ตัวบ่งชี้ทีที่ 1.1.6 มีคววามรู้ ทักษะพพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่ออวิชาชีพ
ประเด็ด็น ผลการพัฒนา
มีความรู้ ร้อยละของนักเรียนนชั้นมัธยมศึกษษาปีที่ 3 ที่สาามารถเข้าศึกษษาต่อในระดับบชั้นมัธยมศึกษา
ทักษะ ตอนปปลาย ร้อยละ 100
พื้นฐาน แและ
เจตคติที่ดีดีต่อ
วิชาชีพ ร้อยละของนักเรียนนชั้นมัธยมศึกษษาปีที่ 6 ที่สาามารถเข้าศึกษษาต่อในระดับบสูงขึ้นร้อยละะ 100
1.2 คุณลักษณะที่พึงงประสงค์ของงผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ทีที่ 1.2.1 การรมีคุณลักษณณะและค่านิยมมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหหนด
ประเด็ด็น ผลกการพัฒนา
ลักษณะแและ ร้อยลละของนักเรียนนที่มีคะแนนพพฤติกรรมตามมเกณฑ์ที่กําหนนด
ค่านิยมที่ี่ดี จํานวนนนักเรียนที่มีคะะแนนพฤติกรรรมตามเกณฑ์
ตามที่
สถานศึกษา 600 453 495 486 4332 376 385
กําหนด 400
200 91 102
2 6 233 32
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
นักเรียนผิดระเบียยบ นักเรียนถูกระเบียบ
จากกกราฟพบว่านักกเรียนมีคะแนนนพฤติกรรมตตามเกณฑ์ร้อยยละ 91
ร้อยลละของนักเรียนนที่มีพฤติกรรรมคุณธรรมอัตตลักษณ์ตามทีที่สถานศึกษากํกําหนด
97.58 99.82 99.73 97.2 97 2 96 76 96.76
100
80
60
40
20
0
พอเเพียง กตัญญญู ซื่อสัตตย์ ความรับผิดชอบ อุดมการรณ์
จากกกราฟพบว่านักกเรียนมีพฤติกกรรมคุณธรรมมอัตลักษณ์ตามที่สถานศึกษษากําหนดร้อยยละ
98.222
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
ประเด็น ผลการพัฒนา
ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหน้าที่พลเมือง ตั้งแต่ 3 ขึ้นไป
จํานวนนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เกรด ๓ ขึ้นไป
100
80
60
40
20
0
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
จากกราฟพบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาหน้าที่พลเมือง
ตั้งแต่ 3 ขึ้นไปร้อยละ 100
จึงสรุปได้ว่าลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากําหนด ร้อยละ 96.41 ของผู้เรียนทั้งหมด
ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กําหนด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2.2 ความภูมิใจในท้องถิ่น รักษ์ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทยสู่สากล
ประเด็น ผลการพัฒนา
ความภูมิใจใน 1. ร้อยละของนักเรียนที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมในท้องถิ่นศิลปวัฒนธรรมไทยและความเป็นไทย
ท้องถิ่น รักษ์ อยู่ร้อยละ 100
ศิลปวัฒนธรร 2. นักเรียนได้รับรางวัลเกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมไทยและความเป็นไทยที่นักเรียนได้รับใน
มและความ ระดับต่างๆ และมีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยและความเป็นไทยในระดับต่าง ๆ มากกว่า
เป็นไทยสู่ 80 คน
สากล 4.ร้อยละของนักเรียนที่มีทักษะด้านดนตรีนาฏศิลป์ และศิลปะไทย อยู่ร้อยละ 100
จึงสรุปได้ว่านักเรียนที่มีความภูมิใจในท้องถิ่น รักษ์ศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย
สู่สากลร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กําหนด
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2.3 การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความหลากหลาย
ประเด็น ผลการพัฒนา
การยอมรับที่ ร้อยละของนักเรียนที่ยอมรับบนความแตกต่างและหลากหลายพบว่า นักเรียนที่
จะอยู่ร่วมกัน ยอมรับบนความแตกต่างและหลากหลายร้อยละ 100 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายที่กําหนด
บนความ
แตกต่างและ
ความ
หลากหลาย
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ตัวบ่งชี้ทีที่ 1.2.4 สุขภภาวะทางร่างงกาย และจิตตสังคม
ประเเด็น ผลการพัฒนา
สุขภาวะทาง ร้อยยละของจํานววนนักเรียนที่มีมีส่วนสูงตามเกกณฑ์อายุ
ร่างกายย และ
จิตสังงคม
ร้อยลละของจํานวนนนักเรียนที่มีส่ววนสูงตามเกณณฑ์อายุ อยู่ร้ออยละ 98.166
ร้อยยละของจํานววนนักเรียนที่มีมีน้ําหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
ร้อยละะของจํานวนนันักเรียนที่มีน้ําหหนักตามเกณณฑ์ส่วนสูงอยู่ร้ร้อยละ 71.399
ร้อยลละของนักเรียนนที่มีสุขภาพจิจิตตามเกณฑ์
84.80 92.18 90.43 90.14 14
100.00 90 82.49 77.52
80.00
60.00
40.00 22.48
15.20 17.51
20.00 7.82 9.57 9.86
0.00
ม.1 ม.2 ม ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
ร้ ร้อยละของนักเรียนที่มีสุขภาพจิตตามเกณณฑ์อยู่ร้อยละะ 86.26
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
จึงสรุปไดด้ว่านักเรียนมีมีสุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม อยู่รระดับยอดเยี่ยยม ร้อยละ 855.27 ของ
ผู้เรียนทั้งงหมด ซึ่งสูงกวว่าเป้าหมายทีที่กําหนด
ตัวบ่งชี้ทีที่ 1.2.5 ป้องกันตนเองจาากสารเสพติดดให้โทษและหหลีกเลี่ยงตนเเองจากสภาววะเสี่ยง
ประเด็ด็น ผลกการพัฒนา
ป้องกันตนเอง ป้องกันตนเองจากกสารเสพติดใหห้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะเสีสี่ยง พบว่า
จากสารเสพ 1. นักเรียนร้อยลละ 100 ปลออดจากสารเสพพติดให้โทษ
ติดให้โทษษและ 2. ไไม่มีนักเรียนทีที่ถูกหักคะแนนความประพพฤติด้านยาเสพพติดและพฤติติกรรมเสี่ยง
หลีกเลี่ยงง จึงงสรุปได้ว่านันักเรียนสามาารถป้องกันตตนเองจากสารเสพติดให้ห้โทษและ
ตนเองจาาก หลีกกเลี่ยงตนเองจากสภาวะเสี่ยยงอยู่ร้อยละ 1100 ซึ่งสูงกวว่าเป้าหมายที่กําหนด
สภาวะเสีสี่ยง
ตัวบ่งชี้ทีที่ 1.2.6 รู้คุณณค่า และร่วมมอนุรักษ์ ทรัพพยากรพลังงาาน และสิ่งแววดล้อม
ประเด็ด็น ผลกการพัฒนา
รู้คุณค่า แและ ร้อยลละของนักเรียนทีที่รู้คุณค่า ร่วมออนุรักษ์ทรัพยากกรพลังงานและสิสิ่งแวดล้อม
ร่วมอนุรักกษ์
ทรัพยากร 100
พลังงาน และ 90
สิ่งแวดล้ออม 80
70
60
50
40
30
20
10
0
ม.11 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
จึงสรุปปได้ว่านักเรียนนรู้คุณค่า และะร่วมอนุรักษ์ ททรัพยากรพลัังงาน และสิ่งแวดล้อม อยู่ร้ร้อยละ
100 ซึ่งสสูงกว่าเป้าหมมายที่กําหนด
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
3. สรุปผลการดําเนินงาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน
ผลการเรียนรู้ที่เป็นคุณภาพของผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ประกอบด้วยความสามารถ
ในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร การคิดคํานวณ การคิดระดับสูง การสร้างนวัตกรรม การใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร การมีความรู้ ทักษะพื้นฐานและเจตคติที่ดีต่อ
วิชาชีพ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่เป็นค่านิยมที่ดีตามสถานศึกษากําหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและ
ความเป็นไทย การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม
รวมทั้งรู้คุณค่าของการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีค่าสูงกว่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ จึงสรุปได้ว่า
มาตรฐานที่ 1 ด้านคุณภาพผู้เรียน มีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
จุดเด่น
1. ผู้เรียนสามารถอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง สามารถเขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคน
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาต่างประเทศที่ 2
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สูงกว่าระดับชาติ ทุกกลุ่มสาระที่มีการทดสอบและต่อเนื่อง
4. มีกระบวนการบริหารจัดการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จนทําให้นักเรียนมีผลคะแนน O-NET
สูงขึ้น และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมีคะแนนเต็มร้อยจํานวน 91 คน และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมี
คะแนนเต็มร้อยจํานวน 49 คน และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้รับรางวัลสถานศึกษาที่ส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาประสบผลสําเร็จ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ประจําปี 2561 ได้รับ
รางวัลระดับยอดเยี่ยมระดับประเทศ
5. มีการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมโครงงาน และได้รับรางวัลในระดับต่าง ๆ
6. นักเรียนมีผลงานที่โดดเด่นโดยนักเรียนได้รับรางวัลจากการแข่งขันทางวิชาการทั้งระดับนานาชาติ
จํานวน 18 รางวัล และระดับชาติ จํานวน 54 รางวัล
7. ผู้เรียนมีระเบียบวินัย จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่อง
ความมีวินัย เคารพกฎกติกา มารยาทของสังคม และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมตาม
โครงการสตรีวิทยารวมพลังรักษ์พิทักษ์โลก
จุดควรพัฒนา
1. ผู้เรียนในระดับชั้น ม.๑ - ม.๖ ยังต้องเร่งพัฒนาคือด้านการมีทักษะชีวิตและทักษะจําเป็นใน
ศตวรรษที่ ๒๑
2. พัฒนาสุขภาวะทางร่างกายของนักเรียนให้มีน้ําหนักอยู่ในเกณฑ์ส่วนสูงให้ตามเกณฑ์
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
มาตรฐานนที่ ๒ กระบบวนการบริหาารและการจัดดการ
ระดับคุณณภาพ : ยอดเเยี่ยม
โโรงเรียนสตรีรีวิทยามีการจัดระบบบริหหารจัดการคุคุณภาพของสสถานศึกษา มีมีการกําหนดดเป้าหมาย
วิสัยทัศน์น์ และพันธกิจอย่างชัดเจน สสามารถดําเนินนงานพัฒนาวิวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียยนรอบด้านตาามหลักสูตร
สถานศึกกษาในทุกกลุ่มมเป้าหมาย จััดทําแผนพัฒฒนาคุณภาพสสถานศึกษา ดํดําเนินการพัฒฒนาครูและบุคคลากรให้มี
ความเชี่ยยวชาญทางวิชชาชีพ และจัดดระบบเทคโนนโลยีสารสนเททศ เพื่อสนับสสนุนการบริหาารจัดการและะการเรียนรู้
รวมทั้งจัดดสภาพแวดล้ล้อมทางกายภภาพและสังคมที่เอื้อต่อกาารจัดการเรียนนรู้โดยมีรายลละเอียดแยกตตามตัวบ่งชี้
ดังนี้
ตัวบ่งชี้ทีที่ 2.1 การมีเป้าหมาย วิสััยทัศน์ และพัพันธกิจ ที่สถาานศึกษากําหนดชัดเจน
2.1.1 กระบวนการรพัฒนา
โรงเรียนสตรีรีวิทยาได้ดําเนินินการวิเคราะะห์สภาพปัญหหา ผลการจัดดการศึกษาที่ผผ่านมา โดย
การศึกษษาข้อมูลสารสสนเทศจากผลลการนิเทศ ติติดตาม ประเเมินการจัดกาารการศึกษาตามนโยบายยการปฏิรูป
การศึกษษา และจัดประะชุมระดมความคิดเห็นจากบุคลากรในนสถานศึกษาเเพื่อวางแผนรร่วมกันกําหนดดเป้าหมาย
ปรับวิสัยทัศน์ กําหนดดพันธกิจ กลยยุทธ์ ในการจัจัดการศึกษาขของสถานศึกษษาเพื่อพัฒนาาคุณภาพผู้เรียยน มาปรับ
แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกกษา แผนปฏิบบัติการประจํจําปี ให้สอดคคล้องกับสภาพปัญหา ควาามต้องการ
พัฒนาและนโยบายกการปฏิรูปการศึกษาพร้อมทั้งจัดหาทรรัพยากร จัดสรรงบประมมาณ มอบหมมายงานให้
ผู้รับผิดชชอบดําเนินกาารพัฒนาตามมแผนงานเพื่ออให้บรรลุเป้าาหมายที่กําหหนดไว้ มีการดดําเนินการนิเทศ กํากับ
ติดตาม ปประเมินผลกาารดําเนินงาน และสรุปผลกการดําเนินงานน
จากพันธกิจของโรงเรียนเพื่อให้องค์กกรดําเนินงานนเป็นไปตามเป้าในทิศทาางเดียวกัน
จึงกําหนนดกลยุทธ์ในกการทํางานเพืพื่อให้บรรลุพัพันธกิจ ซึ่งกาารกําหนดกลยุทธ์ของโรงเเรียนมีการวาางแผนการ
ดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง โดยใชช้กระบวนการ PDCA ในนการทบทวนนกลยุทธ์ให้สสอดคล้อง
กับการเปปลี่ยนแปลง ดัดังรูป
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
2.1.2 ผลการพัฒนนา
1) โรงเรียนนสตรีวิทยากํกําหนดเป้าหมาย วิสัยทัศศน์ และพันธธกิจไว้อย่างชัชัดเจนและ
สอดคล้อองกับสภาพปัญญหาความต้องการพัฒนาขของสถานศึกษษา นโยบายกาารปฏิรูปการศึศึกษา ความต้ต้องการของ
ชุมชน ท้อองถิ่น และสออดคล้องกับแนนวทางปฏิรูปตตามแผนการศึศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบบาลและต้นสัังกัดรวมทั้ง
ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
2) แผนพัฒฒนาคุณภาพกการจัดการศึกกษา แผนปฏิฏิบัติการประจําปี สอดคล้ล้องกับการ
พัฒนาผู้เเรียนทุกกลุ่มมเป้าหมาย มีการพัฒนาครูและบุคลากกรทางการศึกกษาให้มีความมรู้ความเชี่ยววชาญ ตาม
มาตรฐานนตําแหน่ง ข้ออมูลสารสนเททศมีความถูกต้ต้อง ครบถ้วน ทันสมัย นําไไปประยุกต์ใช้ช้ได้ ดําเนินกาารอย่างเป็น
ระบบ แลละมีกิจกรรมจัจัดสภาพแวดลล้อมทางกายภภาพและสังคมมที่กระตุ้นให้ผู้ผู้เรียนใฝ่เรียนนรู้
ผลลัพธ์จากกกระบวนการพัฒนาสามาารถโรงเรียนสสตรีวิทยาสามารถดําเนินกิกิจกรรมได้
ตามเกณฑฑ์พิจารณาจนนทําให้สถานศึศึกษากําหนดเเป้าหมาย วิสัยยทัศน์ และพันนธกิจ ได้อย่างชัดเจน และะกําหนดทิศ
ทางการพพัฒนาคุณภาาพของสถานศึศึกษาประจํา 2561-25665 จึงสรุปไได้ว่า ตัวบ่งชี้ชี้ที่ 2.1 การมีมีเป้าหมาย
วิสัยทัศน์น์ และพันธกิจทที่สถานศึกษาากําหนดชัดเจน อยู่ในระดับบยอดเยี่ยม
แผนพพัฒนาคุณภาพพสถานศึกษา พ.ศ. 2561--2565
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 มีระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ
2.2.1 กระบวนการพัฒนา
1) กลุ่มบริหารและกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ นํานโยบายลงสู่การปฏิบัติโดยการจัดทํา
แผนกลยุทธ์ระดับกลุ่มบริหารและกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีการกําหนดวิสัยทัศน์พันธกิจ และเป้าประสงค์ไว้ในแผน
กลยุทธ์ระดับกลุ่มบริหารและกลุ่มสาระการเรียนรู้
2) โรงเรียนสตรีวิทยาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปีสอดคล้องกับแผนพัฒนาการจัด
การศึกษาของสถานศึกษามีโครงการ กิจกรรมที่รองรับการพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษา โดยกําหนดบทบาทหน้าที่ของครู บุคลากรในสถานศึกษาและผู้เรียนให้มีส่วนร่วมรับผิดชอบในการ
ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจําปี
3) จัดทํากําหนดปฏิทินการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปีที่ชัดเจน เพื่อประชุม
ชี้แจงเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการประจําปีให้ครู บุคลากรในสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบ และมีระบบการติดตาม
การจัดระบบการนิเทศ กํากับ ติดตามงาน และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติการประจําปี
4) การประเมินโครงการและรายงานผลการดําเนินงานโครงการของสถานศึกษาในแต่
ละปีที่สะท้อนความสําเร็จของการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามวิสัยทัศน์เป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา รายงานผลความสําเร็จคุณภาพของผู้เรียนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาในภาพรวมมี
คุณภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 90.00
5) โรงเรียนสตรีวิทยาได้มีการขับเคลื่อนการบริหารงานด้วยระบบคุณภาพ วางแผน
อัตรากําลังและแผนพัฒนาบุคลกรในระยะเวลา 3-5 ปี มีการกํากับ ติดตาม และประเมินความพึงพอใจต่อระบบ
บริหารของผู้ที่เกี่ยวข้อง และการจัดการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ
6) มีการจัดรายงานผลการดําเนินงานของสถานศึกษาที่สะท้อนความสําเร็จของการ
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาอย่างชัดเจน
2.2.2 ผลการพัฒนา
จากการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี 2561 ทําให้ได้กลยุทธ์ระดับแผนงาน (โครงการ)
เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้ามาตรฐาน จํานวน 11 โครงการ ได้แก่
1. โครงการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
2. โครงการพัฒนาทักษะผู้เรียนสู่นวัตกร
3. โครงการส่งเสริมศักยภาพความเป็นพลโลกของผู้เรียน
4. โครงการสตรีวิทยาร่วมพลังรักษ์พิทักษ์โลก
5. โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม ตามวิถีความเป็นไทย บนพื้นฐานของหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
6. โครงการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้เชิงสหวิทยาการ
7. โครงการยกระดับสมรรถนะครูสู่นวัตกรรม
8. โครงการบริหารจัดการสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ TQA
9. โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ Learning Center ยุคดิจิทัล
10. โครงการความร่วมมือทางวิชาการ
11. โครงการสานสัมพันธ์สู่ชุมชนและสังคม
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณาจนทําให้
สถานศึกษามีการบริหารจัดการคุณภาพอย่างเป็นระบบทั้งในส่วนการวางแผนพัฒนา และการนําแผนไปสู่การ
ปฏิบัติ มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากําลังตาม
แผนที่วางไว้ ส่งผลทําให้สถานศึกษา ครู และนักเรียนได้รับรางวัลต่าง ๆ ทั้งในระดับเขต ระดับภาค ระดับชาติ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
และระดับนานาชาติ จึงสรุปไดว่า ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 มีระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาด้วยระบบคุณภาพ อยู่ใน
ระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.๓ ดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลุ่มเป้าหมาย
2.3.1กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยาได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารวิชาการเพื่อดําเนินงานวิชาการ พัฒนา
หลักสูตรของสถานศึกษา กําหนดเป้าหมาย และจัดทําเล่มหลักสูตรของโรงเรียนสตรีวิทยา ได้ครอบคลุม
ทุกเป้าหมายที่กําหนดไว้ ซึ่งหลักสูตรและกิจกรรมหลักสูตรมีความหลากหลายเพื่อส่งเสริมศักยภาพของผู้เรียน
อย่างรอบด้านและผู้เรียนสามารถนําไปเชื่อมโยงกับการดํารงชีวิตได้จริง มีพัฒนาการในความก้าวหน้าทาง
วิชาการสอดรับกับความต้องการของนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนที่คาดหวังให้บุตรหลานเข้าศึกษาต่อในระดับ
มหาวิทยาลัยต่อไป ดังนั้นจึงมีการจัดทําโครงการพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนรู้เชิงสหวิทยาการ โดยมี
การวิเคราะห์และจัดทําหลักสูตร เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถ และส่งเสริมให้ผู้เรียนไปสู่ศักยภาพ
สูงสุดของตนเอง ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสตรีวิทยา ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และได้จัดทําหลักสูตรกระบวนการจัดการเรียนรู้เทียบเคียง
มาตรฐานสากล โดยมีการจัดการเรียนรู้โครงการห้องเรียนพิเศษต่างๆ อาทิ หลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โครงการห้องเรียนหลักสูตรภาษาอังกฤษแบบเข้ม ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนมี
ความสามารถด้านการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา ทักษะชีวิตและการใช้เทคโนโลยี พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียน
มีคุณลักษณะตรงตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียนสตรีวิทยา สู่ความเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ โดยมี
กระบวนการดําเนินงาน ดังนี้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
นอกจากนี้โรงเรียนสตรีวิทยา ยังได้จัดโครงการเสริมหลักสูตรเพื่อสร้างเสริมศักยภาพ
นักเรียนในระดับนานาชาติที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชนและบริบทของโรงเรียน
คือ โครงการโอลิมปิกวิชาการ โดยมีกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม (ภูมิศาสตร์) เป็นผู้ควบคุมดูแลนักเรียนที่สนใจเข้าร่วมและฝึกฝนเพื่อเข้าร่วมแข่งขันในโครงการ
โอลิมปิกวิชาการระดับชาติ ทั้งนี้ผลจากการที่โรงเรียนมีหลักสูตรที่ส่งเสริมความเป็นเลิศของนักเรียนทางด้าน
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ส่งผลให้นักเรียนของโรงเรียนสตรีวิทยาได้รับการคัดเลือกเข้าข่ายโอลิมปิกวิชาการของ
มูลนิธิ สอวน. อย่างต่อเนื่องเป็นประจําทุกปี
หลักสูตรโครงการโอลิมปิกวิชาการโรงเรียนสตรีวิทยา
โรงเรียนสตรีวิทยาจัดระบบการนิเทศ กํากับ ติดตามการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง
ได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสตรีวิทยา เพื่อการนิเทศ กํากับติดตามการใช้
หลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องโดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อจัดทําหลักสูตร
กํากับติดตาม และประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาให้เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่
สมบูรณ์ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินหลักสูตรและนิเทศการสอนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อทํา
หน้าที่นิเทศการใช้หลักสูตรอย่างต่อเนื่องภาคเรียนละ 1 ครั้ง มีการประชุมฝ่ายบริหารและประชุมคณะกรรมการ
กลุ่มบริหารวิชาการเพื่อกํากับติดตามการใช้หลักสูตร มีช่องทางรับฟังความคิดเห็นจากนักเรียน ผู้ปกครองและ
ชุมชน ผ่านกิจกรรม Classroom meetingซึ่งมีการจัดประชุมระดมสมองรับฟังความเห็นจากผู้ปกครอง ภาค
เรียนละ 1 ครั้ง ทําให้สามารถนําผลมาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรให้เหมาะสมยิ่งขึ้น
โรงเรียนมีการนําผลการประเมินการนิเทศ และกํากับติดตาม การใช้หลักสูตรมาเป็นข้อมูล
พื้นฐานในการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรอย่างต่อเนื่อง เมื่อครบสิ้นปีการศึกษามีการประเมินผลการใช้หลักสูตรเป็น
ประจําทุกปี โดยเก็บข้อมูลนักเรียน ผู้ปกครองและชุมชนผ่านแบบประเมินความคิดเห็นเกี่ยวกับการใช้หลักสูตร
จากนั้นนําผลการประเมินไปวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรนักเรียนในปีการศึกษาต่อไป เพื่อปรับปรุง
พัฒนาให้ตอบสนองความต้องการของนักเรียน และทันสมัยตามบริบทของสังคมโลกที่เปลี่ยนแปลง ทําให้
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสตรีวิทยา เป็นหลักสูตรที่พัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถอย่างเต็มศักยภาพ
ของตนเอง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์การแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประเมินค่า
และนําไปใช้ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความพร้อมทั้งร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ทั้งนี้ผลการจากการดําเนินงาน
ต่างๆในด้านการจัดการหลักสูตรอย่างมีคุณภาพ ทําให้โรงเรียนได้รับความสนใจจากผู้ปกครองและชุมชนในการ
นํานักเรียนเข้าศึกษาต่อ โรงเรียนจัดอยู่ในโรงเรียนแข่งขันสูง เพราะมีหลักสูตรที่น่าสนใจและตรงตามความ
ต้องการของนักเรียน ทั้งนี้เมื่อได้ผลจากการประเมินต่างๆแล้ว ทางคณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้นําผล
การประเมินมาวิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขการดําเนินงานต่อไปอย่างต่อเนื่อง โดยมีกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาโรงเรียนสตรีวิทยา ดังนี้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ผลการประเมินหลัลักสูตรสถานศึศึกษา
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
2.3.2 ผลการพัฒนา
1) โรงเรียนสตรีวิทยามีการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปรับแผนการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและนโยบายการปฏิรูป
การศึกษาโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับผิดชอบ
2) ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายและเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและรับทราบ รับผิดชอบต่อการจัดการศึกษา
๓) สถานศึกษามีการนิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผลการบริหารและการจัด
การศึกษาที่เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนื่อง เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณาจนทําให้
สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพ
ผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย จึงสรุปไดว่า ตัวบ่งชี้ที่ 2.3ดําเนินงาน
พัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับยอด
เยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.4.1กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยาให้ความสําคัญในการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มี
ประสิทธิภาพด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการประมวลผลความต้องการพัฒนาตนเองและบุคลากร
ในด้านต่าง ๆ โดยการสํารวจ วิเคราะห์ และกําหนดสมรรถนะเพื่อให้บรรลุผลสําเร็จตามกลยุทธ์และแผนปฏิบัติ
การประจําปี ภายใต้โครงการยกระดับสมรรถนะครูสู่นวัตกรรมมีการจัดกิจกรรมศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้
สถานศึกษาภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อนํามาจัดทําแผนพัฒนาครูและบุคลากร โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม
สนับสนุนให้ครูและบุคลากรได้รับการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูและบุคลากร อย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี เช่น
การจัดอบรมทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ การจัดอบรมการทําโปรแกรมบันทึกผลการปฏิบัติงาน (Log Book
Teacher) การจัดอบรมการทําสื่อนวัตกรรมและการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ การจัดอบรมคุณครูห่วงใย การจัดอบรม
พัฒนาศักยภาพผู้กํากับเนตรนารี -ยุวกาชาด การจัดอบรมการเรียนการสอนไทยยุค 4.0 การจัดอบรมการ
ดําเนินงานชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ การศึกษาดูงานการจัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากลทั้งใน
ประเทศและนอกประเทศ รวมทั้งการสนับสนุนครูและบุคลากรเข้าร่วมอบรมและสัมมนากับหน่วยงานภายนอก
เช่น world class education resources international expo and conference การอบรมพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม การส่งเสริมให้ครูทุกคนเข้ารับการอบรมคูปองครูตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนส่งเสริมให้บุคลากรนําความรู้ ทักษะ ทั้งที่ได้จากการอบรม สัมมนา
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวการปฏิบัติที่ดีของหน่วยงานอื่น ๆ มาใช้ในการพัฒนางาน สร้างนวัตกรรมใหม่
การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม การพัฒนา ถ่ายโอนความรู้และการนิเทศการสอนจากครู
ผู้มีประสบการณ์ในการสอนมาหลายปี หรือที่เกษียณอายุ ส่งเสริมให้ครูมีความรู้และทักษะใหม่ ๆ
ในการปฏิบัติงานและมีการประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ นําผลการประเมินและติดตาม เสนอให้ผู้บริหาร
รับทราบและปรับปรุงผลการดําเนินตามแผนพัฒนาบุคลากร ปีละ 2 ครั้ง ครูและบุคลากรจัดทําแผน
การพัฒนาตนเอง (ID PLAN) เป็นการส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการพัฒนาในหลักสูตรที่สอดคล้อง
ตามภารกิจและวิชาชีพเป็นประจําทุกปี
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
โรงเรียนส่งเสริมครูมีผลงานทางด้านการวิจัยและนําผลของการวิจัยไปพัฒนาผู้เรียน
อย่างได้ผล โดยโรงเรียนได้มีการวางแผนและกําหนดนโยบายพัฒนาครูไว้ในแผนปฏิบัติการ มีโครงการ/กิจกรรม
ที่ส่งเสริมพัฒนาครูอย่างหลากหลาย และขับเคลื่อนการพัฒนางานวิจัย สื่อและนวัตกรรมของครูด้วย
กระบวนการชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพมีแผนการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ของโรงเรียนสตรีวิทยา
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
โรงเรียนสตตรีวิทยาส่งเสสริมครูให้มีผลลงานทางด้านนวิจัยและนําผผลของการวิจััยไปพัฒนา
ผู้เรียยนอย่างมีประะสิทธิภาพ แลละในแต่ละภาาคเรียนกําหนนดให้ครูมีการรจัดทํารูปเล่มมงานวิจัย 5 บท และ
เผยแแพร่ผลงานในนรูปแบบบทคววามทางวิชากการ ส่งผลให้คครู มีผลงานทาางด้านการวิจััยและนําผลขของการวิจัย
ไปพัฒัฒนาผู้เรียนอยย่างได้ผล
กระบวนกาารขับเคลื่อนชุมชนการเรียนนรู้เชิงวิชาชีพโโรงเรียนสตรีวิวิทยา
2.4.2ผลการพัฒนาา
1) สถานศึกกษามีการจัดแแผนพัฒนาบุบุคลากรและจจัดการอบรมมพัฒนาครูแลละบุคลากร
อย่างต่อเเนื่อง
2) ครูและบุคลากรมีแผนพัฒนาตนเองง (ID Plan) ร้ออยละ 100
3) ร้อยละของครูและบุคลากรที่มีการพพัฒนาตนเองตตามเกณฑ์ที่กํกําหนดร้อยละะ 100
4) ร้อยละขอองครูครูและบุคลากรร่วมแลกเปลี่ยนเเรียนรู้และสร้ร้างชุมชมการรเรียนรู้ทาง
วิชาชีพ (PLC)ร้อยละ 100 ซึ่งครูมีมีการสร้างกลุ่มมชุมชนการเรีรียนรู้ทางวิชาชีชีพ (PLC) ระะดับกลุ่มสาระะการเรียนรู้
และงานโโดยแบ่งเป็น 332 กลุ่ม ดังนี้นี้
1. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้ภาษาไทย จํานวน 4 กลลุ่ม
2. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้คณิตศาสตตร์ จํานวน 6 กลุ่ม
3. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้วิทยาศาสตตร์ จํานวน 8 กลุ่ม
4. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้สังคมศึกษาา ศาสนาและะวัฒนธรรม จําานวน 4 กลุ่มม
5. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้การงานอาชีพ และเทคโโนโลยี จํานวนน 1 กลุ่ม
6. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้สุขศึกษาแลละพลศึกษา จจํานวน 1 กลุ่ม
7. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้ศิลปะ จํานนวน 1 กลุ่ม
8. กลุ่มสสาระการเรียนนรู้ภาษาต่างปประเทศ จํานววน 5 กลุ่ม
9. งานแแนะแนว 1 กลุ่ม
10. งานนห้องสมุด 1 กกลุ่ม
5) ร้อยละะของครูมีจรรยาบรรณของงวิชาชีพครู พ.ศ. 2556 ทั้ทั้งจรรยาบรรณณต่อตนเอง
จรรยาบบรรณต่อวิชาาชีพ จรรยาบบรรณต่อผู้รัับการบริการร จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชชาชีพ และ
จรรยาบรรรณต่อสังคม ร้อยละ 1000
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
6) ครูและบุคลากรได้รับโล่ รางวัล และเกียรติบัตร เพื่อเชิดชูเกียรติในการพัฒนาผู้เรียน
ระดับต่าง ๆ
2559 2560 2561
ชื่อรางวัล
(คน) (คน) (คน)
1. ครูผู้อุทิศตนบําเพ็ญประโยชน์ทางการศึกษา 0 0 1
2. รางวัล MOE AWARDS 0 0 1
3. รางวัล SESAO AWARDS 1 5 2 5
4. ครูดีไม่มีอบายมุข 2 21 18
5. รองผู้อํานวยการ หัวหน้ากลุ่มบริหารโรงเรียน และหัวหน้ากลุ่มสาระฯ 0 0 15
5. ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาไม่มีวันลาประจําปีงบประมาณ 36 37 46
5. ครูดีในดวงใจ 40 40 30
6. ครูที่ปรึกษาดีเด่น 36 36 69
7. ลูกจ้างประจําดีเด่น 3 2 3
8. รางวัลครูผู้สอนดีเด่นระดับดีมาก 0 0 36
9. รางวัลครูผู้ส่งเสริมนักเรียนได้รับรางวัลระดับชาติ 0 0 63
รวม 122 138 287
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณา
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน จึงสรุปไดว่า ตัวบ่งชี้ที่ 2.4พัฒนาครูและบุคลากร
ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.5จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
2.5.1กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยาได้จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งสภาพแวดล้อมภาย โดยการ
ขับเคลื่อนภายใต้โครงการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ Learning Center ยุคดิจิทัล จัดห้องเรียนให้มีอุปกรณ์ที่เอื้อต่อ
การจัดการเรียนรู้ และพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสถานศึกษา ภายนอกโรงเรียนได้ปรับปรุงภูมิทัศน์
โดยรอบโรงเรียน เช่น อนุสาวรีย์สมเด็จย่า สวนหิน ห้องเกียรติยศ เป็นต้น มีการจัดมาตรการรักษาดูแลเพื่อ
ความปลอดภัย มีระบบ ICT ในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนโรงเรียนสตรีวิทยาได้มีการให้บริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความพอเพียงและทันสมัยของอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน เช่น
โครงการห้องเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ปรับปรุงห้องเรียนปกติทุกห้อง รวมทั้งห้องศูนย์สื่อการเรีนยรู้เป็น
ห้องเรียน ICT จํานวน 5 ห้องมีการติดตั้งอินเทอร์เน็ตเพื่อให้นักเรียนได้สืบค้นข้อมูล ห้องศูนย์นิทรรศรัตน
สังวาลย์ ห้องศูนย์การเรียนคณิตศาสตร์ (Mathematic Resource Center) มีห้องศูนย์อาเซียน ห้องปฏิบัติการ
วิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการทางคหกรรม มีการพัฒนาเว็บไซต์โรงเรียน และติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย
(Wireless) ความเร็วสูงภายในโรงเรียนให้บุคคลทั่วไปสามารถใช้สัญญาณอินเทอร์เน็ตได้ภายในบริเวณโรงเรียน
สําหรับระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ภายในโรงเรียนให้อยู่ในสภาพใช้การได้ดี เช่น การ
ปรับปรุงลิฟท์อาคารเบญจภัทรดิเรก ปรับปรุงระบบไฟฟ้าอาคารเก้าทศวรรษเปลี่ยนเครื่องปรับอากาศใน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ห้องเรียนอาคารเบญจภัทรดิเรกเป็นเครื่องปรับอากาศ ติดฉลากเบอร์ 5 การปรับปรุงห้องน้ํา การติดตั้งกล้อง
วงจรปิดทั่วบริเวณโรงเรียน การปรับปรุงซ่อมแซมระบบน้ําประปาและไฟฟ้า การดําเนินงานดังกล่าวทําให้
โรงเรียนสตรีวิทยามีระบบสาธารณูปโภคที่มีประสิทธิภาพลดงบประมาณค่าใช้จ่าย มีความปลอดภัยสูง มีระบบ
ป้องกันอันตราย ด้วยการดําเนินการตรวจสอบสม่ําเสมอ โรงเรียนมีการจัดระบบดูแลรักษาความสะอาดบริเวณ
โรงเรียน อาคารทุกอาคาร พื้นที่ต่าง ๆ โดยลูกจ้างประจํา ลูกจ้างชั่วคราว และจัดจ้างบริษัทเอกชนมืออาชีพมา
ดูแลทําความสะอาดอาคารเรียน ห้องน้ํา โรงอาหาร สนามและบริเวณทางเดินโดยรอบ ทําให้ผู้เรียน ผู้ปกครอง
ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่อยู่ในโรงเรียนมีความสุขและปลอดภัยอาคารทุกอาคารภายในโรงเรียนมีความ
สะอาดปลอดภัยถูกสุขลักษณะมั่นคงแข็งแรง เหมาะสมแก่การทํากิจกรรม มีการตรวจสอบและปรับปรุงเป็น
ประจําทุกปี มีระบบดูแลความปลอดภัยทั้งในและรอบ ๆ สถานศึกษา โรงเรียนได้ดําเนินการตามนโยบาย 5 ส.
จัดกิจกรรม Big Cleaning Day มีการจัดสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้เหมาะสมสวยงาม มีมาตรการห้ามนํา
อาหารขึ้นอาคารเรียน ส่งผลให้อาคารเรียน 7 หลัง หอประชุมโรงเรียน สนามและบริเวณโดยรอบมีสภาพมั่นคง
แข็งแรง สะอาดถูกสุขลักษณะ เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมอย่างชัดเจน มีระบบดูแลความปลอดภัยทั้งในและ
รอบสถานศึกษา มีการตรวจสอบถังดับเพลิง จัดทํามาตรการความปลอดภัย อีกทั้ง มีการจัดกิจกรรมอบรม
ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติภัย และการซ้อมอพยพหนีไฟทุก ๆ ปีการศึกษา ผลจากการดําเนินการทําให้
โรงเรียนได้รับรางวัลเกียรติบัตรดีเด่น สถานศึกษาปลอดภัย 3ปีติดต่อกันจากกองความปลอดภัยแรงงาน
กระทรวงแรงงาน
2.5.2 ผลการพัฒนา
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณาสถานศึกษา
จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อมทางสังคมที่เอื้อต่อการ
จัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัยจึงสรุปไดว่า ตัวบ่งชี้ที่ 2.5จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อ
การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.6จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการความรู้
2.6.1กระบวนการพัฒนา
1) โรงเรียนสตรีวิทยาได้การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศเป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็น
ปัจจุบันสะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ / การเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานต้นสังกัดการมีข้อมูล
สารสนเทศของผู้เรียน ครู และผู้บริหารเป็นรายบุคคลถูกต้อง ครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน
2) จัดทําข้อมูลสารสนเทศผลการประเมินผลคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษาที่ต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีการนําข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการบริหารจัดการ การพัฒนาการเรียน
การสอน และการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
3) โรงเรียนมีการพัฒนาและนําสื่อเทคโนโลยีมาใช้ปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ของ
สถานศึกษา เช่น ห้องเรียน ICT เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ มีการติดตั้งอินเทอร์เน็ตเพื่อนักเรียนได้สืบค้นข้อมูล ติดตั้ง
จอแสดงผลขนาดใหญ่บริเวณอาคารเก้าทศวรรษ สําหรับถ่ายทอดภาพการจัดกิจกรรมต่าง ๆ พัฒนาเว็บไซต์
โรงเรียนและติดตั้งสัญญาณอินเทอร์เน็ตไร้สาย (Wireless) ความเร็วสูงภายในโรงเรียน มีป้ายนิเทศ
อิเล็กทรอนิกส์ (บอร์ดตัวหนังสือวิ่ง) เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ประกาศ ข่าวสารต่าง ๆ จัดทําข้อมูลสารสนเทศผ่าน
ระบบเครือข่ายภายในโรงเรียน เช่น ระบบการเก็บข้อมูลภายในโรงเรียน (Data Center) และผ่านระบบ
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ได้แก่ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ E- Office ระบบการวัดผลประเมินผลผ่านโปรแกรม
Oracle (โปรแกรมผลส้ม) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียน Ps schoolโดยมีวิธีการจัดเก็บหรือใช้
เครื่องมือทันสมัยและมีการปรับปรุงวิธีการ ได้จัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศอยู่เสมอ งานคอมพิวเตอร์เพื่อการ
บริหารเป็นหน่วยงานกลางเก็บรวบรวมงานสารสนเทศทุกหน่วยงานเป็นรูปเล่มประจําปีการศึกษา งานทะเบียน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
วัดผลเก็บบรวบรวมผลกการเรียนเพื่อปประมวลผลแลละรายงานต่อผู้ปกครองเป็นนประจําทุกภาคเรียน และรายงานต่อ
สํานักงานนคณะกรรมกการการศึกษาาขั้นพื้นฐาน งงานคอมพิวเตตอร์เก็บรวบรวมผลงานของครูและผู้เรียยนโรงเรียน
สตรีวิทยาาขึ้นบนเว็บไซซต์ของโรงเรียน
ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ E- Officce
ระบบการวัดผลประเมินผลลผ่านโปรแกรรม Oracle (โปปรแกรมผลส้มม)
ระบบสสารสนเทศและะการสื่อสารขของโรงเรียน PPsschool
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
2.6.2 ผลการพัฒนา
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณาสถานศึกษา
จัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษาจึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 2.6จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
สนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการความรู้ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ ๒.7 เครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
2.7.1กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยามีการจัดโครงการความร่วมมือทางวิชาการและโครงการสานสัมพันธ์สู่
ชุมชนและสังคมเพื่อสร้างเครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ โดยการจัดทํากิจกรรม
ความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน องค์กรภายในและภายนอกประเทศ
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เพื่อประสานความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรภายในและ
ภายนอกประเทศในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนให้เป็นบุคคลที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
ความรู้ และคุณธรรม ดําเนินกิจกรรมที่เป็นสาธารณประโยชน์ มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อย
ภาคเรียนละ 2 ครั้ง ผู้ปกครองได้เข้ามามีบทบาทสําคัญในการจัดการศึกษา มีบทบาทในฐานะการสร้างความ
ร่วมมือ แนวร่วม มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างบ้านและสถานศึกษา พ่อ แม่
ผู้ปกครอง มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมพัฒนาพฤติกรรมผู้เรียน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์และ
แนวคิดระหว่างผู้ปกครอง ครูและนักเรียนในสถานศึกษา การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา และชุมชน ในการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของสถานศึกษา เช่น
1.คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สนับสนุนส่งเสริมวางแผน กํากับดูแลสถานศึกษา
และสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ อาคารสถานที่ บรรยากาศห้องเรียน
สิ่งแวดล้อมโรงเรียน ทุนการศึกษา พัฒนาบุคลากร
2. สมาคมผู้ปกครองและครูสตรีวิทยา สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
สื่อ วัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ บรรยากาศห้องเรียน สิ่งแวดล้อมโรงเรียน ทุนการศึกษา พัฒนาบุคลากร โดยมี
การจัดกิจกรรมร่วมกับโรงเรียน ได้แก่ กิจกรรมเดินการกุศล (Walk really)
3.องค์กรเครือข่ายผู้ปกครอง ด้านวิชาการ สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ บรรยากาศห้องเรียน ทุนการศึกษา พัฒนาบุคลากร จัด O–NET
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และช่วยจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน กิจกรรมอาลาคอซองระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และกิ
จรรมอาลัยรักชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้านพฤติกรรมนักเรียน สนับสนุนช่วยครูดูและสอดส่องพฤติกรรมของบุตร
4. องค์กรอื่น ๆ สนับสนุนด้านวิชาการ ทุนการศึกษา พัฒนาแหล่งเรียนรู้ พัฒนาบุคลากร
5. ศิษย์เก่า สนับสนุนด้านวิชาการ ทุนการศึกษา ช่วยจัดกิจกรรมให้กับนักเรียน
6. ชุมชน
- กิจกรรมกินอยู่รู้คิดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
- กิจกรรมตักบาตรวิถีพุทธ
- กิจกรรมให้ความรู้กับชุมชน และโรงเรียนคู่พัฒนา
- กิจกรรมด้านศาสนาร่วมกับชุมชน
- กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติดโลก
7. โรงเรียนคู่พัฒนา โรงเรียนสตรีวิทยาได้มีโรงเรียนคู่พัฒนาจํานวน 2 โรงเรียน ได้แก่
โรงเรียนวัดบวรนิเวศ และโรงเรียนมัธยมวัดมกุฎกษัตริย์ ในปีการศึกษา 2561 โรงเรียนสตรีวิทยาได้จัดให้มี
ความร่วมมือทางวิชาการ ได้แก่ การอบรมเชิงปฏิบัติการการเรียนการสอน IS และกิจกรรมอบรมการสร้างชุมชน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC) จากการที่โรงเรียนได้ร่วมกับท้องถิ่นและชุมชนร่วมกันทํากิจกรรมต่าง ๆ เหล่านี้
ทําให้โรงเรียนและชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน โรงเรียนและท้องถิ่นได้มีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ทําให้มีผลต่อ
การพัฒนาของโรงเรียนและท้องถิ่นชุมชน อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นอย่างดี
สําหรับการสร้างเครือข่ายระหว่างโรงเรียนและชุมชนในการพัฒนาการศึกษาการลงนาม
บันทึกความเข้าใจ (MOU) และลงนามบันทึกข้อตกลง (MOA) กับสถานศึกษาในต่างประเทศทั้งที่ผ่านสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หรือโรงเรียนดําเนินการเองโดยตรง นับเป็นอีกช่องทางที่ทําให้เกิดความ
ร่วมมือเครือข่ายทางการศึกษา แลกเปลี่ยนทางวิชาการ บุคลากรในสถาบันการศึกษาอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งเป็น
การยกระดับมาตรฐานของภาษาอังกฤษซึ่งเป็นเครื่องมือสําคัญที่ใช้ในการสื่อสารอย่างแพร่หลายทั่วโลก และทํา
ให้สามารถเข้าถึงความรู้ข้อมูลตลอดจนการพัฒนาด้านต่าง ๆ ในยุคโลกาภิวัฒน์ โดยเฉพาะประเทศไทยที่ไม่ใช่
เจ้าของภาษา โรงเรียนสตรีวิทยาซึ่งได้รับการยอมรับว่าเป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นนําของประเทศได้
เล็งเห็นความสําคัญในการพัฒนาการศึกษาให้ก้าวทันนานาประเทศจึงได้เข้าร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจและลง
นามบันทึกข้อตกลงกับประเทศต่าง ๆ ทั้งกับประเทศที่สื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ อาทิเช่น สหรัฐอเมริกา
ออสเตรเลีย และประเทศทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ สิงคโปร์ เกาหลี จีน และญี่ปุ่น เป็นต้นการลง
นามดังกล่าวเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในด้านภาษาอังกฤษ ภาษาอื่น ๆ และวัฒนธรรม ตลอดจนความ
ร่วมมือทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ (STEM Education) การพัฒนาครู
การพัฒนาหลักสูตร การเรียนการสอน การพัฒนาสื่อการสอน การประเมินผล ตลอดจนคุณภาพของ
แบบทดสอบ หลังจากที่ได้ลงนามบันทึกความเข้าใจและบันทึกข้อตกลงแล้ว โรงเรียนได้จัดทําโครงการเพิ่มพูน
ทักษะการเรียนรู้และทักษะชีวิตสู่โลกกว้างและ Summer Abroad นํานักเรียนไปร่วมกิจกรรมและเปลี่ยนใน
ต่างประเทศในช่วงปิดภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 เป็นประจําทุกปี กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเพื่อรองรับ
นักเรียนหลักสูตรปกติ และโครงการห้องเรียนพิเศษต่าง ๆ อย่างทั่วถึงตามความสมัครใจ รายละเอียดโครงการ
แลกเปลี่ยนต่าง ๆ ดังนี้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
2.7.2 ผลการพัฒนา
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาสามารถดําเนินกิจกรรมได้ตามเกณฑ์พิจารณาสถานศึกษา
มีเครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อการแลกเปลี่ยนและพัฒนา จึงสรุปได้ว่า
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7เครือข่ายทางการศึกษาทั้งภายในประเทศและต่างประเทศอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
สรุปผลการดําเนินงาน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรียนสตรีวิทยามีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากําหนดชัดเจน สอดคล้องกับ
บริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน นโยบายของรัฐบาล แผนการศึกษาแห่งชาติ เป็นไปได้ในการ
ปฏิบัติและทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาที่ชัดเจน มีประสิทธิภาพ
ส่งผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้องของทุกฝ่าย มีการนํา
ข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนางานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างได้ มีการดําเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้น
คุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง และเป็นแบบอย่าง
ได้ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศึกษา และจัด
ให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนางาน มีการจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ
จัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ และมีความปลอดภัยจนได้รับรางวัลสถานศึกษาปลอดภัย มีการจัดระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารและการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา จึง
สรุปได้ว่า มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการมีระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
จุดเด่น
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยใช้กระบวนการต่าง ๆ เช่น
PDCA,PDSA และ CIPP Model เป็นต้น มีการบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ
กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการ
ประจําปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายปฏิรูปการศึกษาที่
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้
อย่างมีคุณภาพ มีการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานและจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษาและ
โรงเรียนใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล ระบบสารสนเทศมีการปรับให้เป็นปัจจุบันเพื่อใช้เป็นฐานใน
การวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
จุดควรพัฒนา
1. ควรมีวางแผนพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพให้สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหา และนโยบายปฏิรูปการศึกษาให้เป็นปัจจุบัน อยู่ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพของกระบวนการบริหาร
ของผู้บริหารสถานศึกษา
2. พัฒนาครูให้มีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ
3. จัดทําความร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก
เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านต่าง ๆ และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนและครูให้สูงขึ้น
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ระดับคุณภาพ : ยอดเยี่ยม
โรงเรียนสตรีวิทยาดําเนินการส่งเสริมให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ โดยการ
ดําเนินงาน/กิจกรรมที่หลากหลาย ได้แก่ งานหลักสูตรมีการประชุมปฏิบัติการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา
พัฒนาสู่ประชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล และจัดทําหลักสูตรให้มีความหลากหลายตามความถนัดและ
ความสนใจของผู้เรียน มีแผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักสูตรสถานศึกษา และภูมิปัญญาท้องถิ่นมี
การบูรณาการภาระงานและชิ้นงาน ปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กําหนด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ สนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้
นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการ
คิดระดับสูง เช่น การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน เน้นกระบวนการกลุ่มและการมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและ
ประสิทธิภาพของสื่อการสอนที่ใช้ ครูทุกคนทํางานวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง นอกจากนี้
โรงเรียนได้มีการกํากับติดตาม และประเมินผลการจัดการเรียนรู้โดยการนิเทศการสอน และการประเมินผลการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยนักเรียน อีกทั้งโรงเรียนได้มีการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ เพื่อให้ครูได้มี
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และร่วมมือกันในการพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ด้านการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน ด้านการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านการวัดผลประเมินผล และด้านการพัฒนาคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ โดยมีรายละเอียดแยกตามตัวบ่งชี้ ดังนี้
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงและสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้
3.1.๑ กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยามีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตรของสถานศึกษา โดยเริ่มจากการทํา SWOT ศึกษามาตรฐานและ
ตัวชี้วัดตามหลักสูตร สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีการนําผลการสอบวัดผลแห่งชาติ
O-NET ของ สทศ. มาเป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ครูทุกคนจะต้องทําการวิเคราะห์หลักสูตร มีการ
จัดทําคําอธิบายรายวิชา กําหนดจุดประสงค์การเรียน/ผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรมีการกําหนดปฏิทิน
โครงการสอนที่ชัดเจน รวมทั้งกําหนดวิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลาย เพื่อประเมินตามสภาพจริง และ
ประเมินตามความเหมาะสมกับนักเรียน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ตัวอย่างการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ตัวอย่างคําอธิบายรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้ โครงการสอน
เมื่อครูมีการวิเคราะห์หลักสูตรการจัดการเรียนการสอนแล้ว ก็นําไปสู่การออกแบบ
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ มีการศึกษาแนวทางและวิธีสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหาและ
สมรรถนะของผู้เรียนครูโรงเรียนสตรีวิทยาทุกคนได้จัดทําหน่วยการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรครบทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้โดยมีกระบวนการจัดทําหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้
1. วิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
2. จัดทําโครงสร้างรายวิชา จุดประสงค์การเรียนรู้/ผลการเรียนรู้
3. กําหนดกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
4. จัดเตรียมสื่อ เทคโนโลยี แหล่งศึกษาเรียนรู้ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
5. กําหนดเครื่องมือการวัดและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพและหลากหลาย
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
6. การนิเทศการสอนโดยเพื่อนครู และการประเมินการจัดการเรียนรู้ของครูโดยนักเรียน
7. นําผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไข เพื่อจัดทําหน่วยการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพต่อไป
ทั้งนี้ แผนการจัดการเรียนรู้ได้รับการอนุมัติจากฝ่ายบริหารก่อนนํามาใช้และมีการตรวจ
แผนการจัดการเรียนรู้โดยครูชํานาญการพิเศษของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตร
ขั้นวางแผน (P) ขั้นดําเนินการ (D) ขั้นประเมินผล (C) ปรับปรุง/แก้ไข (A)
-รวบรวมข้อมูลเพื่อสร้าง - ผู้บริหารเข้านิเทศครูทุกกลุ่มสาระ
ความตะหนักในการ การเรียนรู้/งาน กําหนดทิศทาง -ดําเนินกิจกรรมนิเทศ -ศึกษา วิเคราะห์
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ แนวทางการทํางาน การสอนตามปฏิทิน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ทางการเรียน -พัฒนาครูให้มีความรู้และทักษะด้าน -กลุ่มสาระการเรียนรู้/ และผลการทดสอบทาง
-วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ การจัดทําแผนการเรียนรู้ ทักษะด้าน งาน วิเคราะห์ สรุป การศึกษาระดับชาติขั้น
ทางการเรียน/การทดสอบ การจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็น การเข้านิเทศของครู พื้นฐาน (O-NET)เพื่อ
ทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สําคัญ ทักษะด้านการวัดผลและ -วิเคราะห์ ผลการ ปรับปรุงและพัฒนาการ
ระดับชาติO-NET /ข้อสอบ ประเมินผลตามแนวของ สทศ. ประเมินการจัดการ จัดการเรียนรู้
กลาง/ข้อสอบตามแนว และแนวคิดของ Bloom โดย เรียนรู้ของครูโดย -ศึกษา วิเคราะห์ผลการ
PISA จัดหาวิทยากรจากหน่วยงาน นักเรียน พัฒนาครู การจัดการ
-วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง ภายนอกมาให้ความรู้และจัด -รวบรวมทําเป็นสถิติ เรียนรู้ ผลการนิเทศเพื่อ
จากการทํา SWOT กิจกรรม แผนภูมิ ผลการนิเทศ จัดทําแผนการจัดการ
-วิเคราะห์หลักสูตร -จัดประชุมเพื่อกําหนดทิศทางการ และการประเมินการ เรียนรู้ให้มี
แกนกลางการศึกษาขั้น นิเทศ ปฏิทินการดําเนินกิจกรรม จัดการเรียนรู้ ประสิทธิภาพ
พื้นฐาน พุทธศักราช นิเทศการสอนในแต่ละภาคเรียน -รายงานผลการนิเทศ ประสิทธิผล
2551/หลักสูตร -จัดทําคําสั่งนิเทศการสอน ของครูและนักเรียน -ปรับปรุงการเรียนการ
สถานศึกษา/วิสัย พันธกิจ -สร้างเครื่องมือ/แบบประเมินการ -มอบรางวัลเชิดชู สอนของครู
จัดการเรียนรู้ของครูโดยนักเรียน เกียรติครูผู้จัดการ
ผ่านแบบประเมินออนไลน์ เรียนการสอนดีเด่น
-พัฒนาครู ส่งเข้ารับการอบรม
เข้าสอบการวัดผลและประเมินผล
การปรับปรุง/แก้ไข
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ตัวัวอย่างการอนุนุมัติแผนการสสอน และการปประเมินแผนกการจัดการเรียยนรู้
นอกจากนี้มีการนํนําข้อมูลของนันักเรียนมาใช้ใในการพัฒนาผู้เรียน โดยการจัดการสอนนซ่อมเสริม
นักเรียนทีที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนนต่ําโดยจัดกิจกกรรมสอนเสริริมนักเรียนกลุลุ่มห่วงใยและคลินิกของกลุุ่่มสาระการ
เรียนรู้ต่าางๆ พบว่าผลสสัมฤทธิ์ทางกาารเรียนเฉลี่ยรระดับชั้นมัธยมมศึกษาตอนต้ต้นและชั้นมัธยยมศึกษาตอนนปลาย รวม
6 ภาคเรีรียน ไม่มีนักเรีรียนคะแนนเฉฉลี่ย ต่ํากว่า 22.00 โดยคิดดเป็นร้อย 0 ซึ่งสําหรับนักกเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3 หากนัักเรียนมีผลสััมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย ตต่ํากว่า 2.000 ที่ประสงค์เรีรียนต่อในระดดับชั้นมัธยมศึศึกษาปีที่ 4
ต้องสอบบเข้าเรียนใหมม่พร้อมนักเรียยนทั่วไป ซึ่งฝ่ฝายบริหารได้้แจ้งข้อมูลเงื่ออนไขให้ผู้ปกคครองรับรู้ในกการประชุม
ผู้ปกครองในวันมอบตัวัวนักเรียนเมื่ออเปิดภาคเรียนน วัน Classrooom meetinng วันประชุมผู้ปกครองเลืออกแผนการ
เรียนระดัดับชั้นมัธยมศึกกษาปีที่ 3
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
3.1.๒ ผลการดําเนินงาน
มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ โรงเรียนดําเนินการ - ครูมีการสร้างและพัฒนาหลักสูตรเพื่อการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
ด้านการ ส่งเสริมให้ครูจัดการ โดยครูมีการกําหนดเป้าหมายและคุณภาพผู้เรียนด้านความรู้ ทักษะ กระบวนการ
จัดการเรียน เรียนการสอนที่เน้น สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ร้อยละ ๑๐๐
การสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสําคัญโดย - ครูมีการออกแบบหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
ผู้เรียนเป็น ดําเนินโครงการอย่าง ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายร้อยละ ๑๐๐
สําคัญ หลากหลายได้แก่ - ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และนําข้อมูลมาใช้ในการวางแผน และ
๓.๑ จัดการ ๑. ครูวิเคราะห์จัดทํา การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
เรียนรู้ผ่าน หลักสูตร และออกแบบ ร้อยละ ๑๐๐
กระบวนการ การจัดกิจกรรมการ - ครูมีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ร้อยละ ๑๐๐
คิดและปฏิบัติ เรียนรู้
จริง และ
สามารถนําไป
ประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน
ได้
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าเป้าหมายในทุกเกณฑ์พิจารณา จึงสรุปได้
ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
3.2.๑ กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนมีการส่งเสริมให้มีการวางแผนการจัดหาและผลิตสื่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ร่วมผลิตสื่อประกอบการเรียนการสอน มีการใช้สื่ออย่างหลากหลาย เช่น สื่อ
เทคโนโลยี สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ มีการขยายผลการใช้สื่อการเรียนรู้ที่
มีคุณภาพเผยแพร่แก่ผู้ที่สนใจศึกษา วิเคราะห์ การใช้และผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการจัดการเรียนการสอนให้
สอดคล้องกับมาตรฐานตัวชี้วัดและเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผลิต พัฒนาสื่อและนวัตกรรม
การเรียนการสอน โดยการจัดโครงการผลิตสื่อการเรียนรู้ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สื่อที่ผลิตแล้วโดยใช้
กระบวนการ PLC ประสานความร่วมมือในการผลิตสื่อ จัดหาพัฒนาการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีกับ
หน่วยงานและสถาบันอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนมีการเผยแพร่ เทคโนโลยี นวัตกรรม ในงานนิทรรศการวิชาการ
มีการนําเสนอสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ผลงานนักเรียน ทั้งนี้โรงเรียนได้ส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณ
การวางแผนการจัดหาและผลิตสื่อการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม โดยให้ครูผู้สอนทุกคนประชุมวางแผน สํารวจความ
ต้องการของครู นักเรียน และเขียนโครงการในการจัดหาหรือผลิตสื่อการเรียนรู้ของครูแต่ละคนเพื่อเสนอขอ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
อนุมัติ เมื่อผ่านการเสนอขออนุมัติเรียบร้อยแล้วโรงเรียนจะดําเนินการจัดชื้อสื่อและอุปกรณ์/จัดการอบรมให้
ความรู้แล้วดําเนินการ จากนั้นสรุปผลและประเมินผล
นอกจากนี้ โรงเรียนยังมีการพัฒนาสมรรถนะครูด้านสื่อและเทคโนโลยี โดยจัดการ
อบรมเกี่ยวกับการทําสื่อต่างๆ เช่น การสร้าง Infographic การใช้โปรแกรม kahoot เป็นต้นอย่างต่อเนื่องทุกปี
ส่งเสริมให้ครูแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้และแต่ละรายวิชามีการใช้สื่อจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลายตาม
ธรรมชาติของวิชา ทั้งสื่อเป็นสื่อเทคโนโลยี สื่อหรือแหล่งเรียนในโรงเรียนหรือภายนอก โดยมีรายการประเภทสื่อ
และนวัตกรรม
3.2.๒. ผลการดําเนินงาน
มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ 1. ส่งเสริม สนับสนุน - ครูมีการสร้างพัฒนา และประเมินผลการใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา
๓.๒ใช้สื่อ การวางแผนการจัดหา และแหล่งเรียนรู้ร้อยละ ๑๐๐
เทคโนโลยี และผลิตสื่อการเรียนรู้
สารสนเทศ และ แบบมีส่วนร่วม
2.ใช้สื่อการเรียนรู้เพื่อ
แหล่งเรียนรู้ที่เอื้อ การจัดการเรียนรู้อย่าง
ต่อการจัดการ หลากหลาย
เรียนรู้ 3. ส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อ
การจัดการเรียนรู้
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย จึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.2
ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
3.3.๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยามีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก โดยเน้นการมีปฏิสัมพันธ์เชิง
บวกระหว่างนักเรียนกับครู ระหว่างครูกับนักเรียน ระหว่างนักเรียนกับนักเรียน ให้เด็กรักครู ครูรักเด็ก และเด็ก
รักเด็ก เด็กรักที่จะเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุขโดยการบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ
สถานศึกษาที่สะท้อนการดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง ๓ ปี ให้เห็นถึงแนวคิดและวิธีการที่สอดคล้องต่อสภาพปัญหา
และบริบทของสถานศึกษาดังนี้
1.1 ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โรงเรียนสตรีวิทยา มีการจัดทําข้อมูลนักเรียนรายบุคคลเป็นปัจจุบัน พร้อมนําไปใช้ มี
สารสนเทศ ผลการคัดกรองนักเรียน ๓ ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕9– ๒๕๖1 แสดงถึงการ
ดําเนินงาน อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ นักเรียนทุกคนได้รับการดูแล ส่งเสริม สนับสนุน อย่างเต็มกําลัง
ความสามารถ มีการสรุปข้อมูลและรายงานผลการพัฒนา ป้องกัน แก้ไขปัญหาและส่งต่อตามระบบการดูแล
ช่วยเหลือ นักเรียน สารสนเทศต่าง ๆ นี้ โรงเรียนได้นํามาพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เสริมสร้าง
ทักษะ ชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนในทุก ๆ ปี
1.2 นโยบายของสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้าง
ทักษะชีวิต และการคุ้มครองนักเรียน
โรงเรียนสตรีวิทยามีการกําหนดแนวทางตามนโยบายเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และการคุ้มครองนักเรียนอย่างชัดเจน มีแผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ
แผนงาน โครงการ ปฏิทินปฏิบัติตามแผนที่ชัดเจน กําหนดทิศทางพัฒนาการบริหารงานสอดคล้องกับบริบทของ
โรงเรียน มีการออกคําสั่งแต่งตั้งคณะทํางานเกี่ยวกับระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เป็นคณะทํางานในการ
เสริมสร้างทักษะชีวิต และการคุ้มครองนักเรียนที่ชัดเจน และมีการนําระเบียบและแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียนมาใช้ได้อย่างเหมาะสม
1.3 แนวทาง/รูปแบบการบริหารจัดการของสถานศึกษาสะท้อนแนวคิดที่สอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาและบริบทของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและนําผลการดําเนินงานมาปรับปรุง
พัฒนาในกาปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต และการ
คุ้มครอง นักเรียน โดยมีแนวทางบริหารดําเนินงานสอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และมีแนว
ทางการ ดําเนินงานที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาและบริบทของสถานศึกษา ดังนี้
การทํางานโดยใช้การบริหารแบบ CIPP Model และวงจรคุณภาพ PDCA เพื่อการ
บริหารจัดการ อย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ โดยมีกระบวนการ ดังนี้
C - Context บริบทสภาพแวดล้อม โดยโรงเรียนได้ทําการศึกษาสภาพปัญหาและบริบทของ
โรงเรียนเกี่ยวกับความต้องการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ทักษะชีวิตและการคุ้มครองนักเรียน โดยการสํารวจ
สัมภาษณ์และสอบถามปัญหาและความต้องการของนักเรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน รวมทั้งศึกษา
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสํานักงานเขตพื้นที
การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ เกี่ยวกับนโยบายที่สอดคล้องในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อนํามาเป็นแนว
ทางการดําเนินงาน
L – Inputปัจจัยนําเข้า เมื่อโรงเรียนได้ศึกษาสภาพปัญหา ความต้องการและบริบทของ
สภาพแวดล้อมต่างๆที่เกี่ยวข้องแล้ว ได้ทําการศึกษาปัจจัยนําเข้าในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน ได้ศึกษาเกี่ยวกับ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
บุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้ปกครอง นักเรียน ครูและภาคีเครือข่ายต่างๆ ศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับ งบประมาณ วัสดุ
อุปกรณ์ในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และกระบวนการบริหารจัดการที่มีคุณภาพ
P – Process กระบวนการ โดยเริ่มตั้งแต่การแต่งตั้งคณะทํางาน การประชุม วางแผนการ
ดําเนินงานกิจกรรมตามแผน การประเมิน วัดผลและติดตามผลการดําเนินงานอย่างต่อเนื่องอย่างเป็นระบบและ
เป็นกัลยาณมิตร ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และประสานความร่วมมือในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ของครูประจําชั้น/ครูที่ปรึกษาและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง นําเสนอข้อมูล ความรู้และเทคนิควิธีเป็นประโยชน์ต่อการ
ช่วยเหลือนักเรียน ติดตามผลการดําเนินการของครูในการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างสม่ําเสมอ เป็นระบบจาก
การประชุมคณะกรรมการ
P – Product ผลลัพธ์จากการดําเนินงาน โดยกํากับและติดตามการแก้ไขปัญหานักเรียน การ
พัฒนานักเรียน การส่งต่อนักเรียนทั้งในด้านของพฤติกรรม การเรียน สุขภาพกาย สุขภาพจิตและด้านเศรษฐกิจ
โดมีเป้าหมายลดจํานวนลงทุกปี รวมทั้งการดําเนินกิจกรรมต่างๆเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย
นอกจากการบริหารตามหลัก CIPP Model และวงจรคุณภาพ PDCA แล้ว โรงเรียนยังได้
กําหนดโครงสร้างและรูปแบบการบริหารงานเพื่อให้เป็นกลไกการดําเนินงานให้มีประสิทธิภาพ ดังนี้
ทีมนํา
ทีม ทีมทํา
แผนภาพ : โครงสร้างการดําเนินงาน
ระบบทีมในโรงเรียน
ระบบการทํางานในโรงเรียนในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน เสริมสร้างทักษะชีวิตและการ
คุ้มครองนักเรียนให้มีปริทธิภาพ โดยได้กําหนดและแบ่งบทบาทหน้าที่ชัดเจนให้ทุกคนมีส่วนร่วมและเป็นกลไก
สําคัญในการทํางานให้ประสบผลสําเร็จ ซึ่งสามารถแบ่งบทบาทตามภาระและหน้าที่ของทุกคนได้ดังนี้
1. ทีมนํา
เป็นทีมที่มีบทบาทชี้นํา กําหนดทิศทางการพัฒนา และนําเพื่อการเปลี่ยนแปลงในโรงเรียน
ขณะเดียวกันก็มีบทบาทในการเสริมสร้างพลังเชิงบวกในการทํางานให้ทุกคน ตลอดจนสร้างขวัญ กําลังใจ ให้
ความช่วยเหลือ เป็นที่ปรึกษาเมื่อเกิดปัญหา
2. ทีมประสาน
เป็นทีมที่มีบทบาทในการสนับสนุน ประสานงาน และคอยช่วยเหลือให้กับทีมอื่นๆ รวมทั้งต้อง
วิเคราะห์ สังเคราะห์ กํากับติดตามอย่างเป็นกัลยาณมิตรและดําเนินการเชิงกลยุทธ์ให้เกิดการพัฒนาระบบ
คุณภาพขึ้นมา และปรับปรุงพัฒนาต่อเนื่องในโรงเรียน
3. ทีมทํา
เป็นทีมที่มีบทบาทหน้าที่ในการทํางานต่างๆ ที่ตนได้รับมอบหมายให้ดีที่สุด ทั้งในด้านการเรียนการ
สอน การเป็นที่ปรึกษา มีส่วนร่วมในการทํากิจกรรม โดยมีบทบาทในการร่วมวางแผนร่วมมือทําร่วมประเมินผล
และร่วมปรับปรุงพัฒนาระบบให้ดีขึ้น
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
3.3.๒. ผลการดําเนินงาน
มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ 1.การจัดทําข้อมูลนักเรียนรายบุคคล - ครูมีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวกร้อยละ 100
ด้านการจัดการ เป็นปัจจุบัน พร้อมนําไปใช้ - ครูมีการจัดทําข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนร้อยละ 100
เรียนการสอนที่ 2. มีสารสนเทศ ผลการคัดกรอง - ครูมีการจัดทําระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนร้อยละ 100
เน้นผู้เรียนเป็น นักเรียน ๓ ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี
สําคัญ การศึกษา พ.ศ. ๒๕๕9 – ๒๕๖1
๓.๓ มีการบริหาร 3.ดูแล ส่งเสริม สนับสนุน นักเรียน
จัดการชั้นเรียน อย่างเต็มกําลังความสามารถ มีการ
เชิงบวก สรุปข้อมูลและรายงานผลการพัฒนา
ป้องกัน แก้ไขปัญหาและส่งต่อตาม
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
4. กําหนดแนวทางตามนโยบาย
เกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน การเสริมสร้างทักษะชีวิต
และการคุ้มครองนักเรียนอย่างชัดเจน
5. จัดบรรยากาศชั้นเรียน การจัดการ
เรียนรู้ และบรรยากาศของโรงเรียนให้
นักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุข
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย จึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มี
การบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนําผลมาพัฒนาผู้เรียน
3.4.๑. กระบวนการพัฒนา
โรงเรียนสตรีวิทยา มีการวัดและประเมินผลตามหลักการวัดและประเมินผลทางการ
ศึกษาตรงตามขอบเขตและครอบคลุมตามหลักสูตร มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ มีการวัดและประเมินผลตามสภาพจริงเพื่อตัดสินความรู้ความสามารถและทักษะต่าง ๆ ของนักเรียน
ที่สอดคล้องกับชีวิตจริง มีการนําทฤษฎีการวัดและประเมินผลของเบนจามิน บลูมและคณะ (Bloom et al,
1956) มาเป็นแนวทางการวัดและประเมินผลนักเรียน มีการใช้เครื่องมือวัดและประเมินผลที่หลากหลายและ
ครอบคลุม อาทิ การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ์ การบันทึกพฤติกรรมแบบสํารวจความคิดเห็น บันทึก
จากผู้ที่เกี่ยวข้อง แฟ้มสะสมงาน การฝึกปฏิบัติ เป็นต้น เกณฑ์ที่ใช้ตัดสินผลการประเมินมีความชัดเจนและ
ยุติธรรม ตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร สอดคล้องกับตัวชี้วัดและมาตรฐานการเรียนรู้ของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ รวมทั้งประเมินผลกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน
เน้นสมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 5 ประการ และกําหนดให้มีการวัดและประเมินผลนักเรียนอย่างต่อเนื่อง ทั้ง
วัดผลระหว่างภาคเรียน และวัดผลปลายภาคเรียน ทั้งนี้มีการตรวจสอบเครื่องมือวัดผลเพื่อให้เกิดการวัดผลที่มี
คุณภาพก่อนนําสู่นักเรียน เช่น การกําหนดเกณฑ์การวัดและประเมินผลที่ชัดเจน การตรวจสอบความตรงตาม
เนื้อหา ความเที่ยงและความยากง่ายของข้อสอบมีการวิเคราะห์ข้อสอบทุกๆภาคการศึกษาอย่างเป็นระบบ
เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีคุณภาพ
โรงเรียนได้กําหนดระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตามคําสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ 293/2531
ลงวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ.2551 เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ
หลักสูตรโรงเรียนในโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล พุทธศักราช 2553
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ระเบียบสถานศึกษาว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนสตรีวิทยา
นอกจากนี้ได้มีการจัดทําระบบรายงานผลการวัดและประเมินผลต่อนักเรียน
ผู้ปกครองที่ถูกต้อง รวดเร็ว ครูผู้สอนมีการวัดผลและประเมินผลนักเรียนแล้วนั้น โรงเรียนได้กําหนดให้มีการ
ตรวจทานคะแนนอย่างเป็นระบบ โดยการตรวจสอบคะแนนวัดผลระหว่างภาคเรียน คะแนนสอบกลางภาคเรียน
และคะแนนสอบปลายภาคเรียน โดยการตรวจสอบคะแนนจะทําการตรวจทานกับเพื่อนครูภายในกลุ่มสาระฯ
ก่อน จากนั้นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ตรวจทานคะแนนอีกครั้งหนึ่งเพื่อความถูกต้องและนําผลการวัดและ
ประเมินผลส่งต่อไปยังฝ่ายทะเบียนวัดผล กลุ่มบริหารวิชาการเพื่อติดตาม ตรวจสอบการทําอย่างเป็นระบบ
จากนั้นบันทึกคะแนนในโปรแกรมทะเบียนและวัดผลเพื่อบันทึกข้อมูล จัดเก็บข้อมูลและจัดทําเอกสารทาง
การเรียนเพื่อรายงานผลการเรียนของนักเรียนทุกภาคเรียน ภาคเรียนละ 2ครั้งจากนั้นนําผลการเรียนแต่ละรายวิชาไปพัฒนา
นักเรียนและพัฒนาการเรียนการสอน นักเรียนและผู้ปกครองสามารถตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียนได้อย่าง
สะดวกและรวดเร็ว
3.4.๒. ผลการดําเนินงาน
มาตรฐาน กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ ๑. วางแผนการประเมินการจัดการ - ครูมีการวัดผลประเมินผลอย่างเป็นระบบ ร้อยละ 100
๓.๔ ตรวจสอบ เรียนรู้ - ครูมีการนําผลการประเมินมาพัฒนาผู้เรียน ร้อยละ 100
และประเมิน ๒. วิเคราะห์ข้อสอบและเครื่องมือที่ใช้ใน
ผู้เรียนอย่างเป็น การวัดประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ
ระบบ และนําผล ๓. ออกแบบวัดประเมินผลที่หลากหลาย
มาพัฒนาผู้เรียน ๔. นําผลการประเมินมาใช้ในการ
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย จึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ตรวจสอบ
และประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนําผลมาพัฒนาผู้เรียน อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ตัวบ่งชี้ทีที่ 3.5 มีการแแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้้อมูลสะท้อนเเพื่อพัฒนาแลละปรับปรุงกาารจัดการเรียนนรู้
3.5.๑. กระบวนกาารพัฒนา
โรงสตรีวิททยาได้ดําเนินนการจัดทําระบบการนิเททศเพื่อให้ครูแและผู้มีส่วนเกีกี่ยวข้องได้
แลกเปลี่ยยนความรู้และะประสบการณณ์ รวมทั้งให้ข้้อมูลป้อนกลับบเพื่อนําไปใช้ใในการปรับปรรุงและพัฒนาการจัดการ
เรียนรู้ โดดยมีกระบวนกการนิเทศ ดังนีนี้
1) การจัดททําแผนการจัดดการเรียนรู้
2) การตรววจแผนการจัดดการเรียนรู้โดยครูชํานาญกการพิเศษ
3) การจัดททําบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
4) การนิเททศการสอนขอองครูภายในกกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อครูรูได้มีการแลกเปลี่ยนการ
จัดการเรียนรู้ให้บบรรลุจุดมุ่งหมมายที่วางไว้ แและแนะนําช่ววยเหลือครูสาามารถจัดกิจกกรรม การ
เรียนนรู้ได้อย่างมีปรระสิทธิภาพและมีประสิทธิธผลสูงสุด
5) การนิเททศครูผู้ช่วย เพืพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานอย่ย่างเข้มเป็นปรระจําทุกวันศุกกร์
6) การประะเมินความพึงพอใจการจัดกการเรียนรู้ของงครูโดยนักเรียยน
7) การศึกษษาดูงาน
8) การจัดกการอบรมครูภภายในโรงเรียนน
9) การส่งคครูอบรมสัมมนนาสอบกับหน่น่วยงานภายนออก
10) การนิเทศกลุ่มสาระะการเรียนรู้โดดยผู้อํานายการโรงเรียน
11) การจัดดการนําเสนออผลการปฏิบัติติงานที่เป็นเลิศศเพื่อการแลกกเปลี่ยนเรียนรูรู้
รายยงานผลการปรระเมินตนเองขอองสถานศึกษา
โรงเรียนสสตรีวิทยา สํานักักงานเขตพื้นที่กการศึกษามัธยมมศึกษา เขต ๑
3.5.๒. ผลการดําเนินงาน
มาตรฐาน ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
มาตรฐานที่ ๓ ด้านการ ร้อยละของครูที่มีการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
จัดการเรียนการสอนที่ ภาคเรียนที่ 1
เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 100
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยน 100 88.89 88.89 94.12 90
90 85.71
เรียนรู้และให้ข้อมูล
80
สะท้อนเพื่อพัฒนาและ 70 64 61.9 65.63 66.67
ปรับปรุงการจัดการ 60 53.33
เรียนรู้ 50
40 36 28.57 34.38 33.33
30 26.67
14.29 20
20
11.11 11.11 9.52 10
10 0 5.88
0
ดีมาก ดี ปานกลาง
สรุปผลการนิเทศโดยครูในกลุ่มสาระฯ โดยการจับคู่นิเทศ
ดีมาก ร้อยละ 61.39ดี ร้อยละ 34.81
ปานกลาง ร้อยละ 3.79
ภาคเรียนที่ 2
100 92.31 100 88.89 100
90 77.78
80 70.59
70 58.33
60 47.62
50 42.86
40 29.41 33.33
30 22.22
20 9.52 7.69 11.11 8.33
10 0 0 0 0 0 0 0 0
0
สรุปผลการนิเทศโดยครูในกลุ่มสาระฯ โดยการจับคู่นิเทศ
ดีมาก ร้อยละ 68.35 ดี ร้อยละ 29.75
ปานกลาง ร้อยละ 1.90
จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ครูมีการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ร้อยละ 100
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
มาตรฐาน ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนา
ร้อยละของครูที่มีการนําเสนอผลแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการ
ดําเนินการขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพครูร้อยละ 100 มีร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ โดยมีการจัดกลุ่ม PLC 32กลุ่ม
จากข้อมูลข้างต้นแสดงให้เห็นว่า ครูที่มีการนําเสนอผลแนวทางการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศเพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผู้เรียน ร้อยละ 100
ครูร้อยละ 95.55มีการเผยแพร่วิธีการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศในรูปแบบของบทความและงานวิจัย
ของครูเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Best Practice)
ผลลัพธ์จากกระบวนการพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงกว่าค่าเป้าหมาย จึงสรุปได้ว่า ตัวบ่งชี้ที่ 3.5
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
สรุปผลการดําเนินงาน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
โรงเรียนสตรีวิทยามีการจัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตามมาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัดตามหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถนําไปจัดกิจกรรมได้จริง และสามารถ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ มีนวัตกรรมการเรียนรู้และมีการเผยแพร่ผลงานผ่านกระบวนการขับเคลื่อนชุมชน
การเรียนรู้ทางวิชาชีพ ครูมีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เอื้อต่อ
การจัดการเรียนรู้ โดยสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีการตรวจสอบและประเมินผล
ผู้เรียนอย่างเป็นระบบตามระเบียบการวัดผลประเมินผลโรงเรียนสตรีวิทยา มีขั้นตอนโดยใช้เครื่องมือและวิธีการ
วัดประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้และใช้เครื่องมือได้อย่างหลากหลาย สามารถให้ข้อมูล
ย้อนกลับกับผู้เรียน และนําผลมาพัฒนาผู้เรียน มีการบริหารจัดการเชิงบวกด้วยการจัดทําระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน ทําให้นักเรียนอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข และส่งเสริมการจัดชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพระหว่างครู
และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครู และผู้เกี่ยวข้องมีการแลกเปลี่ยนผลการ
ปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน อีกทั้งยังเป็นต้นแบบในการเผยแพร่กระบวนการขับเคลื่อน
ชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพกับโรงเรียนคู่พัฒนาอีกด้วย ส่งผลทําให้มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสําคัญอยู่ระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
จุดเด่น
๑. ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๒. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อ เทคโนโลยีด้วยตนเอง
๓. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้โดยการคิดวิเคราะห์ ได้ลงมือปฏิบัติจริง และเสาะแสวงหาความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
๔. ครูตระหนักถึงความสําคัญของการขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ และสามารถพัฒนา
ตนเองได้จากการขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ
๕. มีการติดตามผล และประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
6. มีการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ และการประเมินผู้สอนเป็นรายบุคคล
7. รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ด้านวิชาการยอดเยี่ยม จากการประกวดรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC
AWARDS ประจําปี 2561
จุดควรพัฒนา
1. ควรมีการพัฒนาครูให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
2. สร้างแรงจูงใจครูในการพัฒนางานวิจัยและสร้างนวัตกรรม
3. ควรพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย
สรุปผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประจําปีการศึกษา 2561
๑. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในภาพรวม อยู่ในระดับคุณภาพยอดเยี่ยม
๒. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา จําแนกตามรายมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับคุณภาพของมาตรฐาน
มาตรฐานที่
ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ ระดับ
กําลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม
๑ ยอดเยี่ยม
๒ ยอดเยี่ยม
๓ ยอดเยี่ยม
รวมทุกมาตรฐาน ยอดเยี่ยม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
3. ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ตามค่าเป้าหมายของสถานศึกษา
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน ผลการประเมินตนเอง
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1. มีความสามารถในการอ่านเขียน สื่อสารและการคิดคํานวณ ร้อยละ 80 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 87.33
อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
2. มีความสามารถในการวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดอย่างมี ร้อยละ 94 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 99.52
วิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และ อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
แก้ปัญหา
3. มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ร้อยละ 80 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 91.69
อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 99.95
สื่อสาร อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
5. มีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ร้อยละ 81 ร้อยละ 90.66
6. มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ ร้อยละ 90 ร้อยละ 100
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
1. การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษา ร้อยละ 94 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 96.41
กําหนด อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
2. ความภูมิใจในท้องถิ่น รักษ์ศิลปวัฒนธรรม และความเป็น ร้อยละ 94 ร้อยละ 100
ไทยสู่สากล
3. การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและความ ร้อยละ 90 ร้อยละ 100
หลากหลาย
4. สุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ร้อยละ 85 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 85.27
อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
5. ป้องกันตนเองจากสารเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเอง ร้อยละ 90 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม ร้อยละ 100
จากสภาวะเสี่ยง อยู่ในระดับยอดเยี่ยม
6. รู้คุณค่า และร่วมอนุรักษ์ทรัพยากร พลังงาน และ ร้อยละ 90 ร้อยละ 100
สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
ผู้บริหารสถานศึกษา
1. มีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากําหนด ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
ชัดเจน
2. บริหารจัดการสถานศึกษา ด้วยระบบคุณภาพ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
3. ดําเนินงานพัฒนาวิชาชีพที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน ผลการประเมินตนเอง
จัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
6. จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหาร ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
จัดการ และการจัดการความรู้
7. มีเครือข่ายทางการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
ผู้เรียนเป็นสําคัญ
1. จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
สามารถนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้
2. ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อ ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
การเรียนรู้
3. มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนําผล ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
มาพัฒนาผู้เรียน
5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนเพื่อพัฒนา ระดับยอดเยี่ยม ระดับยอดเยี่ยม
และกําลังพัฒนาการจัดการเรียนรู้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ส่วนที่ 4 สรุปผลแนวทางการพัฒนาและความต้องการช่วยเหลือ
๔.๑ สรุปผลในภาพรวม
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาอยู่ในระดับยอดเยี่ยม
จากผลการดําเนินงาน โครงการ และกิจกรรมต่างๆ ส่งผลให้สถานศึกษาจัดการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา ประสบความสําเร็จตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ในแต่ละมาตรฐาน จากผลการประเมินสรุปว่าได้ระดับยอด
เยี่ยม ทั้งนี้เพราะมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียนอยู่ในระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและจัด
การศึกษา อยู่ในระดับยอดเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ อยู่ใน
ระดับยอดเยี่ยม
ทั้งนี้ สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย เป็นไปตามความ
ต้องการของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษา และสภาพของชุมชนท้องถิ่นจนมีผลการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม พัฒนาการของค่าเฉลี่ยผลการทดสอบระดับชาติสูงขึ้น ผู้เรียนมีความสามารถในการ
อ่านและเขียน สื่อสารภาษาอังกฤษและไทยคล่อง คิดคํานวณ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้ดี มี
ความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะตามที่สถานศึกษากําหนดอย่างชัดเจน ดังที่ปรากฏ
ในผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 อยู่ในระดับดีเยี่ยม สถานศึกษามีการวางแผน มีกิจกรรมและดําเนินงานตาม
แผนที่เกิดจากการมีส่วนร่วม ใช้ผลการประเมินและการดําเนินงานที่ผ่านมาเป็นฐานในการพัฒนา สอดคล้องกับ
เป้าหมายที่พัฒนา ปรับปรุงแก้ไขงานให้ดีขึ้นโดยต่อเนื่อง ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ผล
ประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม วิเคราะห์ ออกแบบและจัดการเรียนรู้เป็นไปตามความต้องการของหลักสูตร ใช้สื่อ
การเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือนักเรียนเพื่อแก้ปัญหารายบุคคล ประเมินผลจากสภาพจริงทุก
ขั้นตอน สถานศึกษาดําเนินงานตามระบบประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบ จนเกิดคุณภาพ ประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลจนผลประเมินอยู่ในระดับดีเยี่ยม
๔.๒ แนวทางการพัฒนาในปีต่อไป
ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศที่สําคัญที่สถานศึกษาต้องนําไป
วิเคราะห์ เพื่อนําไปสรุปเป็นภาพสะท้อนความสําเร็จกับแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (3-5ปี)
และนําไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ดังนั้น จึงสรุปผลการประเมินในภาพรวม
ดังนี้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
จุดเด่น จุดควรพัฒนา
ด้านคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณภาพผู้เรียน
1. ผู้เรียนสามารถอ่านหนังสือออกและอ่านคล่อง สามารถ 1. การพัฒนาด้านการมีทักษะชีวิตและทักษะ
เขียนเพื่อการสื่อสารได้ทุกคน จําเป็นในศตวรรษที่ ๒๑
2. ผู้เรียนมีความสามารถในการสื่อสารภาษาอังกฤษ และ 2. การพัฒนาสุขภาวะทางร่างกายของ
ภาษาต่างประเทศที่ 2 นักเรียนให้มีน้ําหนักอยู่ในเกณฑ์ส่วนสูงให้ตาม
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนอยู่ในระดับดีเยี่ยม มี เกณฑ์
คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น
พื้นฐาน (O-NET)สูงกว่าระดับชาติ ทุกกลุ่มสาระที่มีการ
ทดสอบและต่อเนื่อง
4. มีกระบวนการบริหารจัดการกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ จนทําให้นักเรียนมีผลคะแนน O-NET สูงขึ้น
และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นมีคะแนนเต็มร้อย จํานวน
91 คน และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายมีคะแนนเต็มร้อย
จํานวน 49 คน และกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้รับ
รางวัลสถานศึกษาที่ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาประสบผลสําเร็จ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ประจําปี 2561 ได้รับรางวัลระดับยอดเยี่ยม
ระดับประเทศ
5. มีการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมโครงงาน และได้รับ
รางวัลในระดับต่าง ๆ
6. นักเรียนมีผลงานที่โดดเด่นโดยนักเรียนได้รับรางวัลจาก
การแข่งขันทางวิชาการทั้งระดับนานาชาติ จํานวน 18
รางวัล และระดับชาติ จํานวน 54 รางวัล
7. ผู้เรียนมีระเบียบวินัย จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
เป็นที่ยอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย เคารพ
กฎกติกา มารยาทของสังคม และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
พลังงานและสิ่งแวดล้อมตามโครงการสตรีวิทยารวมพลังรักษ์
พิทักษ์โลก
ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหาร ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ
สถานศึกษา 1. ควรมีวางแผนพัฒนาครูและบุคลากรให้มี
โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการอย่างเป็นระบบ โดย ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพให้สอดคล้องกับ
ใช้กระบวนการต่าง ๆ เช่น PDCA,PDSA และ CIPP Model สภาพปัญหา และนโยบายปฏิรูปการศึกษาให้
เป็นต้น มีการบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม เพื่อให้ทุกฝ่ายมี เป็นปัจจุบัน อยู่ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพ
ส่วนร่วมในการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน ของกระบวนการบริหารของผู้บริหาร
สถานศึกษา
มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติ 2. พัฒนาครูให้มีความสามารถในการสื่อสาร
การประจําปีที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพ ภาษาอังกฤษ
ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายปฏิรูปการศึกษาที่ 3. จัดทําความร่วมมือทางวิชาการกับ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
จุดเด่น จุดควรพัฒนา
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม มหาวิทยาลัย และสถาบันต่าง ๆ ทั้งภายใน
หลักสูตรสถานศึกษา ครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่าง และภายนอกเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านต่าง ๆ
มีคุณภาพ มีการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการ และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนและครูให้
ดําเนินงานและจัดทํารายงานผลการจัดการศึกษาและ สูงขึ้น
โรงเรียนใช้กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูล ระบบ
สารสนเทศมีการปรับให้เป็นปัจจุบันเพื่อใช้เป็นฐานในการ
วางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ด้านกระบวนการเรียนการสอนที่เน้น
๑. ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนเป็นสําคัญ
อย่างต่อเนื่อง 1.ควรมีการพัฒนาครูให้มีความสามารถในการ
๒. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนแสวงหาความรู้จากสื่อ สร้างนวัตกรรม
2. สร้างแรงจูงใจครูในการพัฒนางานวิจัยและ
เทคโนโลยีด้วยตนเอง
สร้างนวัตกรรม
๓. ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนเรียนรู้โดยการคิดวิเคราะห์ ได้ 3. ควรพัฒนาระบบสารสนเทศงานวิจัย
ลงมือปฏิบัติจริง และเสาะแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้
ภายในโรงเรียน
๔. ครูตระหนักถึงความสําคัญของการขับเคลื่อนชุมชนแห่ง
การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ และสามารถพัฒนาตนเองได้จากการ
ขับเคลื่อนชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ
๕. มีการติดตามผล และประเมินผลการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
6. มีการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
และการประเมินผู้สอนเป็นรายบุคคล
7. รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ ด้านวิชาการยอดเยี่ยม จาก
การประกวดรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. OBEC AWARDS
ประจําปี 2561
แนวทางการพัฒนาในอนาคต
1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
2. การส่งเสริมให้ครูเห็นความสําคัญของการจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ การทําวิจัยในชั้นเรียนเพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพ โดยการใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพและ
สร้างเครือข่ายชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
3. การพัฒนาบุคลากรโดยเข้ารับการอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้งานทีได้รับมอบหมาย ติดตามผลการนําไปใช้
4. การพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ของชุมชน
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
ภาคผนวก
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
การให้ความเห็นชอบเอกสาร
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
โรงเรียนสตรีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๖๑
ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑
..................................
จากการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสตรีวิทยา ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบ
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสตรีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ มีมติเห็นชอบให้สามารถใช้
รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา โรงเรียนสตรีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๖๑ รายงานต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัดและสาธารณชนได้
(นายนพพร สุวรรณรุจิ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรียนสตรีวิทยา
(นางวรรณดี นาคสุขปาน)
ผู้อ านวยการโรงเรียนสตรีวิทยา