิ่มวงษมาก






นางสาวสุชาดา สภาพงศ์ นางสาวดุสิดา ปานเนาว์ นางมยุรี เตยะราชกุล นางสาววัลลีย์ วงศ์ภักดี







นายเอก วิรเทพ นางจารุพร พุทธวิริยากร นางประอรพรรณ อยู่สถาพร นางพัฒนวดี พัฒนเมธินทร์

๖๐

๖๑

วิธีการบริจาคเงิน



ท่านที่มีความประสงค์จะบริจาคเงินให้มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์

ทุกกรณี จะได้ใบเสร็จรับเงินเพื่อใช้ในการลดหย่อนภาษี ๑ เท่า ส าหรับท่านที่บริจาคเงินทุนให้
นักเรียนที่ขาดแคลนต่อเนื่องจนจบหลักสูตรแต่ละระดับ สามารถตั้งชื่อทุนได้ตามความประสงค์

โดยมีช่องทางการส่งเงินบริจาค ดังนี้
๑ ส่งโดยตรงที่ส านักงาน มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์



๒ ส่งเช็คสั่งจ่าย ในนาม “มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์”



๓ โอนเงินเข้าบัญชีมูลนิธิฯ


• ธนาคารทหารไทย สาขาสุรวงศ์
เลขที่ ๐๗๘-๑-๐๖๔๐๐-๑ บัญชีกระแสรายวัน
• ธนาคารกรุงเทพ สาขาโรงพยาบาลเซ็นหลุยส์
เลขที่ ๐๐๒-๗-๑๑๖๑๕-๑ บัญชีออมทรัพย์

เมื่อโอนเงินแล้วโปรดส่งส าเนาใบโอนเงินให้มูลนิธิฯ
แจ้งธนาคารที่ท่านโอนเข้า เพื่อมูลนิธิฯ
จะจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้ท่านต่อไป



๔ ลูกค้าธนาคารกสิกรไทย
บริจาคผ่านแอปพลิเคชั่น K PLUS (ฟีเจอร์ K PLUS Market)
• เข้าแอปพลิเคชั่น K PLUS และไปที่ K+Market
• ไปที่หมวด Donate With KBANK
• ค้นหาชื่อมูลนิธิฯ
• กดปุ่ม “ซื้อสินค้า”
• เลือกจ านวนเงินที่ต้องการบริจาค และเลือกว่าจะรับใบเสร็จหรือไม่
• กดช าระสินค้า


ท่านสามารถบริจาคเงินโดยวิธีใดก็ได้ที่ท่านสะดวก และเมื่อมูลนิธิฯได้รับเงินแล้ว
จะจัดส่งใบเสร็จรับเงินให้ท่านต่อไป

๖๒

มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์

ที่ตั้ง ศูนย์ดิจิทัลเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขที่ ๙๒๘ ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง
เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐
โทรศัพท์ ๐๒-๓๙๑-๓๗๙๖ , ๐๒-๓๙๑-๒๓๒๔
โทรสาร ๐๒-๓๙๑-๒๓๕๔
อีเมล [email protected]
เว็บไซต์ www.forneedystudents.org
เฟสบุ๊ค www.facebook.com/mnk.page


































๖๓

แหล่งที่มาของภาพ





หน้า ค ภาพในเรื่อง ประวัติความเป็นมาของมูลนิธิฯ จาก หนังสือ “น ้าหยดเดียว” หน้า ๑๔๕
หน้า ง ภาพ คุณหญิงอัมพร มีศุข จาก หนังสือ “น ้าหยดเดียว” หน้า ฉ

หน้า ๒๖ ภาพในเรื่อง การบริหารมูลนิธิฯ จาก หนังสือ “น ้าหยดเดียว” หน้า ๑๔๗


หนังสือ “น ้าหยดเดียว”, พิมพ์ครั้งที่ ๑, หนังสือที่ระลึกงานพระราชทานเพลิงศพคุณหญิงอมพร มีศุข
ปีพุทธศักราช ๒๕๕๘

หน้า ง ภาพ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

Tatticha Malachoo, แนะน าประวัตินายกรัฐมนตรีของไทย, พ.ศ. ๒๕๕๔ , [cited 2021 Jun 9],
Available from: https://sites.google.com/site/tattichamalachoo/naeana-prawati-nayk-
rath-ml-tri-khxng-thiy/1-hmxm-rachwngs- khuk-vththi-pramoch

หน้า ง ภาพ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวิมลฉัตร
พ.สมานคุรุกรรม, ความหลังริมคลองเปรม, พ.ศ. ๒๕๕๕ , [cited 2021 Jun 9], Available from:
https://www.bloggang.com/m/viewdiary.php?id=pn2474&month=03
2011&date=17&group=29&gblog=41

หน้า ฐ ภาพ ม.ร.ว. สายสิงห์ ศิริบุตร
วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ : เรื่อง, บุญกิจ สุทธิญาณานนท์ : ภาพ, เดินตามผู้ใหญ่ฯ : ม.ร.ว. สายสิงห์
ศิริบุตร อาสาสมัครอ่านหนังสืออัดเทปให้คนตาบอด วัย ๗๑ ปี, พ.ศ. ๒๐๐๔ , [cited 2021 Jun 9],
Available from: https://www.sarakadee.com/2004/12/26/saisingha/


หน้า ๓ ภาพ Luang Sit Fellowship Programme, Rotary Club Bangkok South
Rotary Club Bangkok South, Luang Sit Fellowship, 2021, [cited 2021 Jul 12],
Available from: https://rotarybangkoksouth.org/luang-sit-fellowships/


หน้า ๔๓ ภาพ หม่อมเจ้าจงกลณี วัฒนวงศ์

จาก “มูลนิธิจงกลนีนิธิ”




๖๔

ผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์
บริษัท กรีนสปอต จ ากัด






สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับเพิ่มเติม) พ.ศ. ๒๕๕๘












จ านวนพิมพ์ ๒,๐๐๐ เล่ม
ปีที่พิมพ์ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔
จัดพิมพ์โดย มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์
Foundation for Needy Students under Royal Patronage
of Her Majesty the Queen
ศูนย์ดิจิทัลเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขที่ ๙๒๘ ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐
โทรศัพท์ ๐๒- ๓๙๑-๓๗๙๖ , ๐๒-๓๙๑-๒๓๒๔
โทรสาร ๐๒-๓๙๑-๒๓๕๔

อีเมล [email protected]
พิมพ์ที่ บริษัท ธนภูมิ เปเปอร์ ฟอร์ม จ ากัด
๙๕/๕ หมู่ ๕ ซอยแก้วอินทร์ ถนนกาญจนาภิเษก
ต าบลเสาธงหิน อ าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๔๐
โทรศัพท์ ๐๒-๑๙๔-๓๕๕๑ , ๐๒-๑๙๔-๓๕๕๒
โทรสาร ๐๒-๑๙๔-๓๕๕๒

๖๕

มูลนิธิช่วยนักเรียนที่ขาดแคลน ในพระบรมราชินูปถัมภ์
ศูนย์ดิจิทัลเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขที่ ๙๒๘ ถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. ๑๐๑๑๐

โทรศัพท์ ๐๒-๓๙๑-๓๗๙๖ , ๐๒-๓๙๑-๒๓๒๔ โทรสาร ๐๒-๓๙๑-๒๓๕๔


Click to View FlipBook Version