The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pacharin Buapea, 2024-05-16 20:02:24

วิจัยในชั้นเรียน

ilovepdf_merged

การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ นางสาวพัชรินทร์ บัวแพร วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคเหนือ ส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2566


ชื่อผู้วิจัย : นางสาวพัชรินทร์ บัวแพร ชื่อเรื่อง : การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์ ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 2/2566 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้วิธีสอน ที่เน้นทักษะปฏิบัติ ของนักเรียน รายวิชาโปรแกรมตารางงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ก่อนและหลังจากการท าแบบฝึกหัด โดยมีประชากรและกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 10 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มเลือก แบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive Sampling ) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรม ตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel ” และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโปรแกรมตารางงานโดยใช้แบบฝึกทักษะการเรียนรู้ของ นักศึกษาโดยใช้วิธีสอน ที่เน้นทักษะปฏิบัติเรื่อง “การใช้โปรแกรม Microsoft Exel” ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์หลังการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการเรียนรู้ อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ .01 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้ง ไว้


สารบัญ บทที่ หน้า 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหาการวิจัย............................. 1 วัตถุประสงค์การวิจัย....................................................................... 1 ขอบเขตของการวิจัย....................................................................... 2 นิยามศัพท์เฉพาะ............................................................................. 3 สมมติฐานในการวิจัย....................................................................... 3 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง .................................................... 4 3 วิธีด าเนินการวิจัย ......................................................................... 9 การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ........................................ 9 การก าหนดเนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ................................................ 9 การก าหนดระยะเวลาในการวิจัย .................................................. 9 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ................................................ 9 การก าหนดแบบแผนการวิจัย ....................................................... 10 การเก็บรวบรวมข้อมูล .................................................................. 11 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล .................................................................. 12 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ .......................................... 14 สรุปผลการวิจัย ............................................................................. 15 อภิปรายผลการวิจัย ....................................................................... 16 ข้อเสนอแนะ ................................................................................. 16 บรรณานุกรม 17


1 บทที่ 1 บทน ำ ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำกำรวิจัย ความรู้ในยุคปัจจุบันมีค่อนข้างมาก ผู้สอนไม่สามารถสอนเนื้อหาทั้งหมดได้ ผู้เรียนก็ไม่สามารถ เรียนรู้ได้ทั้งหมด การเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน ผู้เรียนจึงควรที่จะเป็นผู้ใฝ่รู้ กระตื้อรื้อร้นที่จะเรียนรู้สิ่งต่างๆด้วย ตนเอง ตามความถนัดหรือความ สนใจของผู้เรียน และจ าเป็นจะต้องมีทักษะส าคัญ อันได้แก่ ทักษะชีวิตและ การท างาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม และทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี เป็นตัวน าไปสู่ ความส าเร็จในการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนในยุค ปัจจุบันจ าเป็นจะต้องค านึงถึงกระบวนการที่เด็ก จะได้เรียนรู้ มากกว่าแค่ความรู้ที่เด็กจะได้รับ เน้นการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ เป็นผู้ลงมือปฏิบัติ ผ่านการท างาน จริง โดยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการคิดแก้ปัญหา โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการ เรียนรู้ สนับสนุนให้ ผู้เรียนประสบความส าเร็จ การจัดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง การเรียนรู้ที่ผู้เรียนเป็นผู้ท าความเข้าใจ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และร่วมกันอภิปราย น าเสนอ สรุป ความคิดรวบยอดรร่วมกับ เพื่อนในชั้นเรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด การเรียนรู้ แบบร่วมมือ และการเรียนรู้แบบ กรณีศึกษา เพื่อเป็นส่งเสริมความสามารถในการเรียนรู้กระตุ้นให้นักศึกษา มีความใฝ่รู้ กระตือรือร้น คิดเป็น สามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล ตลอดจนท างาน เป็นกลุ่มและสามารถน าเสนอข้อมูลได้ดีกว่าการสอนแบบ บรรยายเพียงอย่างเดียว ผลการจัดการเรียนรู้ ผ่านการลงมือปฏิบัติ ท าให้ผู้เรียนสามารถท ากิจกรรมที่หลากหลายตามความสนใจ และ ศักยภาพของ ผู้เรียน ให้ผู้เรียนสามารถแสดงความรู้สึก สะท้อนความคิดเห็น และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาปรับปรุง ผลงานของตนเอง ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการพัฒนาตนเองของผู้เรียน โดยบุญถิ่น อินดาฤทธิ์ (2555) ได้ กล่าวถึง พฤติกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยวิธีการเรียนรู้เชิงรุกท าให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ น าเสนอผลงานของตนเอง ในชั้นเรียน ส่งผลให้นักศึกษาได้ประเมินตนเองผ่านการแสดงความรู้สึกและ สะท้อนความคิด มีพัฒนาการที่ดี และมีการปรับปรุงงานของตนเอง จากหลักการที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น ผู้วิจัยในฐานะครูผู้สอนจึงสนใจที่จะศึกษาการฝึกทักษะ กระบวนการคิดทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงาน เรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์ ได้เป็นอย่างดี วัตถุประสงค์กำรวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก าหนดความมุ่งหมายไว้ดังนี้


2 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีเพชรบูรณ์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ก่อนและหลังการท าแบบฝึกทักษะ ควำมส ำคัญของกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ท าให้ได้ทราบผลของการศึกษาการฝึกพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้วิธี สอน ที่เน้นทักษะปฏิบัติของนักเรียน รายวิชาโปรแกรมตารางงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจและสามารถเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการเรียนรู้ จาก การเรียนการสอนวิธีดังกล่าวได้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนต่อไป นอกจากนี้ผล ของการวิจัยยังท าให้นักเรียนสามารถคิดด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้องจากการฝึกฝน เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น ความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งสามารถน าไปใช้และศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นต่อไปได้ ขอบเขตของกำรวิจัย ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ ำนวนนักเรียน 10 คน กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โดยการสุ่ม แบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive sampling ) จ ำนวนนักเรียน 10 คน เนื้อหำที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้เนื้อหาการจัดการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ระยะเวลำที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ด าเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


3 ตัวแปรที่ศึกษำ ได้แก่ 1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่แบบฝึกทักษะ เรื่อง “การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.2 ทักษะการใช้โปรแกรม Microsoft Excel นิยำมศัพท์เฉพำะ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ได้จากการท าแบบทดสอบความคิด เป็นข้อสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้น สมมติฐำนในกำรวิจัย การฝึกทักษะกระบวนการคิดทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน


4 บทที่ 2 เอกสำรและงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องของเรื่องการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยใช้วิธีสอน ที่ เน้นทักษะปฏิบัติของนักเรียน รายวิชาโปรแกรมตารางงานระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและได้น าเสนอตามหัวข้อดังนี้ 1. ความหมายของรูปแบบการเรียนการสอน 2. การสอนโดยใช้การฝึกและปฏิบัติ 2.1 ควำมหมำยของรูปแบบกำรเรียนกำรสอน ในทางศึกษาศาสตร์ มีค าที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบ คือ รูปแบบการสอน Model of Teaching หรือ Teaching Model และรูปแบบการเรียนการสอนหรือรูปแบบ การจัดการเรียนการสอน Instructional Model หรือ Teaching-Learning Model ค าว่า รูปแบบการสอน มีผู้อธิบายไว้ดังนี้ (1) รูปแบบการสอน หมายถึง แบบหรือแผนของการสอน รูปแบบการสอนแบบหนึ่งจะมี จุดเน้นที่เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง รูปแบบการสอนแต่ละรูปแบบจึงอาจมีจุดหมายที่แตกต่าง กัน (2) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนหรือแบบซึ่งสามารถใช้การสอนในห้องเรียน หรือสอน พิเศษเป็นกลุ่มย่อย หรือ เพื่อจัดสื่อการสอน ซึ่งรวมถึง หนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรม คอมพิวเตอร์และหลักสูตรรายวิชา รูปแบบ การสอนแต่ละรูปแบบจะเป็นแนวในการออกแบบการ สอนที่ ช่วยให้นักเรียนบรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่รูปแบบนั้น ๆ ก าหนด (3) รูปแบบการสอน หมายถึง แผนแสดงการเรียนการสอน ส าหรับน าไปใช้สอนใน ห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้ให้มากที่สุด แผนดังกล่าวจะแสดงถึงล าดับ ความสอดคล้องกัน ภายใต้หลักการของแนวคิดพื้นฐานเดียวกัน องค์ประกอบทั้งหลายได้แก่ หลักการ จุดมุ่งหมาย เนื้อหา และทักษะที่ต้องการสอน ยุทธศาสตร์การสอน วิธีการสอน กระบวนการสอน ขั้นตอน และกิจกรรมการสอน และการวัดและประเมินผล รูปแบบการเรียนการสอนมีความหมายในลักษณะ เดียวกับระบบการเรียนการสอน ซึ่งนักการ ศึกษาโดยทั่ว ไปนิยมใช้ค าว่า “ระบบ” ในความหมายที่เป็น ระบบใหญ่ ครอบคลุมองค์ประกอบ ส าคัญๆ ของการศึกษา หรือการเรียนการสอนในภาพรวม และนิยมใช้ค ค าว่า “รูปแบบ” กับระบบที่ ย่อยกว่า โดยเฉพาะกับ “วิธีการสอน” ในด้านความหมายของรูปแบบการสอน มีผู้ให้ความหมายไว้ หลายแง่มุม ดังนี้ Saylor and others (1981 : 271) กล่าวว่า รูปแบบการสอน (teaching model) หมายถึง แบบ (pattern) ของการสอนที่มีการจัดกระท าพฤติกรรมขึ้นจ านวนหนึ่งที่มี ความแตกต่างกัน เพื่อ จุดหมายหรือจุดเน้นที่เฉพาะเจาะจงอย่างใดอย่างหนึ่ง Joyce and Well (1992 : 1-4) กล่าวว่า รูปแบบการสอน คือ แผน (plan) หรือแบบ (pattern) ที่เราสามารถใช้เพื่อการสอนโดยตรงในห้องเรียนหรือการสอนเป็นกลุ่มย่อย หรือเพื่อจัดสื่อ การ


5 เรียนการสอนซึ่งรวมถึงหนังสือ ภาพยนตร์ เทปบันทึกเสียง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและ หลักสูตร รายวิชา ซึ่งแต่ละรูปแบบจะให้แนวทางในการออกแบบการเรียนการสอนที่จะช่วยให้ผู้เรียน บรรลุ วัตถุประสงค์ต่างๆกัน รูปแบบการสอนคือ การบรรยายสิ่งแวดล้อมทางการเรียน รูปแบบการสอนก็คือ รูปแบบของการเรียนที่ช่วยผู้เรียนให้ได้รับสารสนเทศ ความคิด ทักษะคุณค่า แนวทางของ การคิด และแนว Keeves J., (1997 : 386-387) กล่าวว่า รูปแบบโดยทั่วไปจะต้องมีองค์ประกอบที่ส าคัญ ดังนี้ 1. รูปแบบจะต้องน าไปสู่การท านาย (prediction) ผลที่ตามมาซึ่งสามารถพิสูจน์ทดสอบได้ กล่าวคือ สามารถน าไปสร้างเครื่องมือเพื่อไปพิสูจน์ทดสอบได้ 2. โครงสร้างของรูปแบบจะต้องประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ (causal relationship) ซึ่งสามารถใช้อธิบายปรากฏการณ์/เรื่องนั้นได้ 3. รูปแบบจะต้องสามารถช่วยสร้างจินตนาการ (imagination) ความคิดรวบยอด (concept)และความสัมพันธ์ (interrelations) รวมทั้งช่วยขยายขอบเขตของการสืบเสาะความรู้ 4. รูปแบบควรจะประกอบด้วยความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง (structural relationships) มากกว่า ความสัมพันธ์เชิงเชื่อมโยง (associative relationships) ทิศนา แขมมณี (2550 : 3-4) กล่าวว่า รูปแบบการสอน หมายถึง สภาพหรือลักษณะของ การ จัดการเรียนการสอนที่จัดขึ้นอย่างมีระบบระเบียบ มีแบบแผนตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิด หรือความเชื่อต่างๆ โดยอาศัยวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่างๆ เข้ามาช่วยให้สภาพการเรียน การ สอนนั้นเป็นไปตามหลักการที่ยึดถือ ดังนั้น คุณลักษณะส าคัญของรูปแบบการสอนจึงต้อง ประกอบด้วยสิ่ง ต่างๆ ต่อไปนี้ 1. มีปรัชญาหรือทฤษฎีหรือหลักการหรือแนวคิดหรือความเชื่อ ที่เป็นพื้นฐานหรือเป็น หลักการของรูปแบบการสอนนั้นๆ 2. มีการบรรยายหรืออธิบายสภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอน 3. มีการจัดระบบ คือ มีการจัดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ ขององค์ประกอบของระบบ ให้ สามารถน าผู้เรียนไปสู่เป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการพิสูจน์ ทดลองถึงประสิทธิภาพของ ระบบ นั้นดังนั้น รูปแบบการเรียนการสอนจึงหมายถึง สภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอน ที่จัดไว้ อย่างเป็นระเบียบตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื่อต่างๆ โดยมีการจัด กระบวนการ หรือขั้นตอนในการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่างๆ เข้ามาช่วย ท าให้สภาพการ เรียนการสอนนั้นเป็นไปตามหลักการที่ยึดถือ ซึ่งได้รับการพิสูจน์ ทดสอบหรือยอมรับ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแบบแผนในการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์เฉพาะของ รูปแบบนั้นๆ ซึ่งแต่ละรูปแบบ มีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน กล่าวคือ เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่ เน้นการพัฒนาด้านพุทธิพิสัย (cognitive domain) ก า รพัฒน าด้ านจิตพิสัย (affective domain) ก า รพัฒน าด้ านทักษ ะพิ สั ย


6 (psychomotor domain) การพัฒนาด้านทักษะกระบวนการ (process skills) หรือ การบูรณาการ (integration) ทั้งนี้รูปแบบดังกล่าวล้วนเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มี ลักษณะเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.2 กำรสอนโดยใช้กำรฝึกและปฏิบัติ 2.2.1 ควำมหมำย ค าว่า “ฝึก” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 หมายถึง ท า (เช่น บอก แสดง หรือปฏิบัติ เป็นต้น) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความช านาญ ส่วนค าว่า “ปฏิบัติ” หมายถึง ด าเนินการตามระเบียบแบบแผน และค าว่า “ปฏิบัติการ” หมายถึง ฝึกงานเพื่อให้เกิด ความช านาญ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546: 751,647) วีระ ไทยพานิช (2551: 15) กล่าวว่า การฝึก (Drill) หมายถึง การกระท าซ้ าหรือการท า แบบฝึกหัดเพื่อพัฒนาทักษะ (Skill) และการปฏิบัติ (Practice) คือการปฏิบัติจริงในสิ่งที่เรียนมาซึ่งการ ปฏิบัติย่อยๆ ก็จะเป็นการกระท าซ้ าๆ จุดมุ่งหมายส าคัญของการฝึกปฏิบัติซ้ า ๆ เพื่อลงมือกระท าจริงและ เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง สรุปได้ว่า เทคนิคการสอนโดยใช้การฝึกและปฏิบัติ หมายถึง กลวิธีที่ ครูใช้ในการด าเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนได้ท า แสดงหรือปฏิบัติเพื่อให้เกิดความช านาญ ในสิ่งที่ได้ฝึกนั้น 2.2.2 วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติมีหลาย ประการ ที่ส าคัญ ได้แก่ 1. เพื่อให้นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรง ท าให้เข้าใจในสิ่งที่เรียนได้ดีขึ้น 2. เพื่อให้นักเรียนเกิดทักษะและเกิดการเรียนรู้ที่คงทนมากยิ่งขึ้น 3. เพื่อลดความเบื่อหน่ายและสร้างความตื่นตัวให้กับนักเรียน 4. เพื่อให้นักเรียนได้มีโอกาสได้ประเมินตนเองว่าท าสิ่งที่ได้รับมอบหมายได้หรือไม่ 5. เพื่อให้ครูสามารถประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากการสังเกตผลงานของนักเรียนที่ ได้จากการฝึกปฏิบัติ 6. เพื่อให้นักเรียนมีทักษะและเกิดความช านาญในสิ่งที่ได้ฝึกปฏิบัติซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการ เรียนรู้ในสิ่งที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น 7. เพื่อเสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนและระหว่างนักเรียนด้วยกันเอง เช่น ใน กรณี “เพื่อนสอนเพื่อน” เป็นต้น และก่อให้เกิดความสามัคคีมากยิ่งขึ้น 2.2.3 ประโยชน์ของเทคนิคกำรสอนโดยใช้กำรฝึกและปฏิบัติ เมื่อครูให้นักเรียนได้ฝึกและปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียนจะก่อให้เกิดประโยชน์หลายประการ ดังนี้


7 1. นักเรียนได้มีประสบการณ์ตรง ท าให้เข้าใจในสิ่งที่เรียนได้ดีขึ้น 2. นักเรียนเกิดทักษะและเกิดการเรียนรู้ที่คงทนมากยิ่งขึ้น 3. เนื่องจากนักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ซึ่งอาจท าให้นักเรียนมีความกระตือรือร้น 4. เมื่อได้ปฏิบัตินักเรียนจะทราบว่าตัวเองมีความเข้าใจในบทเรียนมากน้อยเพียงใดและทราบ ว่าจะพัฒนาตนเองอย่างไร 5. ครูสามารถประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนจากการสังเกตผลงานของนักเรียนที่ได้จาก การฝึกปฏิบัติ 6. นักเรียนมีทักษะและเกิดความช านาญในสิ่งที่ได้ฝึกปฏิบัติซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ใน สิ่งที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น 7. ท าให้มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างภายในชั้นเรียนมากยิ่งขึ้น เช่น ในกรณี “เพื่อนสอนเพื่อน” เป็น ต้น และก่อให้เกิดความสามัคคีมากยิ่งขึ้น 2.2.4 เทคนิคกำรสอนโดยใช้กำรฝึกและปฏิบัติ ออร์สทีนและลาสเลย์ (Ornstein & Lasley II, 2000: 190) ศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับการฝึกและ ปฏิบัติ ได้ข้อสรุปเป็นค าแนะน าในการปรับปรุงการใช้การฝึกและปฏิบัติให้ดียิ่งขึ้น ดังนี้ 1. ต้องมีกฎระเบียบที่ชัดเจนส าหรับพฤติกรรมทั่วๆ ไปของนักเรียน กฎระเบียบเหล่านี้ ช่วยให้ นักเรียนจัดการกับความต้องการของตนเองได้ เช่น การขออนุญาตไปห้องน้ า หรือแนวทางการปฏิบัติงานที่ ต้องท าเป็นประจ าโดยที่ไม่รบกวนเพื่อนร่วมชั้น เช่น การเหลาดินสอ เป็นต้น 2. ครูควรเดินไปรอบๆ ห้องเพื่อดูแลและให้ค าปรึกษานักเรียนขณะที่นักเรียนก าลังท างานที่ ได้รับมอบหมาย ให้นักเรียนรู้สึกว่าครูก าลังสังเกตพฤติกรรมของตนอยู่และในขณะเดียวกันครูก็พร้อมที่ ช่วยเหลือนักเรียนหากมีปัญหาเกิดขึ้น 3. ให้ค าแนะน า ค าอธิบายและผลป้อนกลับแก่นักเรียน ยิ่งครูให้ความสนใจนักเรียนมากเท่าไร นักเรียนก็ยิ่งสนใจในการท างานที่ครูมอบหมาย และครูต้องคอยสังเกตนักเรียน หากนักเรียนเกิดความไม่ เข้าใจหรือสับสนเกี่ยวกับงานที่ท าให้ครูด าเนินการช่วยเหลืออย่างรวดเร็ว 4. ใช้เวลาส าหรับการสอนและการสอนซ้ าเกี่ยวกับทักษะพื้นฐานเพิ่มมากขึ้น นักเรียนในระดับ ประถมศึกษาและนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ าควรได้รับการฝึกฝนเกี่ยวกับทักษะการเรียนอย่าง เต็มที่ 5. ให้นักเรียนได้ฝึกและปฏิบัติทั้งในช่วงระหว่างและหลังจากเกิดการเรียนรู้แล้ว 6. จัดให้มีการฝึกและการปฏิบัติที่มีความท้าทายและหลากหลาย การฝึก ปฏิบัติอาจเป็นเรื่องที่ ท าให้นักเรียนเป็นทุกข์หรือเกิดการเบื่อหน่ายได้ ถ้าการฝึกปฏิบัตินั้นง่ายหรือยากเกินไปหรือให้ท าสิ่งเดียว ตลอด


8 7. ให้นักเรียนตื่นตัวตลอดเวลาและมีใจจดจ่ออยู่กับงาน ครูต้องถามค าถามนักเรียนเป็นครั้ง คราวโดยเรียกทั้งนักเรียนที่อาสาและไม่อาสาที่จะตอบ และครูต้องอธิบายเพิ่มให้แก่นักเรียนในข้อที่นักเรียน ตอบผิด 8. ครูต้องใช้กิริยาท่าทางที่มีความตื่นตัวตลอดเวลา เพื่อการจัดการชั้นที่ดีขณะที่นักเรียนฝึก และปฏิบัติ วีระ ไทยพานิช (2551: 15-16) แนะน าเกี่ยวกับการฝึกและปฏิบัติ ดังนี้ 1. ครูต้องให้ค าแนะน า น าเสนอข้อมูลและวัสดุเท่าที่นักเรียนต้องการอย่างชัดเจน 2. การฝึกควรเว้นระยะเวลา ไม่ท าซ้ าๆ มากจนนักเรียนเกิดการเบื่อ 3. การน าเกมหรือสถานการณ์จ าลองมาใช้เป็นเครื่องช่วยสร้างแรงจูงใจอย่างดีในการฝึก 4. บอกให้นักเรียนรู้ถึงความก้าวหน้าของเขา


9 บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. การก าหนดเนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย 3. การก าหนดระยะเวลาในการวิจัย 4. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 5. การก าหนดแบบแผนการวิจัย 6. การเก็บรวบรวมข้อมูล 7. การจัดกระท าและการวิเคราะห์ข้อมูล 1. กำรก ำหนดประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ใช้ประชากร เป็น นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวนนักเรียน 10 คน กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โดยการ สุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling ) จ านวนนักเรียน 10 คน 2. กำรก ำหนดเนื้อหำที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้เนื้อหาการจัดการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมตารางงานโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” 3. กำรก ำหนดระยะเวลำในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ด าเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 4. กำรสร้ำงเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงาน เรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel”


10 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2.1 แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” มีขั้นตอนการสร้างดังนี้ 2.1.1 ขั้นเตรียม 1) ศึกษาหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จุดประสงค์สาระการเรียนรู้และ ขอบข่ายเนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้และมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับ ประถมศึกษาตอนต้น 2) ศึกษารายละเอียด หลักการและแนวคิด รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ แบบฝึกทักษะ 3) ศึกษารายละเอียดเนื้อหาวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” 4) วิเคราะห์เนื้อหาและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มโนมติ เนื้อหาวิชา และ กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1.2 ขั้นสร้าง สร้างแบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตร และเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ปีการศึกษา 2566 โดยจัดกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนได้ลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” มีขั้นตอนดังนี้ 2.2.1 ศึกษาเอกสารเกี่ยวกับการวัดผลประเมินผล และการสร้างข้อสอบ 2.2.2 ศึกษาจุดประสงค์ และเนื้อหากลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 2.2.3 สร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบปรนัย จ านวน 10 ข้อ 2.2.4 น าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างจริง 5. กำรก ำหนดแบบแผนกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ซึ่งผู้วิจัยได้ด าเนินการทดลองตามแบบแผนการ วิจัย One Group Pretest - Posstest Design ดังแสดงในตาราง 1


11 ตารางที่ 1 แบบแผนการวิจัย One Group Pretest - Posstest Design ก่อนเรียน ทดลอง หลังเรียน Pr X Po Pr แทน การทดสอบก่อนการทดลอง Po แทน การทดสอบหลังการสอบ X แทน แบบฝึกทักษะโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” 6. กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามล าดับ ดังนี้ 1. ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ด าเนินการจัดการเรียนรู้กับกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” 3. น าผลคะแนนจากการตรวจแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์ โดยใช้ วิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมุติฐานต่อไป


12 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล จากการประเมินผลก่อนเรียนและหลังเรียน การท าแบบทดสอบของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์จ านวน 10 คน สัญลักษณ์ที่ใช้น าเสนอข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล จากสูตรที่ใช้ N = แทนจ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง X = แทนคะแนนเฉลี่ย ตำรำงที่ 1 ค่าสถิติพื้นฐานคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์จ านวน 28 คน นักเรียนคนที่ คะแนนก่อนเรียน (20 คะแนน) คะแนนหลังเรียน (20คะแนน) 1 9 15 2 7 18 3 12 19 4 8 15 5 6 16 6 9 14 7 10 15 8 6 16 9 14 17 10 12 18 คะแนนรวม 93 163 คะแนนเฉลี่ย 9.3 16.3


13 ตำรำงที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์จ านวน 10 คน การทดสอบ N X X ก่อนเรียน 10 93 49.00 หลังเรียน 10 163 84.00 จากตารางที่ 2 ปรากฏว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาโปรแกรมตารางงาน เรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยมีคะแนน เฉลี่ยเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยเท่ากับ 35.00


14 บทที่ 5 สรุปผลกำรวิจัย อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงาน เรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Excel” ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์สรุปสาระส าคัญได้ดังนี้ จุดมุ่งหมำยในกำรวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ก าหนดความมุ่งหมายไว้ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและ เทคโนโลยีเพชรบูรณ์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ก่อนและหลังการท าแบบฝึกทักษะ สมมติฐำนในกำรวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เพชรบูรณ์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ขอบเขตของกำรวิจัย ประชำกรที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ประชากรเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ที่ก าลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ ำนวนนักเรียน 10 คน กลุ่มตัวอย่ำงที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์โดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง ( Purposive sampling ) จ านวนนักเรียน 10 คน


15 เนื้อหำที่ใช้ในกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ด าเนินการจัดการเรียนการสอนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel” 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ด าเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตามล าดับดังนี้ 1. ทดสอบก่อนเรียน โดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. ด าเนินการจัดการเรียนรู้กับกลุ่มตัวอย่างโดยใช้แบบฝึกทักษะวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel” 3. เมื่อเสร็จสิ้นการจัดการเรียนรู้แล้ว ท าการทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 4. น าผลคะแนนจากการตรวจแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมาวิเคราะห์ โดยใช้ วิธีการทางสถิติเพื่อตรวจสอบสมมติฐานต่อไป กำรจัดกระท ำข้อมูลและกำรวิเครำะห์ข้อมูล เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติ เรื่อง “ การ ใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ก่อนและหลังการท าแบบฝึกทักษะโดยการหาค่า t - test Dependent สรุปผลกำรวิจัย การฝึกทักษะกระบวนการคิดทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ สรุปผลได้ดังนี้


16 1. คะแนนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตาราง งานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ ก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 49.00 ส่วน หลังเรียนมีค่าเท่ากับ 84.00 ตามล าดับ 2. คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์หลังการเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนรู้ อภิปรำยผลกำรวิจัย จากการศึกษาการฝึกทักษะกระบวนการคิดทางการเรียนวิชาโปรแกรมตารางงานเรื่อง “ การใช้ โปรแกรม Microsoft Exel”ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบูรณ์ พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่า ก่อนเรียน เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะมุ่งเน้นให้นักเรียนได้มีโอกาสศึกษาและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และครูมี หน้าที่ในการก ากับดูแล และให้ข้อเสนอแนะอย่างใกล้ชิด และมีความเชื่อมั่นในตนเอง ข้อเสนอแนะ ครูออกแบบการจัดการสอนที่หลากหลาย โดยใช้ใบงานเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติจนเกิด ความช านาญ และสามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างหลากหลาย


17 บรรณำนุกรม ทิศนา แขมมณี. 2551. รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิศนา แขมมณี. (2553).ศาสตร์การสอนองคือความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ.ส านักพิมพฺ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 บุญชม ศรีสะอาด. (2541). กำรพัฒนำกำรสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เวิลดิ์มีเดีย วรรณวิไล พันธุ์สีดา (2543) กำรวิจัยในชั้นเรียนขั้นพื้นฐำนส ำหรับครูยุคใหม่. กรุงเทพฯ: สมศักดิ์ สินธุระเวชญ์. (2542, มกราคม). “ยุทธศาสตร์การสอน,” วารสารวิชาการ.2(1) : 51-79.


Click to View FlipBook Version