The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์

แผนการจัดการเรียนรู้

การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ

ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั ปีท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

นางสาวจุฑาพันธ์ วงศป์ รดี ี ปวส.

ตาแหน่งครู ชานาญการ

วทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดนิ
อาชีวศึกษาจงั หวัดสกลนคร
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

แผนการจัดการเรยี นรมู ุงเนนสมรรถนะ

ชื่อวิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหสั วชิ า 3204-2007 ทฤษฎี 2 ปฏบิ ัติ 2 หนวยกิต 3
 หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ  หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสงู

ประเภทวิชาบริหารธรุ กจิ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ
สาขางานคอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ

จัดทาํ โดย

นางสาวจุฑาพันธ์ วงศ์ปรดี ี

วทิ ยาลัยการอาชพี สว่างแดนดนิ
สํานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

แบบคำขออนมุ ตั ใิ ช้แผนการจัดการเรียนรู้

มุง่ เนน้ สมรรถนะอาชีพและคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ ของผู้สำเร็จการศกึ ษา

รายวชิ าการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รหสั วชิ า 3204-2007

ลงชอ่ื .....................................................
(นางสาวจุฑาพนั ธ์ วงศป์ รีดี)
ตำแหน่งครู
ผูจ้ ดั ทำ

ความเหน็ หวั หนา้ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ความเหน็ หวั หนา้ งานพัฒนาหลักสตู รฯ

ลงชอ่ื ............................................... ลงชอ่ื ...............................................
(นางสกุ ัญญา ดนยั สวสั ดิ์) (นายคมุ ดวง พรมอินทร์)

หัวหน้าแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ หัวหน้างานพฒั นาหลักสตู รการเรียนการสอน

ความเหน็ รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

ลงชือ่ ……………………………………...
(นายทนิ กร พรหมอินทร์)
รองผอู้ ำนวยการฝา่ ยวิชาการ

อนมุ ัติ ไม่อนุมตั ิ

ลงชือ่ ............................................
(นางวรรณภา พ่วงกลุ )

ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยการอาชีพสวา่ งแดนดนิ

คำนำ

แผนการสอนวิชา “การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์” รหัสวิชา 3204 2007 จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็น
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2557 ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยจัดการเรียนการสอนท้ังหมด
18 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง เน้ือหาภายในแบ่งออกเป็น 10 หน่วย ประกอบด้วย ความรู้พ้ืนฐานในการเขียน
โปรแกรม การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษา C ตัวดำเนินการและการคำนวณคา่ การทำงานตามเงอื่ นไข การทำงานแบบ
ทำซ้ำ การเขียนฟังก์ชัน ตัวแปรอาร์เรย์และสตริง ตัวแปรแบบพิเศษ การจัดการไฟล์ และการทำโครงงานโปรแกรม
ขนาดเลก็

สำหรับแผนการสอนรายวิชานี้ ผู้จัดทำได้ทุ่มเทกำลังกาย กำลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า ทดลอง
เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
แบบพอเพียง

ท้ายที่สุดน้ี ผู้จัดทำขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้ และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ซ่ึงเป็นส่วนสำคัญท่ีทำ
ให้แผนการสอนวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เลม่ นี้เสรจ็ สมบรู ณ์เปน็ ที่เรียบรอ้ ย และหากผูใ้ ช้พบข้อบกพร่อง
หรอื มีขอ้ เสนอแนะประการใด ขอไดโ้ ปรดแจ้งผู้จัดทำทราบด้วย จกั ขอบคณุ ย่งิ

นางสาวจฑุ าพนั ธ์ วงศป์ รีดี
ครูผสู้ อน

ลกั ษณะรายวิชา
ท-ป-น. 2-2-4

รหสั วิชา 3204 – 2007 ช่ือวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ชัว่ โมง 4
หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง ประเภทวิชา/บรหิ ารธรุ กิจ
สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกจิ สาขางานคอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

จุดประสงคร์ ายวิชา
1. เข้าใจเก่ยี วกับโครงสรา้ งและองค์ประกอบของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
2. มีทักษะในการพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
3. มที กั ษะในการตรวจสอบและแก้ไขข้อผดิ พลาดของโปรแกรม
4. มคี ณุ ลักษณะนสิ ยั ที่พงึ ประสงค์ และเจตคติที่ดใี นวชิ าชพี คอมพิวเตอร์ธรุ กจิ

สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เก่ยี วกบั หลักการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2. ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมในงานธุรกจิ

คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏิบัตเิ กีย่ วกบั หลกั การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ คำสง่ั รับและแสดงผลขอ้ มูล

ชนิดของข้อมลู โครงสรา้ งโปรแกรมแบบต่างๆ การจัดการแฟม้ ข้อมลู เบื้องต้น เคร่ืองมอื ช่วยเขยี นโปรแกรม การ
เขียนโปรแกรมขนาดเลก็ สำหรบั งานธรุ กิจ กรณีศึกษา

รายการหนว่ ย ช่อื หน่วย และสมรรถนะประจำหนว่ ย

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานในการเขียน สมรรถนะ

โปรแกรม - แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ภาษาคอมพิวเตอร์และการ

พัฒนาโปรแกรม

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพิสยั

1. บอกคำจำกัดความของการเขียนโปรแกรมได้
2. บอกความหมายของภาษาคอมพวิ เตอร์ได้
3. อธบิ ายขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรมได้
4. ยกตวั อยา่ งภาษาทใ่ี ชเ้ ขียนโปรแกรมได้
5. วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของโปรแกรมได้

ด้านทักษะพสิ ัย
6. เขียนรหสั เทยี มและโฟลว์ชาร์ตได้

ดา้ นจติ พิสัย
7. ประยกุ ต์ใชเ้ ครื่องมอื ชว่ ยพัฒนาโปรแกรมได้

ช่ือเรอ่ื ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

หนว่ ยที่ 2 การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษา สมรรถนะ
C - ติดต้ังและใช้งานโปรแกรม Dev-C++ เพอื่ เขยี น
โปรแกรมภาษา C

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
ดา้ นพทุ ธิพสิ ยั

1. บอกลักษณะโครงสร้างของภาษา C ได้ถูกตอ้ ง
2. วิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆ ของภาษา C ได้อย่าง

ถูกต้อง

ดา้ นทกั ษะพิสัย
3. เขยี นคำส่ังรบั และแสดงผลขอ้ มูลได้ถกู ตอ้ ง

ด้านจิตพิสัย
4. จำแนกชนดิ ขอ้ มลู ในภาษา C ไดถ้ ูกตอ้ ง
5. ประยุกต์ใช้เคร่ืองมือที่ช่วยในการเขียนโปรแกรม
ภาษา C ได้

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยที่ 3 ตัวดำเนินการและการ สมรรถนะ
คำนวณคา่ - เขียนโปรแกรมคำนวณค่าดว้ ยภาษา C

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม
ด้านพทุ ธิพิสัย

1. บอกลำดับของการคำนวณค่าไดอ้ ย่างถูกต้อง
2. บอกวิธปี รับแบบข้อมลู ของตัวแปรได้

ด้านทกั ษะพสิ ัย
3. ใชต้ ัวดำเนินการเลขคณติ ไดถ้ ูกต้อง
4. ใช้ตัวดำเนนิ การเพิ่ม – ลดค่าได้ถูกตอ้ ง

ด้านจติ พิสยั
5. ประยุกตใ์ ช้ฟังก์ชนั ในภาษา C เพอื่ ปดั เศษตัวเลขได้

ช่อื เรอ่ื ง สมรรถนะและจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

หนว่ ยที่ 4 การทำงานตามเงือ่ นไข สมรรถนะ
- เขียนโปรแกรมในรูปแบบทำงานตามเง่ือนไขดว้ ย
ภาษา C

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม
ด้านพุทธิพิสัย

1. อธิบายการทำตามเง่ือนไขแบบ if ได้
2. อธิบายการทำตามเง่ือนไขแบบ if…else ได้
3. อธบิ ายการทำตามเง่ือนไขแบบ switch…case ได้

ด้านทักษะพสิ ัย
4. ใช้คำสง่ั ควบคมุ การทำงานตามเงือ่ นไขไดอ้ ย่าง
เหมาะสม
5. เขียนโปรแกรมทำงานตามเงอ่ื นไขในภาษา C ได้
6. กำหนดเง่ือนไขได้อยา่ งถูกต้อง

ด้านจิตพสิ ัย
7. ประยุกตใ์ ชเ้ งื่อนไข if, if…else และ switch.case
ในการเขียนโปรแกรมได้

ช่อื เร่อื ง สมรรถนะและจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

หนว่ ยที่ 5 การทำงานแบบทำซ้ำ สมรรถนะ
- เขียนโปรแกรมในรูปแบบวนรอบทำซ้ำด้วยภาษา C

จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพสิ ยั

1. อธบิ ายการทำซ้ำแบบ for ได้
2. อธบิ ายการทำซ้ำแบบ while ได้
3. อธิบายการทำซำ้ แบบ do…while ได้

ด้านทักษะพิสยั
4. เขียนโปรแกรมโดยใชค้ ำสัง่ for ได้
5. เขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่ัง while ได้
6. เขียนโปรแกรมโดยใช้คำส่งั do…while ได้

ด้านจิตพิสัย
7. ประยกุ ตใ์ ช้คำสง่ั for, while และ do...while ใน
การเขียนโปรแกรมภาษา C ได้

ชื่อเรอ่ื ง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

หนว่ ยที่ 6 การเขยี นฟงั กช์ ัน สมรรถนะ
- เขียนและใช้งานฟังก์ชนั ในภาษา C

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ ิสยั

1. บอกความสำคญั ของฟังกช์ นั ได้
2. วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของตัวแปรรว่ มกับตัวแปร

ประจำท่ีได้

ดา้ นทกั ษะพิสัย
3. เขยี นฟังกช์ นั ในภาษา C ได้
4. กำหนดตน้ แบบฟงั กช์ นั ได้อย่างถูกต้อง

ด้านจิตพสิ ัย
5. จำแนกรูปแบบวธิ เี ขียนและใช้งานฟังกช์ ันแต่ละแบบ
ได้
6. ประยกุ ต์ใช้ฟังกช์ ันในการเขียนโปรแกรมภาษา C ได้

ชอ่ื เร่อื ง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

หนว่ ยที่ 7 ตวั แปรอาร์เรย์และสตริง สมรรถนะ
- เขยี นโปรแกรมภาษา C โดยใช้ตัวแปรอารเ์ รยแ์ ละ
สตรงิ

จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพิสยั

1. บอกประโยชน์ของตวั แปรอาร์เรยไ์ ด้
2. อธิบายความหมายของอาร์เรย์และตวั แปรสตรงิ ได้

ด้านทักษะพสิ ยั
3. ประกาศและใชง้ านตัวแปรอาร์เรยไ์ ดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
4. กำหนดค่าเร่ิมตน้ ให้กบั อาร์เรยไ์ ด้
5. ใช้งานตัวแปรอารเ์ รยแ์ บบตา่ งๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
6. ผ่านค่าอารเ์ รย์ให้กับฟังกช์ ันได้
7. ประกาศและใช้งานตวั แปรสตริงไดอ้ ย่างถูกต้อง
8. ใช้งานฟงั ก์ชันสตรงิ ในภาษา C ได้

ด้านจิตพิสัย
9. ประยุกตใ์ ช้ตัวแปรอาร์เรย์และตวั แปรสตรงิ ในการ
เขยี นโปรแกรมภาษา C ได้

ช่อื เรอ่ื ง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หนว่ ยท่ี 8 ตวั แปรแบบพเิ ศษ สมรรถนะ
- เขียนโปรแกรมโดยใช้งานตวั แปรแบบพิเศษในภาษา
C

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธิพิสยั

1. อธบิ ายลกั ษณะของตวั แปรพิเศษแต่ละแบบได้

ด้านทกั ษะพสิ ยั
2. ใช้งานตัวแปรพเิ ศษแตล่ ะแบบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. เขยี นโปรแกรมใช้งานตวั แปรแบบพิเศษตา่ งๆ ใน
ภาษา C ได้

ด้านจิตพิสยั
4. ประยกุ ต์ใชต้ วั แปรพเิ ศษแบบตา่ งๆ ในการเขียน
โปรแกรมภาษา C ได้

ช่ือเรื่อง สมรรถนะและจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม

หนว่ ยท่ี 9 การจดั การไฟล์ สมรรถนะ
- เขยี นโปรแกรมจดั การไฟล์ดว้ ยภาษา C

จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม
ด้านพทุ ธพิ สิ ัย

1. บอกข้นั ตอนการติดต่อไฟล์ได้
2. บอกวิธีการเปดิ – ปิดไฟล์ได้
3. วเิ คราะห์ความแตกต่างระหว่างตวั แปรไฟลก์ บั ตวั

แปรหน่วยความจำได้

ด้านทกั ษะพิสัย
4. ใชง้ านเทก็ ซ์ไฟล์ได้ถูกต้อง
5. ใช้งานไบนารไี ฟลไ์ ดถ้ กู ต้อง

ด้านจิตพสิ ยั
6. ประยุกต์ใชเ้ ทก็ ไฟล์และไบนารีไฟล์ในการเขียน
โปรแกรมภาษา C ได้

ชื่อเร่อื ง สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม

หน่วยท่ี 10 การทำโครงงานโปรแกรม สมรรถนะ
ขนาดเล็ก
- พัฒนาโปรแกรมขนาดเล็กโดยใช้ภาษา C

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม
ดา้ นพทุ ธพิ สิ ยั

1. บอกแนวทางในการพัฒนาโปรแกรมไดถ้ กู ต้อง
2. วิเคราะห์ข้อผดิ พลาดตา่ งๆ ในการพฒั นาโปรแกรมได้

ด้านทกั ษะพสิ ยั
3. ฝึกพัฒนาโปรแกรมขนาดเล็กโดยใช้ภาษา C

ด้านจิตพิสยั
4. ประยุกต์ใชแ้ นวทางในการพัฒนาโปรแกรมโดยใช้
ภาษา C ได้

รายชื่อหนว่ ยการสอน/การเรยี นรู้

หนว่ ยการสอน/การเรียนรู้

วชิ า การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

รหสั ... 3204 2007 ......คาบ/สปั ดาห์.......4......คาบ

รวม......72…… คาบ

บทท่ี ชอ่ื หน่วย ทฤษฎี จำนวนคาบ
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1 ความรพู้ ้ืนฐานในการเขยี นโปรแกรม 22

2 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษา C 22

3 ตวั ดำเนินการและการคำนวณคา่ 22

4 การทำงานตามเง่อื นไข 22

5 การทำงานแบบทำซำ้ 44

6 การเขียนฟงั กช์ นั 44

7 ตัวแปรอารเ์ รยแ์ ละสตรงิ 44

8 ตัวแปรแบบพเิ ศษ 44

9 การจดั การไฟล์ 44

10 การทำโครงงานโปรแกรมขนาดเล็ก 88

รวม 72

แผนการสอน/แผนการเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยที่ 1
สอนสปั ดาห์ที่ 1
แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี คาบรวม 4
ชื่อวิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ชอ่ื หนว่ ย ความรูพ้ ื้นฐานในการเขยี นโปรแกรม

ช่อื เร่อื ง ความรพู้ ื้นฐานในการเขยี นโปรแกรม จำนวนคาบ 4

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย

- แสดงความรู้เกยี่ วกบั ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม

เรอื่ งท่จี ะศกึ ษา

1. โปรแกรมคอมพวิ เตอร์
2. ภาษาคอมพวิ เตอร์
3. ขนั้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม
4. รหสั เทยี มและโฟลว์ชารต์
5. ภาษาท่ีใช้เขยี นโปรแกรม
6. องคป์ ระกอบของโปรแกรม
7. เครอื่ งมอื ชว่ ยพฒั นาโปรแกรม

สาระสำคัญ

การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ คอื การเรยี บเรียงคำสงั่ เพื่อใช้ควบคุมและส่งั ให้คอมพวิ เตอรท์ ำงานตาม
วัตถุประสงค์ทีต่ อ้ งการ โดยใช้ภาษาคอมพวิ เตอร์ การเขียนโปรแกรมจะตอ้ งทำอย่างเป็นระบบตามข้นั ตอนการ
พฒั นาโปรแกรม เพ่ือให้โปรแกรมมีความถกู ตอ้ งและสะดวกตอ่ การปรบั ปรุงในภายหลัง

จดุ ประสงคท์ ั่วไป

1. เพือ่ ให้มีความรู้และความเขา้ ใจเก่ียวกับความหมาย ภาษา และขัน้ ตอนการเขยี นโปรแกรม (ด้านพุทธิ
พสิ ัย)

2. เพ่ือใหม้ ีทักษะในการเขยี นรหัสเทยี มและโฟลวช์ ารต์ (ด้านทักษะพิสยั )
3. เพอ่ื ให้มีเจตคติทีด่ ีในการนำความรู้มาประยุกตใ์ ช้ (ดา้ นจติ พสิ ยั )

จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม

1. บอกคำจำกัดความของการเขียนโปรแกรมได้ (ดา้ นพุทธพิ สิ ัย)
2. บอกความหมายของภาษาคอมพวิ เตอร์ได้ (ดา้ นพุทธิพิสัย)
3. อธบิ ายข้นั ตอนการพฒั นาโปรแกรมได้ (ดา้ นพทุ ธิพิสัย)
4. ยกตัวอย่างภาษาทใี่ ช้เขยี นโปรแกรมได้ (ดา้ นพุทธพิ สิ ยั )
5. วเิ คราะหอ์ งค์ประกอบของโปรแกรมได้ (ดา้ นพุทธิพิสยั )
6. เขียนรหสั เทียมและโฟลว์ชารต์ ได้ (ดา้ นทกั ษะพสิ ยั )
7. ประยุกตใ์ ช้เคร่ืองมอื ชว่ ยพฒั นาโปรแกรมได้ (ด้านจิตพสิ ยั )

เน้อื หาสาระการสอน/การเรยี นรู้

























กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรียนรู้

ขัน้ ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้ันตอนการเรียนรหู้ รือกิจกรรมของนกั เรียน

1. ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน (5 นาที) 1. ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรียน (5 นาที)

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำ 1. ผู้เรียนหนังสือและฟังผู้สอนแนะนำรายวิชา

รายวิชา วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลท่ีใช้กับ วิธีการให้คะแนนและการประเมินผลท่ีใช้กับวิชา การ

วิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

2. ผู้สอนชี้แจงหัวข้อการเรียนและจุดประสงค์ 2. ผู้เรียนฟังผู้สอนแจ้งหัวข้อการเรียนและ

การเรียนประจำหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการเขียน จุดประสงค์การเรียนประจำหน่วยท่ี 1 ความรู้พ้ืนฐานใน

โปรแกรม การเขยี นโปรแกรม

2. ข้นั ให้ความรู้ (115 นาที) 2. ขน้ั ให้ความรู้ (115 นาที)

1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดเอกสารประกอบการ 1. ผู้เรียนฟังผู้สอนอธิบายและช้ีแจงพร้อมเปิด

สอนวิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 เอกสารวิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1

ความรู้พืน้ ฐานในการเขยี นโปรแกรม ความรพู้ น้ื ฐานในการเขยี นโปรแกรม

2. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถามในข้อ 2. ผู้เรยี นซักถามผู้สอนหากมีข้อสงสัย

สงสัยเมือ่ อธิบายเนอ้ื หาในหน่วยเรียนจบ

กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้

ขนั้ ตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรหู้ รอื กจิ กรรมของนักเรยี น

3. ขน้ั ประยกุ ต์ใช้ (105 นาที) 3. ข้ันประยกุ ต์ใช้ (105 นาที)

1. ผูส้ อนใหผ้ ู้เรียนทำกิจกรรมเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 1. ผเู้ รียนทำกิจกรรมเรียนรู้ หน่วยท่ี 1

2. ผู้สอนให้ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1 2. ผเู้ รยี นทำแบบฝึกหัด หน่วยที่ 1

4. ขั้นสรุปและประเมนิ ผล (15 นาที) 4. ขัน้ สรปุ และประเมนิ ผล (15 นาที)

1. ผู้สอนร่วมกับผู้เรียนทบทวนความเข้าใจและ 1. ผู้เรียนร่วมกับผู้สอนทบทวนความเข้าใจและ

สรุปเน้ือหาในหน่วยที่ 1 ความรู้พ้ืนฐานในการเขียน สรุปเน้ือหาในหน่วยท่ี 1 ความรู้พื้นฐานในการเขียน

โปรแกรม ให้มคี วามเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน โปรแกรม ใหม้ ีความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั

(บรรลุจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-7) (บรรลุจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-7)

(รวม 240 นาที หรือ 4 คาบเรียน)

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรมการวัดผลและประเมินผล

กอ่ นเรยี น

-

ขณะเรยี น

1. ทำกจิ กรรมเรียนรู้ หนว่ ยที่ 1
2. ทำแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

หลังเรียน

-

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผ้เู รยี น

1. กจิ กรรมเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
2. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1

ส่ือการเรยี นการสอน/การเรียนรู้

สื่อสิ่งพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา การโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (ใชป้ ระกอบการเรียนการสอนจดุ ประสงค์

เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 1-7)
2. กจิ กรรมเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 1 ใช้ขั้นประยกุ ตใ์ ชข้ ้อ 1
3. แบบฝึกหัด หนว่ ยท่ี 1 ใชข้ น้ั ประยกุ ต์ใชข้ ้อ 2

ส่ือโสตทัศน์ (ถ้ามี)
1. เคร่อื งไมโครคอมพิวเตอร์
2. วีดีทศั น์
3. บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI
4. งานนำเสนอ

สื่อของจรงิ

แหล่งการเรยี นรู้

ในสถานศกึ ษา
1. หอ้ งสมดุ
2. ห้องปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์

นอกสถานศกึ ษา
ผ้ปู ระกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถิน่

การบรู ณาการ/ความสมั พันธ์กบั วิชาอ่ืน

1. บรู ณาการกบั วชิ าภาษาไทย เรือ่ ง การบอกคำจำกัดความของการเขียนโปรแกรม การบอก
ความหมายของภาษาคอมพิวเตอร์ การอธบิ ายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม และการยกตัวอยา่ ง
ภาษาท่ใี ช้เขียนโปรแกรม

2. บรู ณาการกบั วชิ าวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การวเิ คราะห์องคป์ ระกอบของโปรแกรม
3. บูรณาการกับวิชาศิลปะ เรอื่ ง การเขียนรหัสเทียมและโฟลว์ชาร์ต

การประเมินผลการเรยี นรู้
• หลกั การประเมินผลการเรยี นรู้

กอ่ นเรยี น

-

ขณะเรียน

1. ตรวจกจิ กรรมเรยี นรู้ หน่วยท่ี 1
2. ตรวจแบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 1

หลงั เรียน

-

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเร็จของผูเ้ รยี น

1. กิจกรรมเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1
2. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 1

สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์

ผูเ้ รียนสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความรู้พน้ื ฐานในการเขียนโปรแกรม
1. วเิ คราะหแ์ ละตคี วามหมาย
2. สาธติ พร้อมแสดงท่าทางประกอบ
3. อภิปรายแสดงความคิดเหน็
4. ประยกุ ต์ความรสู้ ่งู านอาชีพ

สมรรถนะการปฏบิ ตั ิงานอาชีพ

แสดงความรเู้ ก่ียวกับภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม

สมรรถนะการขยายผล

ความสอดคล้อง
จากการเรียนสัปดาห์ที่ 1 เรื่อง ความรู้พ้ืนฐานในการเขียนโปรแกรม ผู้เรียนจะมีความรู้เก่ียวกับ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ ข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม รหัสเทียมและโฟลว์ชาร์ต ภาษาที่ใช้
เขียนโปรแกรม องค์ประกอบของโปรแกรม เคร่ืองมือช่วยพัฒนาโปรแกรม สามารถเข้าใจในภาษาคอมพิวเตอร์
และการพัฒนาโปรแกรม สามารถเขียนรหัสเทียมและโฟลว์ชาร์ต เขียนโปรแกรมเพ่ือติดต่อกับคอมพิวเตอร์ได้
และยังประยุกตใ์ ชเ้ คร่อื งมอื ช่วยพฒั นาโปรแกรมได้

รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรยี นรู้

• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 1 บอกคำจำกัดความของการเขยี นโปรแกรมได้

1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2. เคร่อื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : บอกคำจำกดั ความของการเขียนโปรแกรมได้ จะได้ 1 คะแนน

• จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 2 บอกความหมายของภาษาคอมพวิ เตอร์ได้

1. วิธีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมอื : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : บอกความหมายของภาษาคอมพิวเตอรไ์ ด้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 3 อธบิ ายขั้นตอนการพฒั นาโปรแกรมได้

1. วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ

2. เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารให้คะแนน : อธบิ ายขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมได้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ข้อท่ี 4 ยกตัวอย่างภาษาทีใ่ ชเ้ ขยี นโปรแกรมได้

1. วิธีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ยกตัวอย่างภาษาที่ใช้เขยี นโปรแกรมได้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ข้อที่ 5 วิเคราะห์องคป์ ระกอบของโปรแกรมได้

1. วธิ ีการประเมิน : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : วเิ คราะห์องค์ประกอบของโปรแกรมได้ จะได้ 1 คะแนน

• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ข้อที่ 6 เขียนรหัสเทยี มและโฟลวช์ าร์ตได้

1. วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ

2. เครื่องมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน : เขียนรหัสเทียมและโฟลวช์ ารต์ ได้ จะได้ 3 คะแนน

• จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ข้อที่ 7 ประยุกต์ใชเ้ ครือ่ งมือชว่ ยพัฒนาโปรแกรมได้

1. วธิ ีการประเมนิ : ทดสอบ

2. เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ

3. เกณฑ์การให้คะแนน : ประยกุ ต์ใชเ้ ครอื่ งมอื ชว่ ยพฒั นาโปรแกรมได้ จะได้ 1 คะแนน




















Click to View FlipBook Version