The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเศรษฐกิจพอเพียง-ส23103 ม.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ounjang23, 2022-03-09 09:31:29

แผนเศรษฐกิจพอเพียง-ส23103 ม.3

แผนเศรษฐกิจพอเพียง-ส23103 ม.3

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนปากเกร็ด

เรอื่ งเล่าของครใู นการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาประยุกต์ใชก้ ับการจัดกระบวนการเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

โดย นางจตพุ ร ปกุ จิ
ครโู รงเรยี นปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี

การจดั การเรยี นการสอน

การจัดการเรียนการสอนเรื่อง การดำเนินชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนากับแนวปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง พระพุทธศาสนากับปรัชญาหรือแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวพระราชดำริ
ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานแก่พสกนิกรว่า การพัฒนาประเทศ
จำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ และสร้างจิตสำนึกให้แก่คนทั้ง
ประเทศ การจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเข้าในชั้นเรียน และนอกห้องเรียนเป็นการ
พัฒนาทักษะความสามารถให้นักเรียน และปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีให้รู้จักดำเนินชีวิตหลักการดำเนินชีวิต
มแี นวทาง มีแบบอยา่ ง มีกิจกรรมรองรับ เช่น การเรียนร้เู กษตรทฤษฎใี หม่ การเรียนรกู้ ารเป็นเยาวชนไทย
หัวใจพระพุทธศาสนา ที่ยังยึดมั่นหลักการดำเนินชีวิตที่ไม่ประมาท โดยทรงมีพระราชดำริว่าด้วยเศรษฐกิจ
พอเพียงตอนหนึ่งว่า “...การพัฒนาประเทศจำเป็นต้องทำตามลำดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือความ
พอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตาม
หลักวิชาการ เมื่อได้พื้นฐานความมั่นคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริม
ความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกจิ ขนั้ ทสี่ งู ขึ้นโดยลำดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)

นักเรียนดูภาพพระราชกรณียกิจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ และวิดีโอเกี่ยวกับ
ส่งเสริมทักษะด้านเศรษฐกิจพอเพียง และให้นักเรียนบอกความรู้เดิมเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และเขียน
แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับการดำเนินชวี ติ ประจำวนั ของตนเอง โดยยดึ หลักพระพุทธศาสนาตามแนวคิดของ
เศรษฐกิจพอเพียง ออกนำเสนอหนา้ ห้องเปน็ รายบุคคล เพ่ือให้เพ่อื นไดแ้ ลกเปล่ียนเรียนรู้ ประสบการณ์ของ
การดำเนินชีวิต เช่นการใช้จ่ายระหว่างวัน การมีเงินเหลือเก็บ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การศึกษา
พันธุ์พืช เพราะการเรียนรู้เชื่อมโยงกับการเรียนรู้เรื่องสวนพฤกษศาสตร์ นักเรียนได้ศึกษา บางคนวันหยุด
วันว่างได้กลับต่างจังหวัดนำความรู้เหล่านี้ไปใช้ในการปลูก หรือดูแล สวน ไร่ นา ของตนเองได้ สามารถ
นำมาเปน็ แนวทาง และดำเนินการปลูกพชื ไวร้ บั ประทานเอง หรอื นำไปขาย เชน่ ผักสลัด เขตทอ่ี ยู่อาศัยของ
นักเรียนอยู่ในเมือง พื้นท่ไี ม่เอื้ออำนวย ไม่มีพื้นทจี่ ึงเรียนรู้การปลูกผักในขวด หรือผักท่ีปลูกไว้รับประทานท่ี
บ้าน หรือคอนโด นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง เรื่อง การการดำเนินชีวิตหลังจาก

1

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนปากเกร็ด

ได้ออกนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง และนำลงไปปฏิบัติ สามารถนำกลับมาแลกเปลี่ยน
เรยี นรู้กนั แลว้ ยังมีการตดิ ตามผลการรับรู้ การลงมือปฏิบัติ ออกมาพูดแสดงความคดิ เหน็ ก่อนเรียน หรือแสดง
ความคิดเห็นหลังเรียนกันท้ายคาบเรียน เป็นการสนับสนุน ยกย่องส่งเสริมนักเรียนให้นักเรียนตระหนักถึง
ความสำคัญของการดำเนินชีวิต แต่กย็ งั มีบา้ งที่เนื่องจากวิถชี ีวติ ท่ีไม่ไดส้ มั ผัสกับเศรษฐกิจพอเพียง ไม่สัมผัสกับ
การปลูกผัก แต่สามารถเรียนรู้และพัฒนาด้วยตนเอง การสนใจอาจเกิดจากการสนใจตั้งแต่แรกก่อนเรียน
ระหว่างเรียน และหลังจากเรียน เรื่องการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับคนท่ีไม่สามารถทำ
การเกษตรได้สามารถปลูกผกั ขวด และดำเนนิ ชวี ติ อย่างไม่ประมาท อยู่ดี มีสขุ

ความสุข ความสบายใจ หลงั จากได้ฝึกทักษะพัฒนาตนเองโดยนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้
จึงเป็นสิ่งยึดหลักสำคัญอย่างแนบแน่น ติดในความเป็นตัวตนของคนไทย บนพื้นฐานการดำเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นปากเกรด็

แบบฟอรม์ เรื่องเลา่ นกั เรียนแกนนำการนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มาประยกุ ตใ์ ช้กบั การดำเนนิ ชวี ติ

โดย ..................................................................
นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่...............................

การน้อมนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (เขียนด้วย
ลายมอื ของนักเรยี นเอง โดยใช้ 2 เงื่อนไข 3 หว่ ง 4 มติ )ิ

เง่อื นไขความรู้ (อธบิ ายการนำความร้ทู ไี่ ดจ้ ากการเรียนไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างไร)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เง่อื นไขคุณธรรม (อธิบายการดำเนินชีวิตโดยการนำหลกั ธรรมไปเปน็ หลักคิด)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
พอประมาณ (อธิบายการดำเนินชีวติ อยา่ งพออยู่ พอกนิ ไม่เบียดเบียนใคร)

…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
มีเหตผุ ล (อธบิ ายการใช้เหตุผลในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวันอย่างรอบคอบ)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………

มีภูมคิ มุ้ กนั ในตวั ทด่ี ี (อธบิ ายการพร้อมยอมรับกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ทีเ่ กิดขนึ้ ด้วยความเข้าใจ)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนปากเกรด็

มติ ิด้านวตั ถุ (อธบิ ายการดำเนินชีวิตดว้ ยการลดรายจ่าย การออมเงนิ ฯลฯ)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………

มติ ิด้านสงั คม (อธิบายการดำเนินชวี ติ อยูใ่ นสงั คมอย่างไรให้มีความสุข)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………

มิติดา้ นส่ิงแวดล้อม (อธิบายการรจู้ กั เลอื กใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ ค่าและเกดิ ประโยชนส์ งู สุด)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………

มติ ดิ า้ นวฒั นธรรม (อธิบายการรู้จักอนรุ กั ษ์ เหน็ คุณค่า ภมู ิปัญญา วฒั นธรรมไทย วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน)
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….……………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4

งานเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนปากเกร็ด

การจดั ทำหน่วยการเรียนรเู้ พื่อเสริมสรา้ งคุณลักษณะ
“อยู่อย่างพอเพยี ง”

หนว่ ยการเรียนรเู้ พื่อเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียง

วิชา สังคมศึกษา6 รหสั วชิ า ส 23103
ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3

ชื่อหนว่ ย : ประวัติและความสำคญั ของพระพุทธศาสนา
เรอ่ื ง การดำเนินชีวติ ตามหลักพระพุทธศาสนากับ
แนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

นางจตพุ ร ปกุ จิ
ครู ค.ศ.1

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรียนปากเกร็ด

สำนักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 3
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธกิ าร

5

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนปากเกรด็

2. โครงสร้างรายวชิ า

โครงสรา้ งรายวิชา

กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวชิ า ส23103 วชิ า สงั คมศึกษา6

จำนวน 0.5 หน่วยกติ เวลา 1 ชั่วโมง

หลกั สตู ร รายวชิ าพืน้ ฐาน รายวชิ าเพิม่ เติม

ภาคเรยี นที่ ๒ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓

คณุ ครผู สู้ อน นางสาวจตุพร ปกุ จิ

จุดม่งุ หมายรายวิชา เพือ่ ให้ผู้เรยี นไดศ้ ึกษาเนื้อหาพระพทุ ธศาสนาตรงตามหลักสตู ร ๒๕๕๑
๑. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาว่าเปน็ ศาสตร์แห่งการศึกษาซง่ึ เนน้ ความสัมพันธข์ องเหตุปัจจัยกบั วิธกี าร

แก้ปัญหา หรอื แนวคิดของศาสนาท่ตี นนบั ถือตามท่ีกำหนด (ส๑.๑ ม.๖/๖)
๒. วิเคราะห์พระพุทธศาสนาในการฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่งประโยชนแ์ ละสันตภิ าพบคุ คล สังคมและโลก

หรือแนวคดิ ของศาสนาทต่ี นนับถอื ตามที่กำหนด (ส๑.๑ ม.๖/๑๐)
๓. วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาประเทศแบบย่งั ยืน หรือ

แนวคิดของศาสนาที่ตนนบั ถือตามท่ีกำหนด (ส๑.๑ ม.๖/๑๑)

6

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นปากเกรด็

3. คำอธิบายรายวิชา

คำอธบิ ายรายวชิ า

สาระศาสนา ศลี ธรรม จรยิ ธรรม กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรยี น ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต

ศึกษาเรื่องสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าในฐานะผู้

ฝึกตนได้อย่างสูงสุด ศึกษาพุทธประวัติตั้งแต่การตรัสรู้ การก่อตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอนและการเผยแผ่

พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา พทุ ธประวัติดา้ นการบริหารและการธำรงรักษาศาสนา วเิ คราะห์ข้อปฏิบัติ

ทางสายกลางในพระพุทธศาสนา และการพัฒนา ศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนา วิเคราะห์

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาและหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร์ การฝึกฝน

และพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเองและการมุ่งอิสรภาพในพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเป็นศาสตร์แห่ง

การศึกษา ซึ่งเน้นความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยกับวิธีการแก้ปัญหา พระพุทธศาสนาฝึกตนไม่ให้ประมาท มุ่ง

ประโยชน์และสันติภาพแก่บุคคล สังคม และโลก วิเคราะห์พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงและการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ความสำคัญของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการศึกษาที่สมบูรณ์

พระพุทธศาสนากับการเมืองและสันติภาพ พระรัตนตรัย หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และพุทธศาสน-

สุภาษิต การเชื่อมั่นต่อผลของการทำความดี ความช่ัว ศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา พุทธศาสนิกชน

ตัวอย่างในพระพุทธศาสนา ศึกษาคุณค่าและความสำคัญของการทำสังคายนาพระไตรปิฎก ศึกษาประวัติ

ศาสดาของศาสนาอื่น ๆ และหลักคำสอนเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตระหนักในคุณค่าและความสำคัญ

ของค่านิยม และจริยธรรมที่เป็นตัวกำหนดความเชื่อ และพฤติกรรมที่แตกต่างกันของศาสนิกชนของศาสนา

ต่าง ๆ การจัดกิจกรรมความร่วมมือของทุกศาสนาในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม การเห็นคุณค่า เชื่อม่ัน

และมุง่ มนั่ พฒั นาชวี ติ ด้วยการพัฒนาจิตและพัฒนาการเรยี นรู้ ด้วยวธิ คี ดิ แบบโยนิโสมนสกิ าร สวดมนตแ์ ปล แผ่

เมตตา บริหารจติ และเจรญิ ปญั ญาตามหลกั สติปัฏฐาน การเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเป็นศาสนกิ ชนทด่ี ี และ

ปฏิบัติตนถูกต้องตามศาสนพิธี การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ หลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำคัญ

ทางศาสนา สัมมนาและเสนอแนวทางในการธำรงรักษาศาสนาที่ตนนับถืออันส่งผลถึงการพัฒนาตน พัฒนา

ชาติ และโลก

7

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนปากเกรด็

โดยการเชอ่ื มโยงประสบการณ์เดิมสปู่ ระสบการณใ์ หม่ โดยการใช้ภาพ ข่าว หรือสถานการณ์ต่าง ๆ ให้
นักเรียนฝึกการสังเกต ตอบคำถามหาแนวทางปฏิบัติที่ถูกต้อง เหมาะสม ส่งเสริมการทำงานกลุ่ม เพื่อพัฒนา
ทักษะทางสังคม นำไปสกู่ ารยอมรบั และเหน็ คณุ ค่าของตนเองและผอู้ ืน่

ตระหนักถึงความสำคัญและเห็นคุณค่าของพระพุทธศาสนา และศาสนาต่าง ๆ ที่หล่อหลอมให้
ศาสนิกชนปฏิบัติตนเป็นคนดี มีค่านิยมที่ดีงาม ปฏิบัติตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวมเพื่อให้เกิดสันติ
สขุ ในสังคม
รหสั ตวั ช้ีวดั
ส ๑.๑ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓, ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕, ม.๔-๖/๖, ม.๔-๖/๗, ม.๔-๖/๘, ม.๔-๖/๙,

ม.๔-๖/๑๐, ม.๔-๖/๑๑, ม.๔-๖/๑๒, ม.๔-๖/๑๓, ม.๔-๖/๑๔, ม.๔-๖/๑๕, ม.๔-๖/๑๖, ม.๔-๖/๑๗,
ม.๔-๖/๑๘,ม.๔-๖/๑๙,ม.๔-๖/๒๐,ม.๔-๖/๒๑, ม.๔-๖/๒๒
ส ๑.๒ ม.๔-๖/๑, ม.๔-๖/๒, ม.๔-๖/๓,ม.๔-๖/๔, ม.๔-๖/๕

รวมทงั้ หมด ๒๗ ตวั ชว้ี ัด

8

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนปากเกรด็

4. กำหนดการจัดการเรียนรู้

กำหนดการจัดการเรยี นรู้

หนว่ ยที่/ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระ สาระสำคัญ / ชน้ิ งาน/ภาระ เวลา นำ้ หนกั
ชื่อหน่วย การเรียนรู้ ความคิดรวบ งาน (ช่ัวโมง) คะแนน
มาตรฐาน ส 1.1
การดำเนินชวี ติ รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ สังคม ยอด การดำเนนิ ชีวิต 1 ชม. 10
ตามหลัก ศาสดา หลกั ธรรมของ ศึกษาฯ ตามหลกั
พระพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน ใบงาน พระพุทธ
กบั แนว นบั ถอื และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ เก่ียวกับการ ศาสนากับแนว
ปรัชญาของ ถูกต้อง ยึดม่ันและปฏบิ ัตติ าม ดำเนนิ ชีวติ ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง หลกั ธรรมเพือ่ อยรู่ ่วมกันอยา่ ง ตามหลกั เศรษฐกิจ
สนั ติสขุ พระพุทธ พอเพียง
ตวั ชี้วัด ศาสนากับ
แนว
วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนากับ ปรชั ญาของ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ เศรษฐกจิ
การพฒั นาประเทศแบบยัง่ ยนื หรอื พอเพยี ง
แนวคิดของศาสนาที่ตนถือตามท่ี
กำหนด (ส1.1 ม.4-6/11)

เชือ่ มั่นต่อผลของการทำความดี
ความช่วั สามารถวิเคราะห์
สถานการณ์ทตี่ อ้ งเผชญิ และ
ตดั สินใจเลอื กดำเนนิ การหรือปฏบิ ัติ
ตนไดอ้ ย่างมีเหตผุ ลถูกตอ้ งตาม
หลกั ธรรม จรยิ ธรรม และกำหนด
เปา้ หมาย บทบาทการดำเนนิ ชีวิต
เพื่อการอยู่ร่วมกนั อย่างสันตสิ ุข
และอยู่รว่ มกันเปน็ สมานฉนั ท์ (ส
1.1 ม.4-6/16)

9

งานเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนปากเกร็ด

ผังวิเคราะห์

ผังวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้ “อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง”
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๖ แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘
(มาตรฐาน / ตัวชวี้ ดั )/สาระการเรยี นรู้ (มาตรฐาน / ตวั ชว้ี ดั )/สาระการเรียนรู้
เร่ือง หน้าทช่ี าวพุทธ เร่ือง วนั สำคัญและศาสนพิธี

หน่วย

พระพุทธศาสนากบั แนวปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง(สาระสำคัญ / ความคิด

รวบยอด)

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๗ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๑
(มาตรฐาน / ตัวช้ีวัด)/สาระการเรยี นรู้ (มาตรฐาน / ตวั ชว้ี ดั )/สาระการเรียนรู้
เรื่อง หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา เรือ่ ง การดำเนินชวี ิตตามหลักพระพุทธศาสนากบั
แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

10

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นปากเกรด็

ชิ้นงาน/ภาระงาน สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
การดำเนนิ ชวี ติ ตามหลัก 1.ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. ดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ความสามารถในการคิด
พระพุทธศาสนากบั แนวปรชั ญาของ - จงรักภกั ดตี ่อ สถาบนั ชาติ
-ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ศาสน์ กษตั ริย์
เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ความสามารถในการใช้ 2. ใฝเ่ รยี นรู้
- ต้ังใจเรียน
ทกั ษะชีวติ - กระตือรือร้นสนใจสบื
-กระบวนการทำงานกลุ่ม คน้ หาความรใู้ หม่ๆ
๔. ความสามารถในการใช้ 3. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง
เทคโนโลยี - คดิ และตัดสนิ ใจในการ
ปฏิบัตกิ ิจกรรมท่ีได้รับมอบหมาย
เหมาะสมกบั ศักยภาพตนเอง/กลมุ่
เลอื กใชว้ ัสดอุ ปุ กรณ์อยา่ งประหยดั
คมุ้ ค่า

- ใชค้ วามร้สู ตปิ ัญญา
ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมอยา่ งอดทนเป็น
ระบบรอบคอบ

- การทำอยา่ งร่วมกัน
ของสมาชิกในกลุ่ม

4. มงุ่ ม่ันในการทำงาน
- มคี วามอดทนในการ

ทำงานที่ไดร้ บั มอบหมายจนงาน
สำเรจ็ เปน็ อยา่ งดี

11

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นปากเกรด็ 12

แผนการจัดการเรียนรู้

แผนการจดั การเรียนรู้เพื่อเสรมิ สรา้ งคณุ ลักษณะอยู่อยา่ งพอเพยี ง
รหัสวชิ า ส31101 วชิ าพระพทุ ธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๔ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑
ช่ือหนว่ ย ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑๑
เรือ่ ง การดำเนินชีวิตตามหลกั พระพุทธศาสนากับแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เวลา ๑ ชวั่ โมง

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้ และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตน

นับถอื และศาสนาอืน่ มศี รทั ธาที่ถกู ต้อง ยดึ มนั่ และปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมเพ่ืออย่รู ว่ มกนั อย่างสนั ติสขุ
ตวั ชี้วัด
ม.๔-๖/๑๑ วเิ คราะหพ์ ระพุทธศาสนากับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาประเทศแบบยงั่ ยืน

หรอื แนวคิดของศาสนาท่ตี นนับถอื ตามทก่ี ำหนด
ม.๔-๖/๑๑ เชอื่ มั่นต่อผลของการทำความดี ความช่ัว สามารถวเิ คราะหส์ ถานการณ์ที่ตอ้ งเผชิญและตดั สนิ ใจ

เลือกดำเนินการหรอื ปฏิบตั ติ นไดอ้ ย่างมีเหตุผลถูกตอ้ งตามหลกั ธรรม จริยธรรม และกำหนดเปา้ หมาย บทบาทการ
ดำเนินชวี ติ เพือ่ การอยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติสขุ และอยรู่ ว่ มกันเป็นสมานฉันท์
2. สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด

พระพุทธศาสนากับปรชั ญาหรือแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ แนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระ
ปรเมนทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ท่ีพระราชทานแก่พสกนกิ รว่า การพฒั นาประเทศ จำเป็นตอ้ งทำตามลำดับข้นั
ต้องสรา้ งพืน้ ฐานคือ ความพอมี พอกนิ พอใช้ และสร้างจิตสำนกึ ให้แก่คนทง้ั ประเทศ

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๑. ให้ดำเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา โดยการดำรงชีวิตอยา่ งเรียบงา่ ย สนั โดษ
๒. เชื่อม่นั ต่อผลของการทำความดี ความชั่ว สามารถวิเคราะหส์ ถานการณท์ ีต่ ้องเผชิญและตัดสินใจเลือก

ดำเนนิ การหรอื ปฏิบัตติ นได้อย่างมเี หตผุ ลถกู ต้องตามหลักธรรม จริยธรรม และกำหนดเปา้ หมาย บทบาทการ
ดำเนินชีวิตเพอื่ การอย่รู ่วมกนั อย่างสนั ติสขุ และใช้ชีวิตอย่างมีคณุ ค่า

4. สาระการเรียนรู้
๑. การดำเนนิ ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. หลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
๓. วเิ คราะห์หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔. พระพทุ ธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการพัฒนาแบบย่งั ยนื

12

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรยี นปากเกร็ด 13

5. สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน

๑. ความสมารถในการสือ่ สาร ได้แก่ การฟงั พูด อ่าน เขียนเกีย่ วกับความสำคัญของพุทธศาสนากับ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๒. ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคดิ ท่ีใชเ้ ปน็ ฐานในการคิดโดยทัว่ ๆ ไป มีลักษณะไม่ซับซ้อนมากได้แก่ทักษะการ

รวบรวมขอ้ มลู ทักษะการสรุปลงความเหน็
- ทักษะการคดิ ขั้นสูง ได้แก่ ทักษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ทักษะการคดิ วิเคราะห์

ทักษะการสร้างองค์ความรู้
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
- การประยุกต์ความรูม้ าใชใ้ นการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสมบน

พื้นฐานปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ใชก้ ระบวนการกลุ่มวางแผนการทำงานอย่างเปน็ ระบบ อยรู่ ่วมกันใน

6. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. ด้านรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
- จงรักภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ใฝ่เรยี นรู้
- ตั้งใจเรียน
- กระตอื รอื รน้ สนใจสืบค้นหาความรู้ใหม่ๆ
๓. อยู่อยา่ งพอเพียง
- คดิ และตดั สินใจในการปฏบิ ัติกจิ กรรมท่ีได้รับมอบหมายเหมาะสมกับศักยภาพตนเอง/กลุ่ม

เลอื กใชว้ ัสดุอุปกรณ์อย่างประหยัดคุ้มคา่
- ใช้ความรูส้ ติปญั ญาปฏบิ ัติกิจกรรมอยา่ งอดทนเปน็ ระบบรอบคอบ
- การทำอย่างร่วมกนั ของสมาชิกในกลุ่ม

๔. มุง่ ม่นั ในการทำงาน
- มคี วามอดทนในการทำงานที่ได้รับมอบหมายจนงานสำเร็จเป็นอยา่ งดี

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
๑. ใบงาน เร่อื ง การดำเนินชวี ิตตามหลกั พระพุทธศาสนากับแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

13

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนปากเกรด็ 14

8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขนั้ นำ
๑. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับขา่ วและภาพสถานการณเ์ ก่ยี วกับ
เศรษฐกจิ พอเพียง
๒. ครใู ห้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขน้ั สอน
๑. นกั เรียนอ่านใบความรู้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
๒. นกั เรียนตอบคำถามลงในใบงาน เร่อื ง พระพุทธศาสนากับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
ข้นั สรปุ
๑. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและสามารถตอบคำถามพระพุทธศาสนาและหลักปรชั ญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง
9. ส่อื การเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้

๑. ภาพเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๒. เกษตรทฤษฎีใหม่
๑๐. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้

รายการทว่ี ดั และประเมินผล วิธีการ เครอื่ งมือ เกณฑ์การประเมิน

การดำเนนิ ชีวิตตามหลกั เขียนแสดงความคดิ เห็น ใบงาน เขยี นได้ตรงใจความ
พระพุทธศาสนากบั แนว เกีย่ วกบั การดำเนนิ ชีวิตตาม สำคญั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ หลกั พระพทุ ธศาสนากบั
พอเพียง แนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง

14

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นปากเกร็ด 15

เกณฑก์ ารประเมินผลงาน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

- สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ดมี าก(4) ดี (3) พอใช้ ( 2) ปรบั ปรุง(1)
กล่มุ เกณฑผ์ า่ น 49%
- การอภปิ รายของนักเรียน เกณฑ์ผ่าน 80% เกณฑผ์ ่าน เกณฑ์ผา่ น
- ตรวจใบงานรายบุคคล
- ตรวจแบบทดสอบก่อนและ 60% 50%
หลังเรียน

เกณฑ์การผ่าน ต้ังแตร่ ะดบั ..... ขนึ้ ไป

ผา่ น ไม่ผ่าน

๑๑. ความเห็นของผ้บู ริหาร / ผูท้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงช่อื ....................................................
(.......................................................)

ตำแหน่ง................................................................................
วันท.ี่ ...............เดอื น.........................พ.ศ................

15

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรยี นปากเกรด็ 16

๑๒. บนั ทกึ ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๑๒.๑ ผลการจดั การเรยี นรู้
นกั เรยี นสามารถบอกเกี่ยวกบั ประวัตแิ ละความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และยกตวั อย่างพร้อม
ท้ังแนวทางปฏิบตั ิได้
๑๒.๒ กระบวนการ
นักเรียนแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกบั ความสำคัญของพระพุทธศาสนากบั แนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และนำหลักธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งมาเป็นแนวทางการปฏิบตั ติ นได้
๑๒.๓ ค่านิยม/เจตคติ
นกั เรยี นนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการดำเนนิ ชีวิต
๑๒.๔ ปัญหา/อปุ สรรค
เวลาในการนำเสนอน้อย นำเสนอไม่ครบทุกกลุม่
๑๒.๕. แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและพัฒนา
นำเสนอนอกเวลาเรียน

ลงชอ่ื …………………………..…………………ผู้สอน
(นางสาวสมร โกวิทชัย)

วนั ท่ี.................เดือน......................พ.ศ..................

16

งานเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นปากเกร็ด 17

ตารางวิเคราะหห์ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของแผนการจัดการเรียนรู้
เรอ่ื ง การดำเนินชวี ติ ตามหลักพระพุทธศาสนากบั แนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แนวทางการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

1. ผูส้ อนนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

ความร้ทู คี่ รตู อ้ งมีก่อนสอน คณุ ธรรมของครูท่ใี ช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

๑. ความรูเ้ กีย่ วกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. ความรู้เกีย่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง

๒. ความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำเนนิ ชีวิต

๓. ความรเู้ กี่ยวกบั การพัฒนาดา้ นเกษตร

๔. ความรู้เกย่ี วกับเกษตรผสมผสาน

หลกั พอเพียง/ประเดน็ พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี ูมิค้มุ กันในตวั ท่ีดี
การดำเนินชวี ติ อยา่ งไมป่ ระมาท เข้าใจธรรมชาตขิ องชวี ติ ดำเนนิ ชีวิตอย่างไม่ประมาท มกี ารวางแผนชวี ิตที่ดี
ดำเนนิ ชวี ิตตามหลักทาง ยึดม่นั ในความดตี ลอดไป
เนือ้ หา เขา้ ใจหลักธรรมคำสอน
พระพทุ ธศาสนากับหลักปรชั ญา สายกลาง แยกแยะตามความดี ชัว่

ทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑ ชว่ั โมง เหมาะสมกบั การจดั กิจกรรม เปน็ ผู้แบ่งเวลาได้ถกู ต้อง
เวลา

วิธกี ารจดั กิจกรรม เหมาะสมกับการจดั แสดงความคดิ เหน็ เป็นผ้สู นบั สนุน และสบื ทอด
ตอบคำถามให้ไดใ้ จความสำคญั กจิ กรรม ให้นักเรยี นค้นคว้าเพม่ิ เตมิ พระพทุ ธศาสนา
เก่ียวกับประวตั ิและความ
สำคญั ของพระพุทธศาสนา สรปุ ใจความสำคญั นำไปใช้ในการดำเนินชวี ติ

สื่อ/อุปกรณ/์ แหลง่ เรยี นรู้
ใบความรู้

การวดั ผลและประเมนิ ผล ใบงาน ตอบไดใ้ จความสำคญั มีทักษะ และตอบคำถามไดถ้ ูกต้อง

ความรู้ทคี่ รจู ำเปน็ ต้องมี หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ แนะนำ เป็นแบบอย่าง ความรู้คงทน

พอเพยี ง นักเรียนได้

คณุ ธรรมของครู ยดึ หลกั ปรัชญาของ แนวทางในการสบื ทอดความ ดำเนนิ ชวี ิตอยู่รว่ มกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมี
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นพุทธศาสนิกชน ความสขุ
ทด่ี ี

17

งานเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนปากเกร็ด 18

2. ผลทเี่ กดิ กับผเู้ รยี นสอดคล้องกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

2.1 ผู้เรยี นได้เรยี นรูห้ ลักคิดและฝึกปฏิบตั ิตามหลัก 2 เง่อื นไข 3 ห่วง 4 มติ ิ ดังน้ี

ความรู้ท่ผี ู้เรยี นต้องมีกอ่ น คุณธรรมของผู้เรียนที่จะทำให้การเรยี นรสู้ ำเร็จ

๑. การสนใจใฝ่เรยี นรู้ดา้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. การใฝ่เรยี นรู้
๒. การพัฒนาทกั ษะ
๓. ความม่งุ ม่ัน

พอประมาณ มเี หตุผล มีภมู ิคุม้ กันในตัวท่ีดี

๑. การศกึ ษาเน้ือหาโดยใช้เวลา ใน ๑.การเรยี นรเู้ ก่ยี วกับเศรษฐกิจ ๑. การรับร้เู กี่ยวกบั แนวทางในการ
การศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง ปฏิบัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๒.การพัฒนาความสามารถทางดา้ น พอเพียง
๒ การสนใจใฝ่เรยี นรู้ ๒. วถิ ีชวี ติ ทไี่ มแ่ นน่ อนจงึ ต้องมกี าร
นำเศรษฐกิจพอเพียง
เตรยี มพร้อมพัฒนาทักษะชีวิต

2.2 ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้การใชช้ ีวิตทีส่ มดุลและพร้อมรบั การเปลย่ี นแปลงใน 4 มติ ิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ดงั นี้

ด้าน/องค์ประกอบ สมดุลและพรอ้ มรบั การเปล่ียนแปลงในดา้ นต่างๆ

วัตถุ สงั คม สิง่ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม

ความรู้ หนงั สือ,ใบงาน การอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสามคั คี เปน็ พุทธศาสนิกชน

ความสขุ ทีด่ ี

ทกั ษะ หนงั สือ,ใบงาน การอยู่รว่ มกนั อย่างมี ความสามคั คี เปน็ พทุ ธศาสนกิ ชน

ความสุข ทด่ี ี

คา่ นิยม หนงั สอื ,ใบงาน การอยรู่ ่วมกนั อย่างมี ความสามัคคี เปน็ พุทธศาสนกิ ชน
ความสุข ท่ดี ี

18

งานเศรษฐกจิ พอเพยี ง โรงเรียนปากเกรด็ 19

ใบงาน เร่อื ง ประวตั ิและความสาคญั ของพระพทุ ธศาสนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

...........................................................................

19

งานเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นปากเกรด็ 20

ใบความรู้ เศรษฐกิจพอเพยี ง

20

งานเศรษฐกจิ พอเพียง โรงเรียนปากเกร็ด 21

21


Click to View FlipBook Version