The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

17ภาษาคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cheche2544, 2019-09-09 04:40:20

17ภาษาคอมพิวเตอร์

17ภาษาคอมพิวเตอร์

ภาษาคอมพวิ เตอร์

มนษุ ย์ ใช้ภาษาในการสอ่ื สารมาตงั้ แต่สมยั โบราณ การใช้ภาษาเปน็ เรื่องทีม่ นษุ ย์พยายามถา่ ยทอดความคดิ และ
ความร้สู กึ ตา่ ง ๆ เพ่อื การโต้ตอบและส่ือความหมาย ภาษาทีม่ นุษยใ์ ช้ตดิ ต่อสื่อสารในชีวติ ประจาวนั เช่น ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ หรือภาษาจนี ตา่ งเรยี กว่า “ภาษาธรรมชาติ”เพราะมีการศึกษา ไดย้ ิน ไดฟ้ ัง กันมาตง้ั แตเ่ กดิ การใชง้ าน
คอมพิวเตอร์ ซง่ึ เปน็ เคร่ืองมอื ทางอิเล็กทรอนิกสใ์ ห้ทางานตามทต่ี อ้ งการ

คอมพวิ เตอร์อาจแบง่ ได้เป็น 3 ระดบั คอื ภาษาเครอื่ ง (Machine Language) ภาษาระดบั ตา่ (Low Level Language) และ
ภาษาระดบั สงู (High Level Language)

1 ภาษาเครือ่ ง (Machine Language)

การ เขียนโปรแกรมเพ่ือสั่งใหค้ อมพวิ เตอรท์ างานในยุคแรก ๆ จะตอ้ งเขยี นด้วยภาษาซึง่ เป็นท่ียอมรับของเครอื่ ง
คอมพวิ เตอรท์ ่เี รยี กว่า “ภาษาเครอื่ ง” ภาษาน้ีประกอบด้วยตวั เลขล้วน ทาใหเ้ คร่อื งคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ทันที

2 ภาษาระดับต่า (Low Level Language)

เนื่อง จากภาษาเคร่ืองเป็นภาษาที่มคี วามยงุ่ ยากในการเขยี นดงั ไดก้ ลา่ วมาแลว้ จึงไม่มผี ู้นิยมและมกี ารใช้นอ้ ย ดังนัน้
ไดม้ ีการพฒั นาภาษาคอมพวิ เตอร์ขน้ึ อีกระดับหนง่ึ โดยการใชต้ ัวอักษรภาษาองั กฤษเปน็ รหัสแทนการทางาน การใช้และ
การต้ังชอื่ ตวั แปรแทนตาแหนง่ ท่ีใชเ้ ก็บจานวนต่าง ๆ ซ่ึงเป็นคา่ ของตวั แปรนัน้ ๆ การใชส้ ัญลักษณช์ ว่ ยใหก้ ารเขยี น
โปรแกรมน้เี รยี กว่า “ภาษาระดับตา่ ”

3 ภาษาระดบั สูง (High Level Language)

ภาษา ระดบั สงู เปน็ ภาษาทส่ี รา้ งขนึ้ เพอ่ื ช่วยอานวยความสะดวกในการเขยี นโปรแกรม กล่าวคอื ลักษณะของคาส่ังจะ
ประกอบดว้ ยคาต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ ซึ่งผู้อา่ นสามารถเขา้ ใจความหมายได้ทนั ที ผ้เู ขยี นโปรแกรมจงึ เขยี นโปรแกรม
ดว้ ยภาษาระดับสูงได้งา่ ยกว่าเขียนด้วยภาษาแอ สเซมบลหี รือภาษาเครื่อง ภาษาระดบั สงู มมี ากมายหลายภาษา อาทิเช่น
ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาเบสกิ (BASIC) ภาษาวชิ วลเบสิก (Visual
Basic) ภาษาซี (C) และภาษาจาวา (Java) เปน็ ต้น โปรแกรมท่เี ขียนดว้ ยภาษาระดบั สูงแตล่ ะภาษาจะต้องมโี ปรแกรมทท่ี า
หน้าทแ่ี ปล ภาษาระดบั สูงให้เปน็ ภาษาเครอ่ื ง

1) ภาษาฟอรแ์ ทรน (FORmula TRANstation : FORTRAN)

จดั เป็นภาษาระดบั สงู ทเ่ี ก่าแก่ที่สดุ เช่น งานทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ และงานวจิ ัยต่าง ๆ

2) ภาษาโคบอล (Common Business Oriented Language : COBOL)

เปน็ ภาษาท่เี หมาะสมสาหรับงานดา้ นธรุ กิจ เคร่ืองคอมพิวเตอรข์ นาดใหญส่ ว่ นมากมโี ปรแกรมแปลภาษาโคบอล

3) ภาษาเบสกิ (Beginner’s All – purpose Symbolic Instruction Code : BASIC)

ภาษาเบสกิ เปน็ ภาษาที่สร้างข้ึนโดยมีจดุ ประสงค์เพ่อื ใชส้ อนเพอื่ ใชส้ อน เขยี นโปรแกรมแทนภาษาคอมพวิ เตอร์ภาษาอน่ื
เชน่ ภาษาฟอรแ์ ทรน

4) ภาษาปาสคาล (Pascal)

ภาษาปาสคาลได้รับการออกแบบใหใ้ ช้ง่ายและมโี ครงสรา้ งที่ดี จึงเหมาะกับการใชส้ อนหลกั การเขยี นโปรแกรม
ปัจจุบนั ภาษาปาสคาลยงั คงได้รับความนิยมใชใ้ นการเรยี นเขยี นโปรแกรม คอมพิวเตอร์

5) ภาษาซีและซพี ลัสพลสั (C และ C++)

ภาษาซีก็กลายเปน็ ภาษาทน่ี ยิ มในหม่นู กั เขยี นโปรแกรมมาก และมีใชง้ านในเคร่ืองทุกระดบั ทั้งนีเ้ นื่องจากภาษาซไี ด้
รวม เอาขอ้ มลู ของภาษาระดับสงู และภาษาระดับตา่ เขา้ ไว้ด้วยกัน กลา่ วคอื เป็นภาษาทม่ี ไี วยากรณท์ ่ีเข้าใจง่าย ทาให้
เขียนโปรแกรมไดง้ ่ายเช่นเดยี วกับภาษาระดบั สูงทั่วไป แต่ประสิทธิภาพและความเรว็ ในการทางานดีกว่ามาก

6) ภาษาวชิ วลเบสกิ (Visual Basic)

เปน็ ภาษาทพี่ ัฒนาต่อมาจากภาษาเบสกิ ใชไ้ วยากรณบ์ างสว่ นของภาษาเบสกิ ในการเขยี นโปรแกรม แตม่ แี นวคิด
และวธิ ีการพัฒนาโปรแกรมที่แตกตา่ งจากภาษาเบสิกโดยสนิ้ เชิง

7) การเขียนโปรแกรมแบบจนิ ตภาพ (Visual Programming)

ภาษา นี้พัฒนาขน้ึ โดยบริษัทไมโครซอฟตอ์ อกแบบเพอื่ เขียนโปรแกรมทส่ี ามารถใชง้ านได้ บนระบบปฏบิ ัติการแบบจยี ู
ไอ เชน่ ระบบปฏบิ ตั กิ ารไมโครซอฟต์วินโดวส์ มีการตดิ ตอ่ กับผใู้ ชโ้ ดยใช้รปู ภาพ การเขยี นโปรแกรมทาได้งา่ ยกว่าการ
เขยี นโปรแกรมแบบเก่ามาก

8) ภาษาจาวา (Java)

เป็นภาษาที่ได้รบั ความนิยมสูงมาโดยตลอด เนื่องจากเป็นภาษาทีม่ ีความยดื หยุ่นสูง สามารถเขียนโปรแกรมและใช้
งานไดบ้ นเครือ่ งคอมพวิ เตอรท์ ุกประเภทและระบบ ปฏิบัตกิ ารทกุ รูปแบบ

9) ภาษาเดลฟาย (Delphi)

เปน็ ภาษาทไ่ี ด้รับความนยิ มภาษาหนง่ึ แนวคดิ ในการเขียนโปรแกรมภาษาเดลฟายเหมอื นกับแนวคดิ ในการเขยี น
โปรแกรมภาษาวชิ วลเบสกิ การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาเดลฟายจึงเป็นทนี่ ยิ มในการนาไปพฒั นาเปน็ โปรแกรมใช้ งาน
มาก รวมทั้งภาษาปาสคาลเป็นภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย เหมาะแกก่ ารนามาใชส้ อนเขยี นโปรแกรม

4. ภาษาระดบั สงู มาก

เปน็ ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 4 ซึง่ เป็นภาษาระดบั สูงมาก จดั เป็นภาษาไรก้ ระบวนคาส่งั หมายความวา่ ผูใ้ ช้ เพียงบอกแต่
วา่ ใหค้ อมพวิ เตอร์ทาอะไร โดยไมต่ อ้ งบอกคอมพิวเตอร์ว่าสิง่ นนั้ ทาอย่างไร เรยี กว่าเป็นภาษาเชิงผลลพั ธ์ คือเน้นวา่ ทา
อะไร ไมใ่ ช่ทาอย่างไร ดงั นั้นจึงเป็นภาษาโปรแกรมทเ่ี ขียนงา่ ย

5. ภาษาธรรมชาติ

เป็น ภาษาโปรแกรมยคุ ท่ี 5 ซึ่งคล้ายกับภาษาพดู ตามธรรมชาตขิ องคน การเขยี นโปรแกรมง่ายทส่ี ดุ คือการเขยี น
คาพูดของเราเองว่าเราตอ้ งการอะไร ไม่ต้องใช้คาส่ังงานใดๆ เลย


Click to View FlipBook Version