The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best-Pratice-ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน.ตำบลห้วยยูง, 2021-04-25 02:14:46

Best-Pratice-ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

Best-Pratice-ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

~๑~

Best Practice

กศน.ตำบลห้วยยงู
“ การเสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวิตของผู้สงู อายุ”

ชอ่ื ผลงาน : การเสรมิ สรา้ งคุณภาพชวี ิตของผู้สงู อายุ
หน่วยงาน : สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดกระบ่ี
สถานศกึ ษา : ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

๑. ความสำคญั และความเปน็ มา

ปัจจบุ นั ผู้สูงอายเุ ปน็ ประชากรกลมุ่ ใหญก่ ลุ่มหนงึ่ ของประเทศเน่อื งจากความเจริญก้าวหน้า
ทางการแพทย์ และสาธารณสขุ ทำใหป้ ระชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผ้สู งู อายจุ งึ เพ่ิมมากขนึ้ เป็นลำดบั
จากภาวะนีท้ ำให้ เกดิ ความ ตน่ื ตัวและเตรียมการเพ่ือรองรบั และให้การดแู ลประชากรกลุ่มนีม้ ากขึ้น การดแู ล
และสง่ เสริมสุขภาพผสู้ งู อายุนับว่า เป็นภารกจิ ทีส่ ำคญั สำหรับครอบครัว ชมุ ชน และสงั คมโดยรวม เพ่ือให้เกิด
การดแู ลเอื้ออาทรแก่ผ้สู งู อายุซ่ึงนบั วา่ เปน็ ผู้ทท่ี ำคุณประโยชนแ์ ก่ครอบครัวชมุ ชนและสังคม การเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากรของประเทศไทยทำให้ประชากรในวยั ผู้สงู อายเุ พ่ิมขน้ึ ประกอบกบั การเปลย่ี นแปลง
ทางด้านเศรษฐกิจและสงั คม มีผลให้ลกั ษณะครอบครัว ไทยเปล่ยี นจากครอบครวั ขยาย ไปส่คู รอบครวั เดี่ยว
ความสัมพันธร์ ะหว่างสมาชกิ ในครอบครวั ลดลงจำนวนผทู้ ีจ่ ะทำ หน้าที่ดูแลผูส้ งู อายุในครอบครวั ลดลง มีเวลา
ให้ผสู้ งู อายลุ ดลง ขาดการให้ความรักและความอบอ่นุ ผ้สู งู อายุจึงถูก ทอดทิ้งให้อยโู่ ดดเดย่ี ว ดำเนินชีวิตเพยี ง
ลำพังจากสภาพสังคมทเี่ ปลีย่ นแปลงไป ทำให้ผูส้ ูงอายตุ ้องเผชิญกบั ปญั หาใน การปรบั ตัวเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
สังคมในปจั จบุ ันทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านยิ มต่างๆ ซงึ่ ก่อใหผ้ ้สู ูงอายุ เกดิ ความน้อยใจ
ความเครยี ด ความคับขอ้ งใจ แยกตัวออกจากสงั คม ขาดสัมพนั ธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้ และเบื่อ
หนา่ ยในชวี ิต ประกอบกับวยั สูงอายุเป็นวยั ท่ตี ้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวติ แบบใหม่ ต้องออกจาก งาน
มีรายไดล้ ดลง ภาวะสขุ ภาพเส่อื มลง มโี รคทางกายเพ่ิมมากข้ึน ตลอดจนการสูญเสียการเป็นทพี่ ่ึงของ
ครอบครวั สง่ิ เหล่าน้ีล้วนเปน็ ปจั จัยสำคัญทีส่ ่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ

สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์และนโยบายต่อเนือ่ งและจดุ เนน้ การดำเนินงาน ด้านการพฒั นา
และเสริมสรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ การเตรียมความพรอ้ มของประชาชนในการเขาส่สู งั คมผสู้ งู อายุที่
เหมาะสมและมีคุณภาพ จุดเน้นการดำเนนิ งาน เสริมสรา้ งความรว่ มมือกบั ภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริม
ความรว่ มมือภาคีเครือขา่ ย ท้ังภาครฐั เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทง้ั สง่ เสรมิ และสนบั สนุน
การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชนเพอ่ื สรา้ ง ความเข้าใจ และให้เกดิ ความร่วมมอื ในการสง่ เสริม สนบั สนุน และจดั การ

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

~๒~
ศึกษาและการเรียนรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ เรง่ จัดทำทำเนยี บภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นในแตล่ ะตำบล เพอ่ื
ใช้ประโยชนจ์ ากภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ในการสร้างการเรียนร้จู าองค์ความรูใ้ นตัวบุคคลให้เกดิ การถา่ ยทอดภมู ิ
ปญั ญา สรา้ งคุณค่าทางวัฒนธรรม อย่างยัง่ ยนื สง่ เสรมิ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ สกู้ ารจดั การเรียนรชู้ มุ ชน รวมทง้ั
มกี ารบรู ณาการความรใู้ นชุมชนเพ่ือเช่ือมโยงกับหลักสตู รตา่ งๆของ กศน.และใชท้ ุนทางสังคมของแตล่ ะชมุ ชน
ให้เปน็ แหลง่ เรยี นรู้

๒. วตั ถปุ ระสงค์

๒.๑ เพือ่ ให้ผู้สงู อายุได้รบั การเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี หมาะสมกบั วัยและความต้องการ
๒.๒ เพอ่ื ใหผ้ ้สู งู อายุมีความรคู้ วามเขา้ ใจ ปรบั เปลีย่ นพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพอนามัยของ
ตนเองในด้านโภชนาการ การฟ้ืนฟสู มรรถภาพรา่ งกายและจติ ใจให้แข็งแรงและมภี มู ติ า้ นทานในการ
ดำรงชวี ติ ในสงั คมอย่างมีคณุ ค่า
๒.๓ เพอ่ื ใหผ้ ู้สูงอายุไดฝ้ กึ ทักษะอาชีพเสริมรายได้ เสริมสร้างคณุ ภาพชวี ติ
๒.๔ เพื่อสร้างจติ สำนึกและปลกู ฝงั ให้เยาวชนมีทัศนคติทด่ี ีและเห็นคุณคา่ ของผู้สงู อายุ

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~๓~

๓. วิธกี ารปฏิบัตเิ พ่อื นำไปสู่ Best Practice

ด้วยระบบ PDCA
P ขนั้ ตอนของการวางแผน (Plan)

1. ศกึ ษาสภาพสงั คมปจั จบุ ันของผูส้ งู อายุ
2. วเิ คราะหบ์ ริบท ของชุมชมุ
3. วางแผนการดำเนนิ งาน

3.1 แตง่ ต้งั คณะทำงานระดับตำบล
3.2 จดั ทำแผนปฏิบัติงานแตล่ ะตำบลโดยบรู ณาการกิจกรรมการศึกษาต่อเน่ือง และ
การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
และงานการศึกษาตามอธั ยาศัย
3.3 นำเสนอแผนตอ่ ผบู้ รหิ าร
3.4 ประชาสมั พนั ธใ์ ห้ผทู้ เี่ กี่ยวข้อง
3.5 กำหนดรปู แบบการจัดกิจกรรมภายใตห้ ลักการดำเนินงานของนโยบายและจุดเน้น ของ
สำนกั งาน กศน.
D ขนั้ ตอนดำเนนิ งาน (Do)
1. ประชุมช้ีแจงรายละเอียดการดำเนินการกิจกรรม โครงการและหลักสตู รการพัฒนาอาชีพ ตอ่ ผู้ที่
เกี่ยวขอ้ งโดย
เนน้ กจิ กรรมภายใต้หลักการดำเนนิ งานของนโยบายและจุดเน้น ของสำนกั งาน กศน.
2. ประสานงานภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เตรยี มสถานทอี่ ปุ กรณ์
3. ดำเนินการตามแผนปีงบประมาณ 2564
C ขัน้ ตอนตรวจสอบ (Check)
1. นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล
2. จดั ทำแบบสำรวจความพึงพอใจ
3. ประเมนิ ผลการการดำเนนิ กจิ กรรมตามแหลง่ เรียนรู้
A ข้นั ตอนการปรับปรงุ และพฒั นา (Act)
1. แลกเปลยี่ นเรียนรู้ เพือ่ เปน็ แนวทางพิจารณาในการปรบั ปรงุ กิจกรรมเพื่อเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ตอ่
ผเู้ รยี นอย่างสูงสุด
2. มกี ารจัดกิจกรรมส่งเสรมิ คุณภาพชวี ิตผ้สู ูงอายุอย่างต่อเน่อื ง

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~๔~

วิธีปฏิบตั สิ ู่ความเป็นเลิศ (Best Practice Model)

การส่งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ผสู้ ูงอายุ

ครู กศน.ตำบล ศึกษานโยบาย/จุดเนน้ /ยุทธศาสตร์/สำรวจความต้องการ
/บริบททอ้ งท่ี
❖ ผูบ้ ริหาร
❖ ครู ประชมุ /แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ หลักการดำเนินงาน
❖ ผสู้ งู อายุ ➢ วิเคราะหค์ วามต้องการ(ผสู้ ูงอาย/ุ ชุมชน)  สามัคค/ี รว่ มมอื กนั
❖ เครือข่าย ➢ สร้างแรงจูงใจ  เครือข่าย/บรู ณาการ
❖ ภูมปิ ัญญา ➢ วางแผนการดำเนินงาน
❖ วทิ ยากร ➢ ออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ /เนื้อหา/

หลักสตู ร/แนวทางการดำเนินงาน

แนวทางการดำเนิน ปรบั ปรุง/
 ดำเนนิ การตามแผนปฏิบตั ิการ พัฒนา
 กจิ กรรมทักษะชวี ติ
 กจิ กรรมพัฒนาสังคมและชุมชน
 หลักสตู รการศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชีพ (กลุม่ สนใจ)
 สรุปผลการดำเนินโครงการ

สรุป/รายงาน/ตดิ ตาม/ประเมินผล

เผยแพร่

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~๕~

๔. กระบวนการดำเนินงาน Best Practice

๔.๑ จัดทำเวทปี ระชาคมเพอ่ื สำรวจความตอ้ งการของผสู้ งู อายุ
๔.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินงานรว่ มกับคณะกรรมสถานศึกษาและ
๔.๓ ดำเนนิ การเปดิ กลมุ่ อาชพี ระยะส้นั เพื่อให้ความรแู้ กป่ ระชาชนในชมุ ชน
๔.๔ ประสานงานวิทยากรและกลมุ่ เปา้ หมาย

กระบวนการหรอื ข้ันตอนการดำเนนิ งาน Best Practice

๔. กระบวนการดำเนนิ งาน Best Practice

๔.๑ การสำรวจความต้องการ ของกลุม่ /ชุมชน

๔.๑.๑ ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นำชุมชน และ ผู้เก่ียวข้อง ร่วมกัน
ศกึ ษาสภาพปัญหา ความตอ้ งการ โดยการจัดเวทีประชาคม พูดคุย เสนอแนะ แนวทางการขับเคลื่อนกิจกรรม
ให้กับผู้สูงอายุในชุมชน ให้มีการส่งเสริมขับเคลื่อนกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับบริบท ความ
ต้องการของชุมชน จากการประชุม พูดคุย ดังกล่าวจึงมีการจัดลำดับความต้องการของกิจกรรมให้กับ
ประชาชนด้านอาชีพ โดยมองจากทรัพยากรที่มีในชมุ ชน ท้ังวัสดุ อปุ กรณ์ และภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ที่มีในชุมชน
ซ่งึ ได้ข้อสรุปในการดำเนินงาน ลำดบั ท่ี ๑ คอื ดำเนินการโครงการทักษะชีวิต ลำดับท่ี ๒ ดำเนินการหลกั สูตร
การพัฒนาอาชีพ หลกั สูตรวิชาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ) เพ่ือเป็นการสร้างงานสร้างรายได้ ให้กบั ผู้สูงอายุและ
ลำดับที่ ๓ ดำเนนิ การโครงการพฒั นาสังคมและชุมชน

ครู กศน.ตำบล จึงได้เสนอนโยบายดังกล่าวเข้าท่ีประชุม เพื่อให้ท่ีประชุมรับทราบ และร่วม
แสดงความคิดเห็น ในการกำหนดรูปแบบกิจกรรมท่ี กศน.ตำบลห้วยยูง จะดำเนินการส่งเสริมกิจกรรมให้กับ
ผู้สูงอายตุ อ่ ไป ต่อไป

๔.๒ การจัดทำวางแผนงาน/โครงการ
๔.๒.๑ ครู กศน.ตำบล ผู้นำชุมชน เครือข่าย ผู้ท่ีเก่ียวข้อง ประชุมร่วมกันวางแผน การ

ดำเนินงาน ชแ้ี จงวตั ถุประสงค์ รูปแบบการดำเนนิ กิจกรรม งบประมาณ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ครู กศน.ตำบล
และเครือข่าย จึงได้ดำเนินการสำรวจ สอบถาม และนำใบสมัครวิชาชีพระยะสั้น ให้ผู้สูงอายุที่สนใจใน
หลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นการทำดอกไม้จันทน์ หลักสูตรการทำผ้ามัดย้อม หลักสูตรการทำไม้กวาดดอกหญ้า
โครงการทักษะชีวิต และโครงการพัฒนาสังคมและชุมชน ได้กรอกใบสมัครและประสานวิทยากร สถานท่ีใน
การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ตามแผน

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~๖~

๔.๒.๒ ครู กศน.ตำบลและเครือข่าย ร่วมพดู คยุ วางแผน การดำเนินกิจกรรมรูปแบบการ
เรียนรู้ รว่ มกนั และแบง่ ภาระหนา้ ท่ีความรับผิดชอบในการดำเนนิ กจิ กรรม วสั ดุ อุปกรณ์ ขัน้ ตอน ทจี่ ะใชใ้ น
ดำเนินกจิ กรรม

๔.๓ การดำเนินการจัดกจิ กรรม/โครงการ

๔.๓.๑ ดำเนินการขออนญุ าตเปิดกลุ่ม วชิ าชพี ขออนุญาตดำเนนิ โครงการตามแผนที่วางไว้
๔.๓.๒ ดำเนินกจิ กรรม หลกั สตู รการทำผ้ามัดย้อม หลกั สูตรการทำดอกไมจ้ นั ทน์ หลักสตู รการ
ทำไม้กวาดดอกหญ้า ในวันที่ ๑๘ - ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔ ณ โรงเรียนผู้สูงอายุตำบลห้วยยูง โครงการ
ทักษะชีวิตการสร้างเสริมคุณค่าและพัฒนาทักษะด้านจิตอาสาในผู้สูงอายุ ,โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน
ส่งเสริมผู้สูงอายุเข้าวดั ทำบุญเพิ่มตน้ ทนุ ทางจติ ส่งเสรมิ คุณภาพชวี ติ ให้กบั ให้กับผู้สูงอายุ
๔.๓.๓ ครู กศน.ตำบลห้วยยูง ได้ร่วมกิจกรรมและสอดแทรกให้ความรู้เก่ียวกับแนวทางการ
ดำเนินชีวิตที่ปลอดภัยจากวิกฤตสถานการณ์ โรคโควิด ๑๙ การดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ให้กับผู้สูงอายุ

๔.๔ การประเมนิ ผลกิจกรรม/โครงการ

๔.๔.๑ ได้มีการการดำเนินเปิดกจิ กรรมต่อเน่อื ง การดำเนนิ กิจกรรมหลกั สตู รอาชีพระยะส้ันจาก
ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอ นายธีรพงษ์ ดวงแกว้ และ มนี ายก อบต.ตำบลหว้ ยยูงเปน็ ประธานในพิธีเปิด พิธี
ปิด มีการเยีย่ มชม ติดตามกจิ กรรมตลอดการจดั กิจกรรมท้ังสองหลักสตู รอย่างตอ่ เน่ือง ครกู ศน.ตำบลห้วยยูง
ได้มีการติดตามการดำเนนิ งาน โดยใชแ้ บบติดตามผูเ้ รยี นหลังจบหลักสูตรการศึกษาต่อเนอื่ ง เพ่ือให้ทราบถงึ
สภาพปัญหา และความก้าวหนา้ ในการขับเคลือ่ นกจิ กรรมของกลุ่มผู้สูงอายตุ ่อไป

๔.๔.๒ ได้รบั การนเิ ทศ ติดตามเยยี่ มชมการดำเนินการหลกั สูตรวิชาชีพระยะส้ันการทำดอกไม้จันทน์
หลกั สูตรการทำผ้ามัดย้อม หลกั สตู รการทำไม้กวาดดอกหญา้ โครงการทักษะชีวติ และโครงการพัฒนาสงั คม
และชุมชน จาก นางศิรพิ รรณ ทวที รพั ย์ ไดใ้ ห้คำแนะนำ และแนวทางในการขยายผล ตอ่ ยอดอาชีพใหก้ ับ
ผ้สู ูงอายุ ต่อไป

๕.๕ สรปุ และรายงานผลกจิ กรรม/โครงการ

๕.๕.๑ วิทยากรและผู้เรียนมีการสรุปวเิ คราะห์สภาพปัญหาของผู้เรียนรว่ มกัน เพ่ือให้ผู้เรยี นในกลุ่ม
ได้แลกเปล่ียนเรียนรรู้ ่วมกัน แบ่งหน้าท่ีในการทำกิจกรรมตามความสามารถและความถนัดของแต่ละคน เพื่อ
ความสวยงามของชน้ิ งาน และเป็นแนวทางในการพฒั นาการเรียนรู้ของกลุ่มในคร้งั ต่อไป

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

~๗~

๕.๕.๒ สรปุ ผลการดำเนนิ กจิ กรรม ท่ีได้จากการติดตามหลักสตู รการศกึ ษาต่อเนื่อง และสอบถาม
จากเครือขา่ ย หลังจบหลักสตู ร นำเสนอผลการจัดกิจกรรม จดุ ทคี่ วรพัฒนา รวมทง้ั ขอ้ เสนอแนะ และ จดั ทำ
รายงานเพื่อนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดี Best practice ของการดำเนนิ กิจกรรม ต่อไป

๕. ผลการดำเนินงาน Best
Prac๕t.๑iceผลการดำเนินงานปรมิ าณ

๕.๑.๑ ผสู้ งู อายุตำบลหว้ ยยูง จำนวน ๕๐ คน
๕.๒ ผลการดำเนินงานคุณภาพ

๕.๒.๑ ร้อยละ ๙๐ ของผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำหลักสูตรวิชาชีพระยะส้ัน
การทำดอกไม้จันทน์ หลักสูตรการทำผ้ามัดย้อม หลักสูตรการทำไม้กวาดดอกหญ้า การทำจิตอาสา และ มี
ต้นทุนทางจิตใจที่เข้มแข็ง สามารถดูแลตนเองได้ และนำความรู้ได้รับมาประกอบเป็นอาชีพเสริมเป็นการ
สร้างงานสร้างรายไดใ้ นชมุ ชนตำบลห้วยยงู ต่อไป

๖. ปจั จัยเก้อื หนนุ Best Practice

๖.๑ การนำองค์กร
๖.๑.๑ ผู้บริหารสถานศึกษา และเจ้าท่ีการศึกษาต่อเนื่องของ กศน.อำเภอเหนือคลอง ให้การ

สนับสนุนเอื้อให้ดำเนินการจัดกลุ่มอาชีพระยะส้ัน ในรูปแบบส่ือ อุปกรณ์ วัสดุ ข้อมูลต่าง ๆ และ การ
วางแผนการดำเนินโครงการทุกกระบวนการ การนิเทศติดตาม การประสานงาน การกำกับดูแลตลอด
ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ

๖.๑.๒ สถานศึกษา จัดให้มีการสำรวจข้อมูล วิทยากร ประเมินความรู้ ความสามารถ ความ
ชำนาญ ในการถา่ ยทอดความรใู้ นดา้ นตา่ งๆ ตามความต้องการของประชาชนในชุมชน

๖.๑.๓ สถานศึกษา ได้มีส่วนรว่ มในการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก เชน่ สถานที่ บรรยากาศท่ีเอ้ือ
ต่อการเรยี นรเู้ หมาะสม เพียงใด

๖.๑.๔ สถานศึกษาสนับสนุนองค์ความรู้ ในด้านนวัตกรรม ส่ือออนไลน์รูปแบบใหม่ ๆ ให้แก่
กลุม่ เป้าหมาย

๖.๒ งบประมาณ
โดยเบกิ จ่ายจากเงินงบประมาณ : แผนงานยุทธศาสตรเ์ พ่ือสนับสนนุ ดา้ นการพัฒนาและ

เสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ โครงการขบั เคล่ือนการพัฒนาการศกึ ษาที่ยัง่ ยนื กจิ กรรมสง่ เสริมศูนย์ฝึก
อาชพี ชมุ ชน งบรายจ่ายอื่น โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ) จำนวน ๖,๐๐๐ บาท

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~๘~

๑. ค่าตอบแทนวิทยากร เป็นเงิน ๖,๐๐๐ บาท

๒. วสั ดุ อุปกรณ์ ไดร้ บั การสนับสนุนจาก อบต.ห้วยยูง

โดยเบิกจา่ ยจากเงินงบประมาณ : แผนงานพืน้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพคน ผลผลิตที่
๔ ผู้รับบริการศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจัดการศึกษานอกระบบ งบดำเนินงาน (กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนา

สังคม) เป็นเงนิ ๕,๑๘๐ บาท (ห้าพันหนง่ึ ร้อยแปดสบิ บาทถ้วน)

ดำเนินการเบิกจ่ายจาก งบประมาณแผนงาน : แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง

ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ ๔ ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการศึกษานอกระบบ
งบดำเนนิ งาน (กิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ ) เป็นเงิน ๒,๔๑๕ บาท (สองพนั สร่ี อ้ ยสิบห้าบาทถ้วน)

รวมเป็นเงนิ ๑๓,๕๙๕ บาท

๖.๓ นโยบายสถานศึกษา

ตามนโยบายของท่านเลขาสำนักงาน กศน. นายวรัท พฤกษาทวีกุล ได้มีไว้ว่า”ทุกภาคกิจ
สามารถจับต้องได้” โดยกำหนด 12 ภารกิจในข้อท่ี 1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน
หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถ่ินไทยงาม” เพ่ือความกินดีอยู่ดี มีงานทำ เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลอง
สวยนำ้ ใส, พลังงานทดแทน (แสงอาทิตย์) ,จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน

ตามนโยบายดังกล่าว กศน.ตำบลห้วยยูง จึงนำมาปฏิบัติส่งเสริมการจัดการศึกษา
ทุกรูปแบบในพื้นที่ ให้กับกลุ่มประชาชนท่ัวไป ในพื้นท่ีตำบลห้วยยูง ที่มีความพร้อมในการเรียนรู้
โดยให้ กศน.ตำบล สำรวจกลุ่มเปา้ หมาย ความพร้อม ความตอ้ งการ ของผู้สูงอายุในพื้นท่ี ตำบลห้วยยูง ท่ีจะ
เข้ารับการจัดการศึกษากิจกรรมด้านการพัฒนาอาชีพ โครงการ จึงได้ขอ้ มูลจากผู้สูงอายุในพื้นที่ตำบลหว้ ยยูง
มีความต้องการที่จะเรียนรู้เก่ียวกับการประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุในพื้นที่ ส่งเสริมการมีอยู่ มีกิน เหลือใช้
ขายคล่อง เพื่อลดรายจ่าย สร้างรายได้ ให้แก่ครอบครัว การสร้างบุญ สร้างกุศลเพ่ือเพ่ิมต้นทุนทางจิต และ
การสร้างแรงจูงใจในการทำกิจกรรมจิตอาสา ต่อไป

๖.๔ ผ้นู ำชุมชน ผนู้ ำท้องถิ่น เครือขา่ ยหน่วยงานตา่ ง ๆ
ผ้นู ำชมุ ชน ในพืน้ ที่ตำบลห้วยยงู องค์การบริหารส่วนตำบลหว้ ยยูง เข้ามามีสว่ นรว่ มในการประชุม

วางแผนการจัดกจิ กรรมร่วมกับชุมชนอยา่ งตอ่ เนื่อง มีการจัดทำแผนรว่ มกันเพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สุดแก่
ผสู้ งู อายุ

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~๙~

๗. ปัญหา อุปสรรค์ และแนวทางแกไ้ ข

เน่อื งจากผ้สู งู อายุเป็นกลุ่มทม่ี สี ภาพจิตใจ เปราะบาง ต้องการดูแลเอาใจใสเ่ ปน็ พเิ ศษ จงึ ต้องมกี าร
ทะนถุ นอม อย่างมาก กิจกรรมบางอยา่ งไม่เปน็ ไปตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ต้องยดื หยุ่น ตามสภาพ

๘. ประโยชน์ท่ไี ด้รับ

๘.๑ ผู้สงู อายุ มีทักษะในการประกอบอาชีพ มีรายไดเ้ สริม
๘.๒ ผูส้ งู อายเุ ห็นคุณคา่ ในตัวเอง เข้าร่วมกจิ กรรมในสังคมทำให้มี สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ
ดีและยงั มีความมั่นใจในความร้คู วามสามารถ
๘.๓ ผ้สู งู อายใุ ช้เวลาวา่ งในการเข้าร่วมกจิ กรรมบำเพ็ญประโยชนต์ ่อสงั คม
๘.๔ ผสู้ ูงอายุนำหลกั ศาสนามาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้

๙. บทสรุป

การดำเนินการ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เป็นการร่วมแรงร่วมใจกันของคนในชุมชน ภาค
เครือข่าย ครู กศน.ตำบล ที่จะสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้สูงอายุ ได้มีกิจกรรมทำร่วมกับผู้อ่ืน ลดความเครียด
และได้มกี ารฝึกทักษะตา่ งๆ ทั้งทางด้านทกั ษะชีวิต การเพิ่มต้นทุนทางจิตใจ และส่งเสริมการประกอบอาชีพที่
ผู้สูงอายุสามารถทำได้ โดยการนำวัสดุจากธรรมชาติที่มีในชุมชนมาสร้างงานสร้างอาชีพ โดยมีการสนับสนุน
จากผู้นำชุมชน ครู กศน.ตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยูง วิทยากรหลักสูตรอาชีพ ท่ีมีความรู้ความ
ชำนาญ สามารถถ่ายทอดความรู้ได้อยา่ งเหมาะสม ส่งผลให้กิจกรรมท่ีจัดข้ึนในครั้งนี้ ดำเนินการตามแนวทาง
วงจรคุณภาพเดมมิง่ (Deming Cycle : PDCA

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนอื คลอง

~ ๑๐ ~

๑๐. กลยทุ ธ์ท่ีทำให้ประสบความสำเรจ็

๑๐.๑ การมีส่วนร่วมของครู ผู้นำชุมชน และชุมชนในการวิเคราะห์ข้อมูลของพ้ืนฐานของกลุ่ม
และชมุ ชนทำใหท้ ราบปัญหาความตอ้ งกร ใหไ้ ปสูเ่ ป้าหมาย ท่ตี ้องการได้

๑๐.๒ การนำเอา วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตลอดจนทรัพยากรในชุมชน เป็นองค์ความรู้
พ้ืนฐานในการตอ่ ยอดความรใู้ หเ้ กดิ การพฒั นา

๑๐.๓ หลักสตู รการจักสานจากทางปาล์ม และ หลักสูตรการทำไข่เค็มสมุนไพร ดำเนินการตาม
แนวทางวงจรคณุ ภาพ PDCA ซ่ึงเป็นการดำเนินงานอย่างมีระบบ สามารถตรวจสอบได้ในทุกขั้นตอน โดยเร่ิม
ตั้งแต่วิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของชุมชนอย่างมีส่วนร่วมของครู ผู้นำชุมชน และชุมชน
รวมท้ังการมีส่วนรว่ มในการวางแผน ตลอดจนการประเมนิ ทุกขั้นตอน จึงทำใหส้ ามารถพัฒนากลุ่มผสู้ ูงอายุได้
บรรลุตามตัวช้ีวดั ความสำเร็จของโครงการ

๑๑. ขอ้ เสนอแนะ

๑๑.๑ ควรมีการต่อยอดความรูใ้ ห้กับผู้เรยี น ในด้านการค้าออนไลน์ เนือ่ งจากสถานการณ์โรค
ระบาดโควดิ ๑๙ ทม่ี ีอย่างต่อเนอื่ ง ทำให้สนิ ค้าไม่สามารถออกจำหน่ายได้ การค้าออนไลน์จะเป็นทางออก
ใหก้ ับการคา้ ขายสนิ คา้ ของชุมชน

๑๑.๒ ฝึกให้ผู้เรยี นไดร้ ว่ มทำกจิ กรรมกลมุ่ ฝึกคิด ฝกึ วิเคราะห์ และนำเสนอประสบการณ์ของ
ตนเองต่อสมาชกิ ในกล่มุ

๑๒. ภาคผนวก

- ภาพกจิ กรรม
- สำเนาแบบสรปุ การประเมินผลการจดั กจิ กรรม
- สำเนาแบบรายงานผลการจบหลกั สตู รการศึกษาต่อเน่ือง
- สำเนาสรปุ ติดตามผู้เรียนหลงั จบหลักสูตรการศกึ ษาต่อเนือ่ ง

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~ ๑๑ ~

ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน

วางแผนการดำเนินกจิ กรรมรว่ มกับเครอื ขา่ ย อบต.

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

~ ๑๒ ~

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~ ๑๓ ~

ดำเนนิ การจัดกิจกรรม

พิธีเปดิ โครงการ และหลักสตู รวิชาชพี โดย นายวนิ ยั มากสม นายก องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลห้วยยูง

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~ ๑๔ ~
ประมวลภาพกิจกรรม

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~ ๑๕ ~
ประมวลภาพกิจกรรม หลกั สูตรวิชาชพี ระยะสนั้ การทำผ้ามัดยอ้ ม

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~ ๑๖ ~
ประมวลภาพกิจกรรม หลักสูตรวชิ าชพี ระยะสน้ั การทำดอกไมจ้ ันทน์

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

~ ๑๗ ~
ประมวลภาพกิจกรรม หลกั สูตรวิชาชีพระยะส้นั การทำไม้กวาดดอกหญ้า

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง

~ ๑๘ ~
ประมวลภาพกจิ กรรม โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชนสง่ เสริมผู้สูงอายุเข้าวัดทำบุญเพ่ิมตน้ ทุนทางจิต

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~ ๑๙ ~

Best Practice กศน.ตำบลหว้ ยยูง
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง

~ ๒ก๐ ~

คำนำ

Best Practice คอื วิธปี ฏิบัติทเี่ ป็นเลศิ ในการทำสิ่งใด สงิ่ หนงึ่ ใหส้ ำเรจ็ ซึ่งเป็นผลมาจากการนำ
ความรู้ไปปฏิบตั ิจริง แลว้ สรุปความรู้และประสบการณ์น้ัน เปน็ แนวทางทีด่ ีท่ีสดุ ของตนเอง กศน.ตำบลห้วยยูง
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนือคลอง ได้ศึกษาและ วเิ คราะห์นโยบาย
จุดเน้น การดำเนนิ งาน กศน. ๒๕๖๔ บรบิ ทของชุมชนและกลมุ่ เป้าหมายแล้วจงึ ไดจ้ ดั ทำ “การเสริมสรา้ ง
คุณภาพชวี ติ ของผูส้ ูงอายุ” นำเสนอเปน็ Best Practice ซง่ึ ไดผ้ า่ นการดำเนินงานตามลำดบั ข้ันตอนจน
ประสบผลสำเร็จและสามารถเผยแพรต่ อ่ ผเู้ ก่ยี วข้องได้

Best Practice ของ กศน.ตำบลหว้ ยยงู ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย
อำเภอเหนือคลอง หวงั ว่าเปน็ ประโยชน์ ตอ่ สถานศึกษาและผูส้ นใจ เพอ่ื นำไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้ได้ เนอื่ งจาก
การนำเสนอ Best Practice เพ่อื เสนอกรณีทีป่ ระสบความสำเรจ็ (Success cases) การเลา่ เรือ่ งราวท่เี ป็น
กรณศี ึกษา (Stories telling) เปน็ ส่วนหน่ึงของการจัดการความรู้ การเป็นตน้ แบบ และแรงบนั ดาลใจให้กบั
หนว่ ยงานอืน่ ๆ ในระบบเดียวกนั การสรา้ งบรรยากาศ แห่งการแข่งขันเพือ่ นำไปสคู่ วามเป็นเลศิ

ขอขอบคณุ ผ้บู รหิ าร คณะครู และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ งทุกท่านทท่ี ำให้ Best Practice ของ
กศน.ตำบลห้วยยูง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนอื คลองประสบความสำเรจ็

นางวัยดี ชอ่ ไม้
ครู กศน.ตำบล

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเหนือคลอง

~ ๒๑ ~ หนา้

ข ก

สารบัญ ๑

เรอ่ื ง ๓

คำนำ ๖
สารบัญ ๖
ความสำคัญและความเป็นมา ๘
วัตถปุ ระสงค์ ๘
วธิ ีการปฏบิ ตั เิ พอ่ื นำไปสู่ Best Practice ๘
กระบวนการดำเนินงาน Best Practice ๑๑
ผลการดำเนินงาน Best Practice ๑๑
ปจั จัยเก้ือหนนุ Best Practice ๑๑
ปญั หา อุปสรรค และ แนวทางแกไ้ ข
ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ
บทสรุป
กลยทุ ธท์ ท่ี ำใหป้ ระสบความสำเรจ็
ข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก

Best Practice กศน.ตำบลห้วยยูง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเหนอื คลอง


Click to View FlipBook Version