The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2563

แผนปฏิบัติการ 2563

Keywords: แผนปฏิบัติการ

á¼¹»¯ºÔѵԡÒÃ

»ÃШӻ‚§º»ÃÐÁÒ³ 2563

µÓºÅ¡ÃÐàÊÕÂÇâÍÃÓà§ÀÍàÃÊÒÂÕÁª¹¡ØǨѴѧËâǤ´ÑʡؾÃËóÁºÍŒÃØÕ

Êӹѡ§Ò¹à¢µ¾×é¹·Õè¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»ÃжÁÈÖ¡ÉÒÊؾÃóºØÃÕࢵ3

คำนำ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิภาพนั้นต้อง
มีการกาหนดทิศทาง เป้าหมาย และมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ รวมทั้งการได้รับความร่วมมือจากบุคลากร
ทุกฝ่ายของโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรต่าง ๆ
เพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นมีการพฒั นาคุณภาพการศึกษาอย่างยง่ั ยนื

โรงเรยี นวดั โคกหม้อ ตระหนักภารกิจหลักในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จึงได้จดั ทาแผนปฏิบัติ
การประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ขึ้น ซึ่งเป็นระบบการวางแผนท่ีผู้มีส่วนเกี่ยวข้องท้ังภายในและภายนอก
สถานศึกษา มีส่วนร่วมในกระบวนการคิดและจัดทาแผน อันเป็นวิธีการท่ีก่อให้เกิดความรับผิดชอบในการผลักดัน
การปฏิบตั ิงานใหป้ ระสบความสาเรจ็

การดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ครั้งน้ี มีการวางแผนการดางาน
และบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ โรงเรียนวัดโคกหม้อ ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
คณะกรรมการดาเนินงาน ผู้ปกครอง และบุคลากรทุกฝ่าย ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และหวังเป็นอย่างยิ่ง
ว่าแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตาม
แนวนโยบายการปฏิรปู การศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร

(นายบรรพต ฟกั อินทร์)
ผูอ้ านวยการโรงเรียนวัดโคกหมอ้

สำรบญั หน้า

คำนำ ข
สำรบัญ ๑
สว่ นที่ ๑ ส่วนนำ ๑

ประวัติความเปน็ มาของโรงเรยี น ๓
แผนผังโรงเรยี นวัดโคกหม้อ
ข้อมูลเบ้อื งต้นของโรงเรยี น ๔
แผนภูมิบรหิ ารงานโรงเรียน ๕
ข้อมลู เกีย่ วกบั นักเรยี น ๑๒
ขอ้ มูลชมุ ชน ๑๓
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๑๐
นโยบายของเกี่ยวกับครูและบคุ ลากร ๑๑
ข้อมลู เกย่ี วกบั อาคารเรียนและอาคารประกอบ ๑๑
ขอ้ มูลเก่ียวกบั ทรัพยากร ๑๔
ขอ้ มลู เก่ยี วกับคณะรฐั มนตรี (การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา)
นโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ๑๖
นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ๒๐
นโยบาย สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓ ๒๒
ตอนท่ี ๒ ทิศทำงกำรพัฒนำกำรศกึ ษำ ประจำปีงบประมำณ ๒๕๖๓ ๒๓
วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงคข์ องโรงเรยี น ๒๓
อตั ลักษณ์ เอกลักษณ์ กลยทุ ธ์ ๒๓
นโยบายประกนั ความปลอดภยั ของโรงเรยี น ๒๔
ตอนที่ ๓ รำยละเอยี ดโครงกำร ๒๕
ฝ่ายบรหิ ารวชิ าการ ๒๗
โครงการพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ๒๘
โครงการพฒั นาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๓๐
โครงการพฒั นาระบบสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยีและสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่าน ๓๓
โครงพัฒนาและเสริมสร้างความเขม้ แข็งการบรหิ ารวิชาการ ๓๗
โครงการพฒั นาและยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๓๙
โครงการการวัดและประเมนิ ผล การอา่ นคดิ วเิ คราะห์และเขยี น ๔๑
โครงการพฒั นาระบบประกันคณุ ภาพภายในเรื่องรองรับการประกนั คุณภาพภายนอก ๔๓
โครงการพฒั นาและเสริมสร้างกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
โครงการห้องสมุด ๔๕
โครงการลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้
๔๘
๕๐

สำรบญั (ต่อ) หนา้

ฝ่ำยบรหิ ำรงบประมำณ ๕๒
โครงการสาธารณปู โภคเพอื่ เสรมิ สร้างบรรยากาศการเรยี นรู้ ๕๓
โครงการจัดการศกึ ษาเรียนดี เรียนฟรี ๑๕ ปี อย่างมคี ุณภาพและทวั่ ถงึ ๕๕
๕๗
ฝ่ำยบริหำรงำนบคุ คล ๕๘
โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา ๖๐
โครงการวิทยากรภายนอกเสริมความรู้ ๖๒
โครงการการจ้างครูจา้ งชวั่ คราวรายเดือน ตาแหนง่ ครูผสู้ อน ๖๔
๖๕
ฝ่ำยบรหิ ำรทั่วไป ๖๘
โครงการอนามยั โรงเรียนและส่งเสรมิ สขุ ภาพ ๗๐
โครงการระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ๗๔
โครงการพัฒนา สง่ เสริม คณุ ธรรม จริยธรรม และประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น ๗๖
โครงการพฒั นาระบบขอ้ มูลสารสนเทศ ๗๘
โครงการพัฒนาและปรับปรุงอาคาร สถานที่ และสิง่ แวดล้อม ๗๘
๗๘
ตอนท่ี ๔ กำรบริหำรแผนสู่กำรปฏิบัติ ๗๙
การบริหารแผนสกู่ ารปฏิบัติ ๘๐
กลยุทธ์สูก่ ารปฏบิ ตั ขิ องโรงเรียนวดั โคกหม้อ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓ ๘๑

ภำคผนวก ๘๒
คาสงั่ ที่ ๓๖/๒๕๖๒ เร่อื ง คณะกรรมการจัดทาแผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓
บันทกึ การให้ความเหน็ ชอบแผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ของคณะกรรมการฯ
คณะผจู้ ดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓

กลยทุ ธส์ ่กู ำรปฏิบัตขิ อง โรงเรยี น

วิสยั ทัศน์ โรงเรียนวดั โคกหม้อ จดั การศกึ ษาที่มีคุณภาพ พัฒนาผูเ้ รีย
พันธกจิ กา้ วหน้าเทคโนโลยี แหล่งเร
เปำ้ ประสงค์
กลยทุ ธ์ ๑.จดั การศึกษาให้นกั เรยี นมีคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา โดยใชส้ ่ือเทคโนโลยีและแหล่งเรียน
๒.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลากหลาย โดยมงุ่ เสริมสรา้ งให้นกั เรียนไดร้ ับประสบการณต์ รง ม
๓.สง่ เสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี นให้มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ มคี ุณธรรม จริยธรรม รูจ้ ักตนเองมที ศั
๔.พัฒนาบุคลากรให้มคี วามรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู
๕.จดั สภาพแวดล้อม ใหเ้ อ้ือต่อการจดั การเรียนการสอน รม่ ร่ืนและสวยงาม
๖.บริหารจัดการโดยให้ชุมชนมสี ว่ นรว่ ม ในการวางแผนการดาเนินงานและประเมินติดตามผล

๑.นักเรียนทุกคนมีคณุ ภาพขนั้ พ้นื ฐาน อ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเปน็ มที ักษะชวี ิต แกป้ ญั หาได้แล
๒.นกั เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๙๐ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและยดึ มัน่ ในระบอบประชาธปิ ไตยเห็นคุณ
๓.นกั เรยี นไม่น้อยกวา่ ร้อยละ ๘๐ มีทกั ษะในการทางาน ร้หู น้าที่ มีความรบั ผิดชอบ มีเจตคติทด่ี ตี
๔.นกั เรยี นไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๕ มสี ุนทรีดา้ นศลิ ปะ ดนตรี กีฬาและทกั ษะชวี ติ ๕.โรงเรยี นมีระ
๖.ครูไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ับการพฒั นาไดต้ ามมาตรฐานวิชาชพี ครู

กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน กลยทุ ธ์ที่ ๒ ปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม
การศกึ ษาทกุ ระดบั ตามหลกั สตู ร ความเปน็ ไทยและวิถีชวี ติ ตามหลักปรชั ญา
และสง่ เสรมิ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี เศรษฐกจิ พอเพยี ง ความรบั ผิดชอบตอ่
เพือ่ เป็นเครื่องมอื ในการเรยี นรู้ สงั คมและส่งิ แวดล้อม

โครงกำร ๑.๑ พฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียน ๒.๑ พฒั นาประสทิ ธภิ าพการจัดการ
การสอนโดยเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ เรยี นรู้ตามปรัชญาของเศษฐกจิ พอพยี ง
๒.๒ สง่ เสรมิ และอนรุ ักษ์ดนตรไี ทย
๑.๒ พฒั นาระบบสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยี ๒.๓ พฒั นา สง่ เสริม คณุ ธรรม จริยธรรม
และส่งเสริมนิสัยรกั การอ่าน และประชาธปิ ไตยในโรงเรยี น

๑.๓ พฒั นาและเสริมสร้างความเขม้ แข็ง

การบริหารงานวชิ าการ

๑.๔ พฒั นาและยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ๑.๕ การวดั และประเมินผล การอ่าน

๑.๗ วทิ ยากรภายนอกเสริมความรู้

นวัดโคกหม้อ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓

ยนให้เป็นคนดี มีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รยี นรู้ทกั ษะชวี ติ พฒั นาสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ

นร้ภู ูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ โดยยึดผู้เรยี นเปน็ สาคญั
มที กั ษะชวี ติ สามารถนาไปใช้ในชวี ติ ประจาวัน เป็นแบบอยา่ งท่ดี ี และช่วยเหลอื สังคมได้
ศนคตแิ ละกระบวนการคิดวเิ คราะห์ที่เหมาะสม ปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ละมีผลสัมฤทธท์ิ างการศกึ ษา เฉล่ียสงู กว่าเกณฑ์มาตรฐานของโรงเรยี นทกุ วิชา ทุกชนั้ เรียน
ณคา่ การอนรุ กั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม สืบสานศลิ ปวัฒนธรรมไทย
ต่ออาชีพสจุ ริต และปฏบิ ัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ะบบการบรหิ ารจดั การที่ดี มคี ณุ ภาพ ผา่ นเกณฑม์ าตรฐานการศกึ ษา

กลยทุ ธท์ ่ี ๓ ยายโอกาส กลยทุ ธ์ที่ ๔ พฒั นาครูและ กลยทุ ธ์ท่ี ๕ พัฒนาประสทิ ธิภาพการบริหารจดั
ทางการศึกษาใหท้ ว่ั ถงึ บุคลากรทางการศกึ ษา การศกึ ษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทาง
ครอบคลมุ ผู้เรยี นไดร้ ับ ใหส้ ามารถจัดกจิ กรรม การศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล เนน้ การมสี ว่ นร่วม
โอกาสในการพัฒนาเต็ม การเรียน การสอนได้ จากทุกภาคสว่ นและความรว่ มมือกบั องค์กรปกครอง
ตามศักยภาพ อยา่ งมคี ณุ ภาพ สว่ นท้องถนิ่ เพอื่ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั
การศกึ ษา

๓.๑ พฒั นาและเสรมิ สร้าง ๔.๑ ส่งเสริมและพัฒนาครู ๕.๑ สาธารณูปโภคเพ่อื เสรมิ สร้างบรรยากาศการ
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน บคุ ลากรทางการศกึ ษา เรยี นรู้
๓.๒ อนามยั โรงเรยี นและ ๔.๒ การจา้ งลูกจ้าง ๕.๒ วิทยากรภายนอกเสรมิ ความรู้
ส่งเสรมิ สุขภาพ ช่วั คราวรายเดอื น ตาแหน่ง ๕.๓ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ
๓.๓ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื ครูผ้สู อน ๕.๔ พฒั นาและปรบั ปรุงอาคารสถานทแี่ ละ
นักเรยี น สิ่งแวดล้อม

น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ๑.๖ พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในเพือ่ รองรบั การประกันคณุ ภาพภายนอก
๑.๘ การจา้ งลูกจ้างชัว่ คราว รายเดอื น ตาแหนง่ ครผู ู้สอน

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑

สว่ นท่ี ๑

โรงเรียนวัดโคกหม้อ

ประวตั ิความเป็นมาของโรงเรียน

โรงเรียนวัดโคกหม้อ ต้ังขึ้นเมื่อวันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๔๗๘ โดยมีขุนประยูร สุทธิศึกษา กรรมการ
อาเภอสามชุกและนายชิน เจริญศรี สารวัตรศึกษา เป็นผู้มาเปิดโรงเรียนและแต่งต้ังให้ นายเสง่ียม ม่วงงาม
เป็นครใู หญ่คนแรก สามเณรประเสริฐ อาภรณ์รตั น์ เปน็ ครปู ระจาชัน้ โดยใชศ้ าลาการเปรียญวัดโคกหมอ้ เปน็ ห้องเรยี น

ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ได้จัดซื้อทดี่ ินและประชาชนบริจาค รวมเป็นพ้ืนท่ี ๗ ไร่ ๘๐ ตารางวา ทางราชการได้
อนุมัติงบประมาณให้เป็นเงิน ๑๐๕,๐๐๐ บาท ประชาชนบริจาคเพ่ิมอีก ๕๐,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงินท้ังส้ิน
๑๕๕,๐๐๐ บาท ก่อสร้างอาคารเรียน แบบ ๐๐๘ จานวน ๔ ห้องเรียน บริจาคเงินก่อสร้างเพิ่มเติมอีก ๑ ห้องเรียน
รวมเป็น ๕ หอ้ งเรยี น เปน็ เงนิ ๓๕,๐๐๐ บาท

วันที่ ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้เปิดเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ มีนักเรียน ๑๕ คน
ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ ได้ของบประมาณบารุงทอ้ งที่จากสภาตาบลเปน็ เงิน ๑๐,๐๐๐ บาท
และนายถ่าย นางสาลี ทองสุข บริจาคเงินอีก ๕,๐๐๐ บาท รวมเป็นเงิน ๑๕,๐๐๐ บาท สร้างโรงอาหารขนาด
๖X๑๒ เมตร แล้วเสรจ็ เมือ่ วนั ท่ี ๑๒ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๑๗
ปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ทางสภาตาบลกระเสียว ได้อนุมัติเงินผันสร้างห้องเรยี นต่อเพิ่มเติมอีก ๓ ห้องเรียนแบบ
๐๐๘ งบประมาณ ๑๘๐,๐๐๐ บาท สรา้ งเสร็จเม่ือวนั ท่ี ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๑๘
ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ทางราชการไดส้ ร้างโรงอาหาร ใหอ้ ีก ๑ หลัง
ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดส้ รา้ งรั้วโรงเรยี น รวมเปน็ เงินทั้งสิ้น ๕๑,๑๘๗ บาท
ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ สร้างท่ีจอดรถจักรยานนักเรียน โดยอาศัยแรงงานจากวิทยาลัยเทคนิคสุพรรณบุรี
งบประมาณ ๖๓,๘๔๗ บาท
วนั ที่ ๒๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ ได้สรา้ งประปาโรงเรยี นโดยใชเ้ งนิ จากการทอกผา้ ปา่ สามคั คี
เปน็ เงิน ๕๒,๑๗๕ บาท
วันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ ได้จดั ซอื้ ที่ดิน จานวน ๒ ไร่ เปน็ เงนิ ๒๖๐,๐๐๐ บาท
วนั ท่ี ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ หลวงพอ่ พระครวู ิจิตร วฒุ คิ ุณ (หลวงพ่อพร)
อดีตเจา้ อาวาสวดั โคกหมอ้ ได้สร้างหอ้ งสมุดโรงเรยี น ๑ หลัง มูลคา่ ๒๕๐,๐๐๐ บาท
ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ทางราชการไดอ้ นุมตั ิงบประมาณก่อสร้างอาคารเรยี น แบบ สปช.๐๑๕/๒๙
จานวน ๔ หอ้ งเรียน ๑ หลงั งบประมาณ ๑,๗๓๔,๐๐๐ บาท
วันที่ ๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๓ นายสมชาย นิ่มนุช มาดารงตาแหน่งอาจารย์ใหญ่แทน
นายสุชาติ อินทรศักด์ิ ทขี่ อยา้ ยตามคาสง่ั ของ ราชการ
วันท่ี ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ ทางราชการได้ยุบโรงเรียนวัดกระเสียว มารวมกับโรงเรียนวัดโคกหม้อ
โดยมีนักเรียนย้ายมาเรียนจานวน ๓๖ คน ครูมาช่วยราชการ ๒ คน คือ นายสุขเกษม ช่ออัญชัญ และ
นางอารดา กล่ินบานช่นื
วันท่ี ๑๕ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้จ่ายเงินซื้อท่ีดินจานวน ๒ งาน ๒๘ ตารางวา ในส่วนที่ยังค้างอยู่
จานวนเงิน ๓๖,๐๐๐ บาท ใหก้ ับ นางประทุม เบญ็ จวรรณ รวมเปน็ เงิน ซ้อื ทีด่ นิ ท้ังส้ิน ๗๔,๑๐๐ บาท

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒

วันที่ ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้งบประมาณก่อสร้างลานกีฬาอเนกประสงค์ เป็นจานวนเงิน
๑๑๗,๐๐๐ บาท

วันที่ ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กต่อเช่ือมทางเดินระหว่างสองอาคาร
เรยี น อาคารเรียน ๐๐๘ กับอาคารเรยี น สปช.๑๐๕/๒๙ ด้วยเงนิ บริจาคชุมชน จานวน ๔๐,๐๐๐ บาท

ปีการศึกษา ๒๕๕๒ นายมโน โยธาวงศ์ ย้ายมาดารงตาแหนง่ ผู้อานวยการโรงเรียนวัดโคกหมอ้ ถึง วันที่
๘ มกราคม ๒๕๕๖ ไดย้ ้ายไปดารงตาแหน่งผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดลาดสงิ ห์ สพป.สุพรรณบุรี เขต ๓

วันที่ ๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล ย้ายมาดารงตาแหน่งผู้อานวยการ
โรงเรียนวัดโคกหม้อ ถึง วันท่ี ๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙

วันที่ ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ นางกัญญา เอ่ียมสาอาง ครูชานาญการพิเศษโรงเรียนวัดโคกหม้อ
รักษาราชการแทนตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวดั โคกหม้อ

ปัจจุบันมี นายบรรพต ฟักอินทร์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนวัดโคกหม้อ ตั้งแต่วันที่ ๒๖
ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๕๙

ปจั จบุ ันโรงเรียนวดั โคกหม้อ เปิดสอนนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖
มนี ักเรยี น ๕๔ คน ผบู้ รหิ าร - คน ครูผสู้ อน ๔ คน ครูธรุ การ ๑ คน ลกู จา้ งชัว่ คราว ๓ คน

แผนผงั โรงเรยี นวัดโคกหม้อ

1. อาคารเรยี น แบบ 105/29
2. สนามเดก็ เล่น
3. โรงอาหาร
4. ห้องส้วม
5. อาคารเรยี น แบบ 008
6. ห้องสมดุ
7. สวนเกษตรพอเพียง
8. ศูนย์ศาสตร์พระราชา
9. บ่อนา้
10. สนามฟุตซอล
11. แปลงผกั สวนครัว
12. สนามฟุตบอล

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓

กอ่ ตง้ั เม่ือ ขอ้ มลู เบ้อื งต้น โรงเรียนวัดโคกหมอ้
พ้นื ท่ี อาเภอสามชกุ จังหวัดสุพรรณบุรี
ที่ตัง้
ทอี่ ยู่ ***********************
โทรศพั ท์/โทรสาร
ประเภทโรงเรียน ๒๙ กันยายน ๒๔๗๘
สงั กดั
โรงเรยี นวัดโคกหมอ้ มีพ้นื ทป่ี ระมาณ ๙ ไร่ ๘๐ ตารางวา
คตธิ รรม
ปรชั ญา สหวิทยาเขตสามชกุ สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓
สีประจาโรงเรยี น
หมู่ ๒ ตาบลกระเสียว อาเภอสามชุก จังหวดั สพุ รรณบรุ ี ๗๒๑๓๐



สหศึกษา เปิดทาการสอนระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖

สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต ๓
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน

ปญญา โลกสมิ ปชโชโต (ปญั ญาเปน็ แสงสว่างในโลก)

เรยี นดี มีวินยั ใฝ่คณุ ธรรม

แดง – ดา

อกั ษรย่อ ค.ม.
สญั ลักษณป์ ระจาโรงเรียน สญั ลกั ษณข์ องสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๔

แผนภูมิการบริหารงานโรงเรยี นวัดโคกหม้อ

ผอู้ านวยการโรงเรยี น
นายบรรพต ฟกั อนิ ทร์

คณะกรรมการสถานศกึ ษา

งานวิชาการ งานงบประมาณ งานบุคคล งานท่วั ไป

ดา้ นการบริหารวิชาการ ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ ด้านการบรหิ ารงานบคุ คล ดา้ นการบรหิ ารทั่วไป
นางอารดา กลิน่ บานชนื่ นางกัญญา เอี่ยมสาอาง นายบรรพต ฟักอนิ ทร์ นางชิน ออู่ รณุ
น.ส.รสสุคนธ์ ประทมุ ทอง
- งานพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษา - การวางแผนอัตรากาลังและ - งานธุรการ
- งานพัฒนากระบวนการเรยี นรู้ - จดั ทาและเสนอของบประมาณ กาหนดตาแหน่ง - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการ
- งานวดั ผลประเมนิ ผลและเทียบ - จดั สรรงบประมาณ - การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง
- งานตรวจสอบติดตาม - การเสริมสรา้ งประสทิ ธิภาพใน สถานศึกษา
โอนผลการเรยี น การปฏิบัติราชการ - งานพัฒนาระบบเครือข่าย
- งานวจิ ยั เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพ ประเมนิ ผลและรายงานผลการ - วินยั และการรกั ษาวนิ บั
ใช้เงินและผลการดาเนินงาน - การออกจากราชการ ข้อมูลสารสนเทศ
การศกึ ษา - งานระดมทรพั ยากรและการ -งานอ่ืนๆ ท่ไี ด้รบั มอบหมาย - งานจัดระบบการบรหิ ารและ
- งานพัฒนาสือ่ นวตั กรรมและ ลงทุนเพอ่ื การศกึ ษา
- งานการเงนิ และบัญชี พฒั นาองค์กร
เทคโนโลยีทางการศึกษา - งานบรหิ ารพสั ดุและสนิ ทรพั ย์ - งานดแู ลอาคารสถานทแี่ ละ
- งานพัฒนาแหลง่ เรียนรู้ - จัดระบบการควบคมุ ภายใน
- งานนิเทศการศกึ ษา สถานศกึ ษา สภาพแวดลอ้ ม
- งานแนะแนวการศกึ ษา - งานส่งเสรมิ กิจการนกั เรยี น - งานสามะโนนักเรียน
- งานประกันคณุ ภาพภายใน - งานดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรยี น - งานรับนกั เรียน
- งานอ่นื ๆ ท่ได้รับมอบหมาย - งานส่งเสริมและประสานงาน
สถานศกึ ษา
- งานส่งเสรมิ ความรู้ด้านวชิ าการ การศกึ ษาในระบบ นอก
ระบบ และตามอัธยาศยั
แก่ชุมชน - งานประชาสมั พันธ์โรงเรียน
- งานประสานความรว่ มมอื ใน - งานบริการสาธารณะ
- งานอื่นๆ ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย
การพฒั นาวิชาการกับ
สถานศึกษาอน่ื
- งานส่งเสริมและสนับสนนุ งาน
วิชาการแกบ่ คุ คล ครอบครวั
หนว่ ยงานและสถานบันอืน่
- งานอ่ืนๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๕

ขอ้ มลู เกีย่ วกบั นกั เรียน

ตารางที่ ๑ แสดงจานวนห้องเรียน จานวนนกั เรยี นและจานวนนักเรยี นท่ีขาดแคลน จาแนกตามช้นั เรยี นและเพศ

(ขอ้ มลู วันท่ี ๑ เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๒)

ชั้น จานวน จานวนนักเรียน จานวนนกั เรียนทขี่ าดแคลน
หอ้ งเรียน ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม รอ้ ยละ

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๑ ๔ ๕ ๙ ๑ ๒ ๓ ๖๐

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑ ๕ ๕ ๑๐ ๒ ๒ ๔ ๖๐

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๑ ๔ ๔ ๘ ๓ ๑ ๔ ๕๗.๑๔

ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ๑ ๓ ๑ ๔ ๓ ๑ ๔ ๖๖.๖๗

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ๑ ๓ ๕ ๘ ๒ ๒ ๔ ๕๐

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ๑ ๑๑ ๗ ๑๘ ๕ ๔ ๙ ๔๗.๒๗

รวมท้ังสิ้น ๖ ๒๗ ๒๗ ๕๔ ๑๘ ๑๓ ๓๑ ๕๖.๓๖

ผลการจัดการเรยี นรูต้ ามหลักสตู รสถานศกึ ษา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ประถมศึกษาปีท่ี ๖
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ตารางท่ี ๒ แสดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ จานวน ร้อยละ

จานวน จานวนนกั เรียนทีม่ ผี ลการเรียนรู้ นร.ทีไ่ ด้ นร.ทไ่ี ด้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ท่เี ข้า ๐ ระดบั ๓ ระดับ ๓
สอบ
ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ขนึ้ ไป ขนึ้ ไป
คณติ ศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์ ๗ ๑ ๒๒ ๒ ๔ ๕๗.๑๔
สงั คมศกึ ษา ฯ
สงั คมศกึ ษา ฯ ๗ ๑ ๒ ๒ ๑ ๑ ๔ ๕๗.๑๔
(ประวตั ติศาสตร)์
สงั คมศึกษา ฯ ๗ ๑๒๑ ๓ ๓ ๔๒.๘๕
(หนา้ ท่พี ลเมือง)
สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ๗ ๑ ๓๓ ๓ ๔๒.๘๕
ศลิ ปะ
การงานอาชีพฯ ๗ ๑ ๒ ๓๑ ๔ ๕๗.๑๔
ภาษาต่างประเทศ
๗ ๑๑๑ ๔ ๔ ๕๗.๑๔

๗ ๑ ๔ ๑ ๑ ๖ ๘๕.๗๑

๗ ๒๒ ๓ ๕ ๗๑.๔๒
๗๗
๑ ๔๒ ๖ ๘๕.๗๑

๑ ๑๑๒ ๒ ๒ ๒๘.๕๗

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๖

ตารางที่ ๓ แสดงผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

กลุ่มสาระการเรียนรู้ จานวน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ จานวน ร้อยละ
จานวนนกั เรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ นร.ที่ได้ นร.ทไ่ี ด้
ภาษาไทย ระดบั ๓ ระดบั ๓
คณิตศาสตร์ ทเ่ี ขา้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ข้นึ ไป ขึน้ ไป
วิทยาศาสตร์ สอบ
สังคมศกึ ษา ฯ ๕ ๘๓.๓๓
สงั คมศกึ ษา ฯ ๖ ๑ ๒๑ ๒ ๑ ๑๖.๖๖
(ประวตั ตศิ าสตร)์ ๑๔๑ ๓ ๓
สงั คมศกึ ษา ฯ ๖ ๔ ๕๐
(หนา้ ทีพ่ ลเมอื ง) ๓ ๖๖.๖๖
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๖ ๑ ๑ ๒๒
ศิลปะ
การงานอาชพี ฯ ๖
ภาษาต่างประเทศ
๖ ๑๑๓ ๑ ๕ ๘๓.๓๓

๖ ๑ ๑๒ ๒ ๕ ๘๓.๓๓

๖ ๑๕ ๖ ๑๐๐
๖ ๒๑ ๓ ๖ ๑๐๐
๖ ๑๒ ๓ ๖ ๑๐๐
๖ ๑๑ ๒ ๒ ๒ ๓๓.๓๓

ตารางท่ี ๔ แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๑

ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๓ จานวน รอ้ ยละ

จานวน จานวนนักเรยี นทีม่ ผี ลการเรียนรู้ นร.ทไ่ี ด้ นร.ทไี่ ด้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ที่เข้า ๐ ระดับ ๓ ระดบั ๓
สอบ
ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ขึน้ ไป ขน้ึ ไป
คณติ ศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๘ ๑ ๑ ๑ ๔ ๑ ๖ ๗๕
สังคมศึกษา ฯ
สงั คมศกึ ษา ฯ ๘ ๑๑ ๓ ๓ ๖ ๗๕
(ประวัตตศิ าสตร)์
สงั คมศกึ ษา ฯ ๘ ๑ ๑ ๒ ๓ ๑ ๖ ๗๕
(หนา้ ทพ่ี ลเมอื ง)
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๘ ๑ ๓ ๒ ๒ ๗ ๘๗.๕
ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ๘ ๓ ๓ ๑ ๑ ๕ ๖๒.๕
ภาษาตา่ งประเทศ
๘ ๑ ๔ ๑ ๒ ๗ ๘๗.๕

๘ ๑ ๒ ๔ ๑ ๗ ๘๗.๕
๘ ๒ ๓ ๓ ๖ ๗๕
๘ ๑ ๔ ๑ ๒ ๗ ๘๗.๕

๑ ๑ ๑ ๓ ๒ ๕ ๖๒.๕

แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๗

ตารางที่ ๕ แสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ จานวน ร้อยละ

กล่มุ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนักเรียนที่มผี ลการเรียนรู้ นร.ท่ีได้ นร.ทไ่ี ด้
ที่เขา้ ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ระดบั ๓ ระดับ ๓
ภาษาไทย สอบ ขึ้นไป ขนึ้ ไป
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๑๙ ๒ ๓ ๒ ๓ ๙ ๑๔ ๗๓.๖๘
สังคมศกึ ษา ฯ
สงั คมศกึ ษา ฯ ๑๙ ๑ ๒ ๒ ๒ ๔ ๘ ๑๔ ๗๓.๖๘
(ประวตั ตศิ าสตร์)
สงั คมศึกษา ฯ ๑๙ ๔ ๖ ๓ ๖ ๑๕ ๗๘.๙๔
(หน้าท่พี ลเมอื ง)
สุขศึกษาและพลศกึ ษา ๑๙ ๓ ๓ ๔ ๓ ๖ ๑๓ ๖๘.๔๒
ศิลปะ
การงานอาชพี ฯ ๑๙ ๔ ๒ ๔ ๓ ๒ ๔ ๙ ๔๗.๓๖
การงานอาชีพฯ
(คอมพิวเตอร)์ ๑๙ ๖ ๓ ๒ ๘ ๑๓ ๖๘.๔๒
ภาษาตา่ งประเทศ
๑๙ ๓ ๑ ๑ ๓ ๒ ๙ ๑๔ ๗๓.๖๘

๑๙ ๓๔ ๕ ๗ ๑๒ ๖๓.๑๖

๑๙ ๔ ๒ ๓ ๖ ๔ ๑๓ ๖๘.๔๒

๑๙ ๑๙ ๑๙ ๑๐๐

๑๙ ๓ ๔ ๑ ๓ ๑ ๑ ๘ ๘ ๔๒.๑๐

ตารางท่ี ๖ แสดงผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๕ จานวน รอ้ ยละ

กลุม่ สาระการเรียนรู้ จานวน จานวนนักเรยี นท่มี ผี ลการเรียนรู้ นร.ทไี่ ด้ นร.ทไ่ี ด้
ทีเ่ ข้า ระดบั ระดบั ๓
ภาษาไทย สอบ ๐
คณติ ศาสตร์ ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ๓ ขึ้น ขนึ้ ไป
วิทยาศาสตร์ ๕
สังคมศึกษา ฯ ๕ ไป
สงั คมศึกษา ฯ ๕
(ประวัตตศิ าสตร์) ๕ ๑ ๑ ๓ ๔ ๘๐
สังคมศึกษา ฯ
(หนา้ ท่ีพลเมอื ง) ๕ ๒ ๓ ๓ ๖๐
สุขศึกษาและพลศึกษา
ศลิ ปะ ๑๒ ๒ ๔ ๘๐
การงานอาชพี ฯ
การงานอาชพี ฯ ๒ ๑ ๒ ๓ ๖๐
(คอมพวิ เตอร)์
ภาษาต่างประเทศ ๑ ๒ ๒ ๔ ๘๐

๕ ๑๑ ๓ ๓ ๖๐

๕ ๑ ๑ ๓ ๔ ๘๐
๕ ๕ ๕ ๑๐๐
๕ ๑ ๔ ๕ ๑๐๐

๕ ๒ ๓ ๕ ๑๐๐

๕ ๑ ๑ ๓ ๔ ๘๐

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๘

ตารางท่ี ๗ แสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ จานวน รอ้ ยละ

จานวน จานวนนักเรียนท่มี ผี ลการเรียนรู้ นร.ที่ได้ นร.ท่ีได้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ที่เขา้ ๐ ระดบั ๓ ระดบั ๓
สอบ
ภาษาไทย ๑ ๑.๕ ๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕ ๔ ขน้ึ ไป ข้ึนไป
คณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์ ๙ ๑ ๓ ๑ ๒ ๑ ๑ ๔ ๔๔.๔๔
สงั คมศกึ ษา ฯ
สังคมศึกษา ฯ ๙ ๑ ๑๒๓ ๑ ๑ ๒ ๒๒.๒๒
(ประวตั ติศาสตร)์
สงั คมศกึ ษา ฯ ๙ ๕ ๒ ๑ ๑ ๔ ๔๔.๔๔
(หน้าที่พลเมอื ง)
สุขศึกษาและพลศึกษา ๙ ๑ ๑๔๑ ๑ ๑ ๒ ๒๒.๒๒
ศลิ ปะ
การงานอาชีพฯ ๙ ๓ ๓ ๒ ๑ ๑ ๑๑.๑๑
การงานอาชพี ฯ
(คอมพิวเตอร)์ ๙ ๗ ๑ ๑ ๙ ๑๐๐
ภาษาต่างประเทศ
๙ ๑ ๔ ๒ ๒ ๘ ๘๘.๘๘
๙ ๓ ๒ ๓ ๑ ๖ ๖๖.๖๖
๙ ๑ ๖ ๒ ๘ ๘๘.๘๘

๑ ๑ ๗ ๙ ๑๐๐

๑ ๓ ๑ ๑ ๓ ๕ ๕๕.๕๕

ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑

ตารางที่ ๘ ผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษา ระดับชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖
ปีการศึกษา ๒๕๖๑

สาระวิชา จานวน คะแนน คะแนน คะแนนเฉลยี่ สว่ นเบีย่ งเบน คะแนน
คน สงู สุด ต่าสดุ มาตรฐาน เฉล่ยี รอ้ ยละ
คณิตศาสตร์
ภาษาไทย ๑๙ ๘๕ ๑๕ ๔๑.๖๗ ๑๙.๑๕ ๔๑.๖๗
วิทยาศาสตร์ ๑๙ ๗๒ ๔๐.๗๕ ๕๕.๙๗ ๑๐.๖๑ ๕๕.๙๗
ภาษาตา่ งประเทศ ๑๙ ๕๖ ๓๖.๗๒ ๑๐.๐๘ ๓๖.๗๒
๑๙ ๖๕ ๒๔ ๓๔.๗๒ ๑๒.๘๓ ๓๔.๗๒
๒๒.๕๐

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๙

ผลการประเมนิ NT ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

ตารางท่ี ๙ แสดงผลการประเมิน ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๓ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

จานวน คะแนน ส่วนเบ่ยี งเบน เฉลยี่ จานวนรอ้ ยละของนกั เรียนท่ีได้

วชิ า ระดบั
คน เฉลย่ี มาตรฐาน ร้อยละ ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีเยี่ยม
การอา่ นฯ
การคิดคานวณฯ ๘ ๒๓.๗๕ ๒.๐๔ ๖๗.๘ ๕๓
การใหเ้ หตผุ ลฯ ๘ ๑๙.๓๗ ๓.๗๗ ๕๕.๓๕ ๑๖๑

๘ ๒๔.๗๕ ๓.๗๓ ๗๐.๗๑ ๑๔๓

ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

ตารางท่ี ๑๐ แสดงผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ ปีการศึกษา ๒๕๖๑

ระดับชนั้ จานวน นร. จานวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ
ทงั้ หมด
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ (คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์)
ประถมศึกษาปีที่ ๒ ๗
ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ๖ ดีเย่ยี ม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน
ประถมศึกษาปีท่ี ๔ ๘
ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๑๙ ๗
ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๕
๙ ๖
รวม ๕๔
เฉลีย่ รอ้ ยละ ๑๐๐ ๘

๘๕๖



๒๗

๑๐ ๓๘ ๖

๑.๘๕ ๗๐.๓๗ ๑๑.๑๑

ผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น

ตารางที่ ๑๑ แสดงผลการประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑ – ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑

ระดบั ชนั้ จานวน นร. จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดบั คณุ ภาพ
ทัง้ หมด
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ (การอ่านคิด วิเคราะห์ และเขยี น)
ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ๗
ประถมศกึ ษาปีที่ ๓ ๖ ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไมผ่ ่าน
ประถมศกึ ษาปที ่ี ๔ ๘
ประถมศึกษาปีท่ี ๕ ๑๙ ๗
ประถมศึกษาปที ่ี ๖ ๕
๙ ๕๑
รวม ๕๔
เฉล่ยี รอ้ ยละ ๑๐๐ ๖๒

๑๐ ๔ ๕

๓๒

๑๗๑

๒๐ ๔๕ ๗

๓๗.๐๓ ๘๓.๓๓ ๑๒.๙๖

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑๐

ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น

ตารางที่ ๑๒ แสดงผลการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๖ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑

ระดบั ชัน้ จานวน นร. จานวน/รอ้ ยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ
ทง้ั หมด (กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น)
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๗ ผา่ น ไมผ่ า่ น
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๖ ๗
ประถมศกึ ษาปีท่ี ๔ ๘ ๖
ประถมศึกษาปที ่ี ๕ ๑๙ ๘
ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ๕ ๑๙
๙ ๕
รวม ๕๔ ๙
เฉล่ยี ร้อยละ ๑๐๐ ๕๔
๑๐๐

ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ครแู ละบุคลากร

ท่ี ชื่อ สกุล ตาแหน่ง วฒุ ิ สาขา/วชิ าเอก

๑ นายบรรพต ฟกั อนิ ทร์ ผู้อานวยการ ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา

๒ นางชิน อ่อู รุณ ครู คศ.๓ ศศ.บ วทิ ยาศาสตร์ทัว่ ไป

๓ นางอารดา กลิ่นบานชื่น ครู คศ.๓ ค.บ. สุขศึกษา

๔ นางกญั ญา เอีย่ มสาอาง ครู คศ.๓ กศ.ม. การบริหารการศึกษา

๕ นางสาวรสสคุ นธ์ ประทุมทอง ครูผู้ชว่ ย วท.บ. วิทยศาสตรท์ วั่ ไป

๖ นางสาวปยิ ะรัตน์ สวา่ งศรี อตั ราจา้ ง ศศ.บ. พฒั นาชมุ ชน

๗ นางสาวกาญจนา แก่นนา อตั ราจ้าง ค.บ. นวัตกรรมและ
เทคโนโลยกี ารศกึ ษา

๘ นายนาวนิ ภฆู งั อัตราจ้าง ค.บ. สังคมฯ

๙ นางสาวศริ ญิ ญา ภูฆัง อัตราจา้ ง ค.บ. สงั คมฯ

๙ นางสาวทิพย์วรรณ ทองโสภา ครูธรุ การ บธ.บ. การบญั ชี

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๑๑

จาแนกตามเพศ – วฒุ ิการศึกษา เพศ ระดบั การศกึ ษาสูงสดุ

ประเภทบุคลากร ชาย หญิง ตา่ กวา่ ปริญญาตรี สงู กว่า
ปรญิ ญาตรี ปริญญาตรี
ผอู้ านวยการ ๑-
ข้าราชการครู -๔ - -๑
ลกู จ้างประจา --
ครูธุรการ -๑ - ๒๒
ลกู จา้ งชัว่ คราว ๑๓
๒๘ ---
รวม
-๑-

-๔-

- ๗๓

.

ขอ้ มูลเกยี่ วกับอาคารเรียนและอาคารประกอบ

อาคารเรยี นจานวน ๒ หลัง อาคารประกอบจานวน ๑ หลัง (หอ้ งสมดุ ) ส้วม ๒ หลัง สนมเด็กเลน่ ๑ สนาม
สนามฟุตบอล ๑ สนาม

ประเภทอาคาร หลงั ห้อง หมายเหตุ
อาคารเรียน แบบ ๐๐๘
อาคารเรยี น แบบ ๑๐๕/๒๙ ๑๘ ก่อสรา้ ง ๒๕๑๒

อาคารห้องสมุด ๑๘ กอ่ สร้าง ๒๕๔๒
บ้านพักครู
ส้วม ๑- ๓ เม.ย. ๒๕๔๐

ถงั น้าซเี มนต์ ๑ - สามญั /๒๕๑๘ (ชารดุ )

๒๘ ๖๐๑/๒๖/๒๕๓๐

งบฯ บริจาค ๒๕๕๗

๑๓ ฝ.๓๓/๒๕๔๓

ข้อมูลเกยี่ วกบั ทพั ยากร

การจัดสรรงบประมาณ ตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓

 อุดหนุนรายหวั

นักเรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษา ๑,๙๐๐ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๘๕,๕๐๐ บาท
 เงินเพม่ิ เติมใหโ้ รงเรยี นขนาดเล็ก ตามมติคณะรัฐมนตรี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๓

เพ่ิมเติมให้ ๕๐๐ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๒๒,๕๐๐ บาท

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๑๒

โครงการเรียนฟรี ๑๕ ปี

๑.เงนิ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น
นกั เรียนระดบั ประถมศกึ ษา ๔๘๐ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๒๑,๖๐๐ บาท

๒.ค่าอปุ กรณ์นกั เรียน
นกั เรียนระดบั ประถมศึกษา ๑๙๕ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๘,๗๗๕ บาท

๓.ค่าเครือ่ งแบบนักเรยี น
นักเรียนระดับประถมศึกษา ๓๖๐ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๑๖,๒๐๐ บาท

๑.ค่าหนงั สอื เรยี น
นักเรยี นระดับประถมศกึ ษา ๔๘๐ บาท/คน/ปี จานวน ๔๕ คน รวม ๒๑,๖๐๐ บาท
รวมยอดจัดสรรประจาปี ๒๕๖๓ จานวน 1๗๖,๑๗๕ บาท

ยอดยอมา จากปงี บประมาณ ๒๕๖๒ จานวน 26,229 บาท
รวมงบประมาณท้ังปี ๖๓ จานวน 145,029 บาท

การบริหารงาน จานวน (บาท)
ฝา่ ยบรหิ ารวิชาการ
๑๒,๕๓๙
- พัฒนาการเรียนการสอน ๔๙,๔๑๒
- กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๒๔,๐๐๐
๘๕,๘๕๐
ฝ่ายบริหารงบประมาณ ๑๕,๐๐๐
ฝ่ายบริหารงานบุคคล ๑๓๗,๓๘๙
ฝ่ายบริหารงานทั่วไป

รวม

ข้อมลู เกย่ี วกบั ชุมชน

สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะ มีประชากรประมาณ ๓,๘๑๐ คน บริเวณใกล้เคียงโดยรอบ
โรงเรยี น ได้แก่ ในชุมชนมโี รงเรยี นเขา้ มาตั้ง ๒ โรงงานอาชีพหลักของชมุ ชน คือประกอบอาชพี เกษตรกรรมและรับจ้าง
บางส่วนประกอบอาชีพเสริมโดยการรับจ้างร้อยมาลัย ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
ทเี่ ปน็ ทร่ี ู้จักโดยทั่วไป

ผู้ปกครองส่วนใหญ่ จบการศึกษาระดับ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๔ อาชีพหลัก คือ ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม และรับจ้าง ส่วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ ฐานะทางเศรษฐกจิ /รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวตอ่ ปี ๖๕,๐๐๐
บาท จานวนคนเฉลย่ี ตอ่ ครอบครวั ๕ คน

โอกาสและข้อจากัดของโรงเรียน ข้อจากัดของโรงเรียน คือผู้เรียนส่วนใหญ่มีฐานะทางบ้านยากจน เป็น
เด็กกาพร้า อาศัยอยู่กับปู่ ย่า ตา ยาย ซ่ึงต้องเป็นผู้ปกครองแทนและต้องไปประกอบอาชีพหาเล้ียงครอบครัวทาให้
ไม่มีเวลาดแู ลบุตรหลานในการอบรมและการเรยี น

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๑๓

คณะกรรมการสถานศึกษา

๑. นายสามารถ แกว้ โกมล ผูแ้ ทนผู้ทรงคุณวฒุ ิ ประธานคณะกรรมการ
๒. นายจานง อนิ ทนะ ผแู้ ทนศาสนา กรรมการ
๓. นายเรืองฤทธิ์ ทดั เกษร ผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการ
๔. นายสมยศ ทดั เกษร ผแู้ ทนศษิ ย์เกา่ กรรมการ
๕. นายเสวก ศรวี เิ ชียร ผู้แทนองค์กรชุมชน กรรมการ
๖. นายสมยศ ภมรพล ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ กรรมการ
๗. นายสุเทพ แจม่ จนั ทร์ ผู้แทนผู้ปกครอง กรรมการ
๘. นางอารดา กลน่ิ บานชื่น ผแู้ ทนครู กรรมการ
๙. นายบรรพต ฟกั อนิ ทร์ ผู้อานวยการโรงเรยี น กรรมการและเลขานุการ

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑๔

นโยบายและแนวทาง
การพฒั นาการศึกษาสู่ความเปน็ เลศิ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษา ถือเปน็ ภารกิจสา้ คัญของการพฒั นาคนไทยเป็นรากบานขแงการพัฒนาประเทศ
ทรี่ ัฐบาลได้ก้าหนดไว้ในวสิ ัยทัศน์ประเทศไทย “ที่มุ่งให้ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคง่ั ยงั่ ยืน” โดยก้าหนดกรอบแนวทาง
ท่ีส้าคัญของยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) ด้านการผลิตและพัฒนาก้าลังคนให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของประเทศ เช่น ก้าหนดวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ท่ีเปล่ียนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อน
ด้วยนวัตกรรม Thailand 4.0 (เทคโนโลยีความคิดสร้างสรรค์) และนวัตกรรม) วิสัยทัศน์ ด้านการพัฒนาและ
เสริมสร้างศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้มีการยกระดับการศึกษา และการเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึง
ปลูกฝังระเบียบวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นิยม ทีพ่ ึงประสงค์ และค้าแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรี ท่ีแถลงต่อสภา
นิติบัญญัติแห่งชาติถึงนโยบายด้านการศึกษา (ข้อท่ี 4) ท่ีให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ทังในระบบและ
การศึกษาทางเลือก การสนับสนุนการศึกษาให้สอดคล้องกับความจ้าเป็นของผู้เรียนมุ่งกระจายอ้านาจการบริหารจัด
การศึกษา สู่สถานศกึ ษา เขตพืนที่การศึกษา และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น พฒั นาระบบการผลิต และพัฒนาครู ที่มี
คณุ ภาพ การปลกู ฝังค่านยิ ม และจิตส้านึกทีด่ ีแกเ่ ยาวชน ฯ (ข้อที่ 8) ด้านการพฒั นา และส่งเสริมการใช้ประโยชนจ์ าก
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม เพื่อน้าไปสู่ การผลิต และบรกิ ารท่ีทันสมัย และนโยบายของ
รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ด้านการศึกษา

ก้าหนดจุดเน้น และแนวทางในการขบั เคล่อื นนโยบาย โดยการนอ้ มน้ากระแสพระราด้ารัสเกี่ยวกับการปฏิรูป
การศึกษา ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 เป็นแนวทางในการด้าเนินงาน การจัดการ
ศึกษา คือ “ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู ให้ครูสอนเด็กมีน้าใจต่อเพื่อน ไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเอง ให้เด็ก
นักเรียนเก่งกว่าช่วยสอนเพื่อที่เรียนช้ากว่า ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กนักเรียนท้าร่วมกัน เพ่ือให้เห็นคุณค่าของความ
สามัคคี” การก้าหนดจุดเน้น ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ 6 ด้าน ได้แก่ ด้านหลักสูตร
และกระบวนการเรียนรู้ การผลิตและพัฒนาครู การทดสอบการประเมิน การประกันคุณภาพ และการพัฒนา
มาตรฐานการศึกษา การผลิต พัฒนาก้าลังคนและงานวิจัย ท่ีสอดคล้องกับความต้องการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยี
เพื่อการศึกษา และการบริหารจัดการ ซึ่งทัง 6 ยุทศาสตร์ส้าคัญดังกล่าว ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
พืนฐาน จึงกา้ หนดจดุ เน้นการด้าเนินงาน ในปีงบประมาณ 2560 ท่ีสอดคล้องกับยุทสาสตรข์ องกระทรวงศึกษาธิการ
และเร่งด้าเนนิ การขบั เคลอ่ื น อย่างเป็นรูปธรรมต่อไป

จากวิสัยทัศฯประเทศไทย ยุทศาสตร์ของชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) นโยบายด้านการศึกษา
ของรัฐบาล นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน
ด้านการศึกษาดังกล่าว ส้านักงานการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 จึงก้าหนดกรอบนโยบาย และแนวทาง
การขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา ในปีการศึกษา 2560 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการศึกษา และการพัฒนาของ
เขตพืนทีก่ ารศึกษาไปสเู่ ป้าหมาย ทังด้านการบริหารจดั การ การพัฒนาองค์กร การสร้างและการพัฒนาระบบคณุ ภาพ
การเช่ือมโยงนโยบายในส่วนต่าง ๆ รวมถึงแนวนโยบายของจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ลงสู่การปฏิบั ติให้เกิดการ
ประสานสอดคล้องเป็นองค์รวม ดงั นี

1. การบริหารจัดการส้านักงานเขตพืนที่การศึกษาประถมศึกษา ท่ีต้องร่วมกันบริหารจัดการ และยึด
หลักธรรมมาภิบาล (Good Governance) ทังด้านนิติธรรม คุณธรรม ความโปร่งใส การมีส่วนร่วม ความรับผิดชอบ
และความคมุ้ ค่า โดยมผี ู้อ้านวยการเขตพืนที่การศึกษา เปน็ กลไกส้าคัญในการเช่ือมประสานนโยบายสู่การปฏิบตั ิทเ่ี ป็น
รูปธรรม

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๑๕

2. การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learnning Organization) ด้วยกระบวนการเรียนรู้ของคนในองค์กร
(Personal Mastery) ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพ่ือเพิ่มศักยภาพของตนเอง การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision)
รวมพลังเพื่อให้เกิดการพัฒนา ไปสู่จุดมุ่งหมายเดียวกัน และการพัฒนาระบบการคิดของคนในองค์กร (Systems
Thinking) ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เห็นขันตอนแนวทางการพัฒนางาน และการใช้กระบวนการสร้าง
ระบบพเี่ ลยี ง (Coacing and Mentoring) ในการทา้ งาน เปน็ ต้น

3. การบูรณาการการมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาของเครือ่ ข่ายทุกภาคสว่ น ได้แก่

3.1 เช่ือมโยงยทุ ศาสตรก์ ารศึกษาใหเ้ ชอ่ื โยงยุทศาสตรก์ ารศกึ ษาชาติกระทรวงศึกษาธิการ สา้ นกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน ยทุ ศาสตร์ของจังหวดั และกลุ่มจงั หวัด

3.2 สนับสนุนหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ ท้องถ่ิน เอกชน องค์กรชุมชน มีส่วนร่วมในการจัด
การศกึ ษา เชน่ โรงเรยี นประชารัฐ สนับสนุนให้ภาคเอกชน มสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา เปน็ ต้น

4. ส่งเสริมและพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการของเขตพนื ที่การศึกษาสูค่ วามเป็นเลิศ

4.1 สร้างระบบการวางแผนและพัฒนาเขตพืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในสังกัด ให้มีความ

เข้มแขง็

4.2 พัฒนาระบบการสนับสนุน ชว่ ยเหลือโรงเรียน ครู และนักเรยี น

4.3 พัฒนาระบบการนิเทศ ติดตาม และตรวจสอบ ให้เชื่อมโยงกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
อย่างแท้จรงิ

5. โรงเรียนเครือข่ายคุณภาพ มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา เช่น โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียน
มาตรบานสากล โรงเรียนเครือข่ายปฐมวัย โรงเรียนดีประจ้าต้าบล โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา โรงเรียน
ประชารัฐฯ โดยใช้รูปแบบพชี่ ว่ ยน้อง โรงเรยี นใกล้เคยี ง เพ่ือนชว่ ยเพอื่ น เปน็ ต้น

6. สร้างและพัฒนาระบบการประเมิน การรับประกันคุณภาพการศกึ ษา ของสถานศกึ ษาใหม้ ีความเข้มแขง็

6.1 การประกันคุณภาพภายในโดยใช้กระบวนการนิเทศเชิงพืนท่ี และกระบวนการนิเทศแบบ พา
ท้า

6.2 การประเมินคุณภาพภายนอก โดยใช้กระบวนการเพ่ือนช่วยเพื่อน/พ่ีสอนน้อง กิจกรรมบูรณา
การความช่วยเหลือบริหารจดั การคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา

6.3 การทดสอบการประเมินคุIภาพนักเรียน เป็นระยะและต่อเน่ือง เชื่อมโยงกับการทดสอบ
ระดั บ ช าติ เช่ น Nation Test : NT, Oedinary Nation Educational Test : O-Net แ ล ะ Programme For
International Student Assessment : PISA เป็นต้น

7. พัฒนาโรงเรียนสู่ “โรงเรยี นมาตรฐานสงู ”

7.1 การบริหารจัดการคุณภาพ ด้วยกระบวนการบริหาร เช่น แบบมุ่งสู่ความเป็นเลิศ (Public
Sector Management Quality Award : PMQA) แบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ (Results Based Management : SBN) เป็น
ต้น

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑๖

7.2 การจัดการเรียนการสอนคุณภาพ โดยครูมกี ารปรับเปลย่ี นวธิ ีสอนเนน้ ผ้เู รยี นเป็นส้าคญั ภายใต้
หอ้ งเรยี นคุณภาพ (Star Classroom)

7.3 นกั เรียนมีคณุ ภาพ เช่น

7 .3 .1 มี สม รรถน ะส้าคั ญ ต าม ห ลั กสู ต รก้าห น ด ทั งด้ าน ทั ก ษ ะ การสื่ อ สาร
(Commumication skill) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking skill) การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
(creative problem solving skill) ทักษะการใช้ชีวิต (Life skill) ทักษะการใชเ้ ทคโนโบยี (Computing skill)

7.3.2 มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 (21 century skills) เช่น ทักษะการเรียนรู้
และนวัตกรรม (Learning and innovatinn skill) ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยี (Information Media
and Technalogy skilll) ทักษะชวี ิตและอาชพี (Life and Career Skill) เปน็ ตน้

7.3.3 นักเรียนมีทักษะตามโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ได้แก่ PISA
(Programme for International Student Assessment) จาการประเมินสมรถนะที่เรียกว่า Literacy ใน 3 ด้าน
คือ การอ่าน (Reading Literacy) คณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)

7.3.4 นักเรียนมีความพร้อมสู่อาเวียนโดยยกระดับคุณภาพภาอังกฤษ เน้นทักษะการ
สื่อสาร (Communication Language Approach) การส่งเสริมพัฒนาครู (Teaching Training) ขยายหลักสูตรการ
เรียนการสอน MEP : Mini English Program/ EP : English Program / EBE : English Biligual Education การ
จัดการสอนแบบ Phonics เป็นต้น

7.3.5 นักเรียนม่ีทักษะในการเรียนรู้ ด้วยรูปแบบวิธีท่ีหลากหลาย เช่น สะเต็มศึกษา
(STEM : Stem Education) การจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน (BBL : Brain based Learning) มอนเตสซอริ
(Monteessori) กิจกรรมลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ (Head Heart Hand Health) การเรียนรู้จากการศึกษาทางไกล
ผา่ นดาวเทียม( DLTV : Distance Learning Information Technology)

7.3.6 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง ได้แก่ National Test : NT, Ordinary
International Test : O-Net Programme for International Student Assessment : PISA gxHo9ho

8. การใช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทาง
วชิ าชีพในการแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการท้างานเป็นทมี ของครู ผูบ้ ริหาร เพอื่ พัฒนาผู้เรียน

แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑๗

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ

นโยบายและยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษากระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาได้กาหนดยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาการศึกษา พ.ศ.๒๕๕๕ – ๒๕๕๘ โดยยดึ นกั เรยี นเป็น

ศนู ย์กลาง มุง่ กระจายโอกาสทางการศึกษาท่ีมีคณุ ภาพอยา่ งเท่าเทียมทัง้ ในเมืองและชนบทพน้ื ฐานที่วา่ ประชาชนที่
เข้มแข็งและมคี วามรู้คอื ทุนท่ีมีพลงั ในการตอ่ สู้กบั ความยากจน โดยจดั การศกึ ษาที่มคี ุณภาพสาหรบั เดก็ เยาวชน
ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสทกุ คนใหเ้ ท่าเทียมกันในเมอื งและชนบท ต้ังแตป่ ฐมวยั จนถงึ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๖ และเทียบเทา่
พัฒนาความเป็นพลเมืองโลกที่ทนั สมยั มที ักษะหลากหลาย มีความสามารถในการแข่งขันส่ตู ลาดโลกโดยบูรณาการจัด
การศกึ ษาภายใต้ ๘ ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ส่ี าคัญ ดงั น้ี

๑) การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาทุกระดับทุกประเภท
๒) การสร้างโอกาสทางการศึกษาแกป่ ระชากรทุกกลมุ่ อยา่ งเสมอภาค
๓) การปฏิรูปครู เพ่ือยกฐานะครแู ละวชิ าชพี ครใู ห้เปน็ วิชาชีพช้ันสูง
๔) การจัดการศกึ ษาระดับอดุ มศกึ ษา ระดับอาชีวศกึ ษา และการฝึกอาชีพให้สอดคลอ้ งกับตลาดแรงงาน
ทั้งในเชิงปรมิ าณและคุณภาพ
๕) การพัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใหก้ ารศึกษาทัดเทียมกบั นานาชาติ
๖) การสนบั สนนุ การวิจยั และพัฒนา และบริการทางวชิ าการ เพอ่ื สร้างนวตั กรรมและการพัฒนาประเทศ
๗) การเพิ่มขดี ความสามารถของทรัพยากรมนษุ ย์เพอื่ รองรับการเปดิ เสรปี ระชาคมอาเซยี น
๘) การพฒั นาประสิทธิภาพระบบบรหิ ารจดั การ
ดงั นัน้ ยทุ ศาสตร์การพฒั นาการศึกษา จึงยดึ แนวคดิ พืน้ ฐาน ๓ ประการ เพื่อนาหลักการสู่การปฏบิ ัติ ดังนี้
๑. คานึงถึงศกั ยภาพและบริบทรอบ ๆ ตวั ผู้เรยี น
๒. พฒั นาและยกระดบั องคค์ วามร้แู ละกระยวนการเรยี นการสอนให้ทดั เทยี มอารยประเทศด้วยการ
บริหารจัดการและเทคโนโลยีสมัยใหม่
๓. มงุ่ สเู่ ป้าหมายของการเพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขันและยกระดับศักยภาพให้แข่งขันได้
ในระดบั สากล
สานกั งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงกาหนดกรอบแนวคิดวา่
การศกึ ษาจะตอ้ งเปน็ ไปเพอื่ การพัฒนาประเทศ ดังนั้น ผลผลติ ของสถานศึกษา จะต้องนาไปสู่การเตรยี มประชาชนคน
ไทยในอนาคต ท่มี คี วามเป็นไทย มีความรู้ ความสามารถ มีศกั ยภาพเพียงพอท่ีจะก้าวสู่ความเป็นประชาคมอาเซยี น
และประชาคมโลก โดยยดึ นกั เรียนเปน็ ศูนยก์ ลางและกระจายโอกาสทางการศึกษาที่มคี ุณภาพอย่างเทา่ เทียม
ทงั้ ในเมืองและชนบท
สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐานได้ดาเนนิ การทาแผนการดาเนนิ งาน โครงการ/กิจกรรม ที่
สนองนโยบายรฐั บาลและสอดคลอ้ งกับยุทศาสตร์การพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธกิ ารปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๗ กลา่ วคอื

ยุทศาสตรท์ ี่ ๑ การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับทกุ ประเภท
๑. การเสริมสรา้ งคุณธรรมจริยธรรมและธรรมมาภิบาลในสถานศึกษา
๒. จดั การเรยี นการสอนโดยใชค้ อมพิวเตอร์พกพา
๓. การพฒั นาการศึกษาในเขตพเิ ศษเฉพาะกิจจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
๔. การจดั การศึกษาก่อนประถมศึกษา
๕. ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวชิ าหลกั
๖. การประกนั คุณภาพการศึกษาและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของผูเ้ รยี น
๗. นวตั กรรมการเสรมิ สรา้ งคุณธรรมในสถานศึกษา เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ อนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๑๘

๘. ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาและการประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รยี น
๙. การพัฒนาผู้มคี วามสามารถพเิ ศษด้านวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์
๑๐. ปฏริ ูปหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
๑๑. โรงเรียนในฝนั สู่มาตรฐาน
๑๒. พัฒนาโรงเรยี นมธั ยมศึกษา
๑๓. ส่งเสรมิ เพื่อใหน้ ักเรยี นระดับตาบลมงี านทา
๑๔. พฒั นาคุณภาพชวี ิตและสุขภาพนักเรียนในโรงเรยี นขนาดเล็ก

ยทุ ศาสตร์ที่ ๒ การสร้างโอกาสทางการศกึ ษาแก่ประชากรทกุ กลุ่มอยา่ งเสมอภาค
๑. การสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศึกษาตั้งแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน
๒. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาทางเลือกเน้นเด็กตกหล่น ออกกลางคันและจบ ม.๖ ทีไ่ มเ่ รียนตอ่ และนักเรียนพัก

นอนในพื้นที่ยากลาบาก
๓. การช่วยเหลอื กลุม่ เปา้ หมายทางสังคม
๔. การจัดการศึกษาเพอื่ นักเรียนพกิ ารโดยโรงเรียนศึกษาพิเศษ
๕. การจดั การศกึ ษาสาหรับเด็กด้อยโอกาสโดยโรงเรยี นศกึ ษาสงเคราะห์

ยทุ ศาสตรท์ ี่ ๓ การปฏริ ปู ครูเพ่อื ยกฐานะครแู ละวชิ าชีพครูให้เปน็ วิชาชีพชัน้ สงู
๑. พฒั นาครทู ั้งระบบเตม็ ตามศกั ยภาพ
๒. การสนบั สนนุ บคุ ลากรให้สถานศึกษา (คนื ครูให้นักเรยี น)
๓. ครูคลงั สมอง

ยุทศาสตร์ที่ ๔ การจัดการศึกษาระดบั อดุ มศึกษา ระดบั อาชีวศึกษา และการฝึกอาชีพให้สอดคลอ้ งกับตลาดแรงงาน
ท้งั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ

๑. สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนทางานหารายได้ระหวา่ งปิดภาคเรียน

ยุทศาสตรท์ ่ี ๕ การพัฒนาการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือให้การศกึ ษาทัดเทยี มกับนานาชาติ
๑. จดั หาระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตความเร็วสูงเพ่อื การศึกษา

ยทุ ศาสตร์ท่ี ๖ การสนบั สนนุ การวิจยั และพัฒนา และบริการทางวชิ าการ เพื่อสรา้ งนวัตกรรมและการพฒั นาประเทศ
ยทุ ศาสตรท์ ี่ ๗ การเพ่ิมขดี ความสามารถของทรัพยากรมนุษยเ์ พ่ือรองรับการเปดิ เสรีประชาคมอาเซยี น

๑. จัดการศึกษาส่ปู ระชาคมอาเซียน
๒. ส่งเสริมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือเตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียน
๓. ส่งเสรมิ ภาต่างประเทศภาทส่ี อง
๔. สร้างความตระหนักรู้การเตรยี มความพร้อมเข้าสปู่ ระชาคมอาเซยี นให้กบั สถานศึกษาระดับประถมศึกษา
และมธั ยมศึกษา
ยทุ ศาสตร์ที่ ๘ การพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจัดการ
๑. การบริหารจดั การในเขตพื้นที่การศึกษาโดยใช้พื้นท่เี ป็นฐาน (Area-base)
๒. พฒั นาประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๑๙

เพื่อให้บรรลุเปา้ หมายการดาเนนิ งาน (Output) สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกาหนด
จุดมงุ่ หมาย ๔ ประการ ดังนี้

๑. การยกระดบั คุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล
๑.๑ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ๕ กลมุ่ สาระวิชาหลักเพ่ิมขนึ้ อย่างน้อยร้อยละ ๓ เพิม่

ศกั ยภาพนักเรยี นดา้ นเทคโนโลยี และด้านภาองั กฤษเพื่อเตรียมความพร้อมส่ปู ระชาคมอาเซียน
๑.๒ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ ทกุ คน อ่านออก เขียนได้ คดิ เลขเป็น และนักเรียนชั้น

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ทกุ คน อ่านคลอ่ ง เขียนคลอ่ ง และคดิ คานวณท่ีซบั ซ้อนข้ึน
๑.๓ นกั เรียนทกุ คนมีความสานกึ ในความเป็นชาติไทยและวิ๔ชวี ติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง เป็นมติ รกับส่งิ แวดล้อม
๑.๔ สถานศกึ ษาทุกแห่งมีระบบประกันคณุ ภาพภายในท่เี ขม้ แข็งและผา่ นการรับรองจากการ

ประเมินคุณภาพภายนอก
๒. การลดความเลื่อมล้าและเพมิ่ โอกาสทางการศึกษา
๒.๑ การพัฒนาคุณภาพศึกษาในพ้นื ท่ชี นบท ได้แก่ โรงเรยี นขยายโอกาสทางการศึกษาโรงเรยี นดี

ประจาอาเภอ โรงเรยี นดศี รีตาบลและโรงเรยี นขนาดเลก็
๒.๒ นกั เรียนและสถานศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้ไดร้ ับการพฒั นา

อยา่ งทวั่ ถึงและมีคณุ ภาพ
๒.๓ นักเรยี นในโรงเรยี นเฉพาะความพิการ นักเรียนในโรงเรียนศกึ ษาสงเคราะหแ์ ละนักเรียนพกิ าร

ในโรงเรียนร่วม ได้รบั การพัฒนาอย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพ
๓. ผู้บรหิ ารโรงเรียนและครมู ศี กั ยภาพอยา่ งสงู ด้านการจัดการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นพัฒนาผบู้ รหิ ารโรงเรยี นและ

ครใู ห้ยดึ มั่นในจรรยาบรรณ มีศักยภาพสูงด้านการจดั การเรียนรูใ้ หป้ ระสบผลสาเรจ็ โดยเนน้ การจดั สรรงบประมาณ
ใหโ้ รงเรยี น รวมท้งั การสง่ เสริมใหม้ ีการระดมทรัพยากร จาองค์กรต่างๆ เพ่ือพัฒนาครูและผูบ้ รหิ ารตามความตอ้ งการ
จาเปน็ ในระหวา่ งวันหยดุ หรือปิดภาคเรียน

๔. สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษา และสถานศึกษาปฏิบัตงิ านตามบทบาทหนา้ ที่อยา่ งเข้มแขง็
๔.๑ สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามีการนเิ ทศ ติดตามความก้าวหนา้ ของโรงเรยี นและช่วยเหลอื แก้ไข

การดาเนินงาน หากโรงเรยี นไมส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดต้ ามเป้าหมาย
๔.๒ สถานศึกษาบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล เปิดโอกาสให้ผปู้ กครอง ชมุ ชน

และองค์กรต่าง ๆ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้ ชว่ ยเหลือดูแลนกั เรียน และพฒั นาผเู้ รียนอย่างเป็นองค์รวม
รว่ มกับสถานศึกษา

๕. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานในส่วนกลาง ลดบทบาทและกระจายอานาจการบรหิ าร
จดั การ รวมทง้ั บูรณาการการทางาน

๕.๑ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน บูรณาการการทางานระหว่างสานัก และส่งเสริม
สนับสนนุ การทางานของหน่วยงานในสงั กัด โดยลดบทบาทการสง่ั การ และเพม่ิ บทบาทในการชว่ ยเหลอื สนับสนนุ
นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล

๕.๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน บูรณาการการทางานกับองค์กรภายนอกท่ีร่วม
จดั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน เพื่อลดชอ่ งวา่ งการทางานระหวา่ งองค์กร

นโยบายสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปีงบประมาณ ๒๕๖๓
1. เร่งรดั ปฏิรปู การศึกษาขันพืนฐาน ใหม้ ีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงระบบและกระบวนการจดั การศึกษาขัน
พืนฐานทังระบบ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทันสมยั ทันเหตุการณ์ ทันโลก ใหส้ า้ เรจ็ อย่างเป็นรูปธรรม

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๐

2. เรง่ พัฒนาความแข็งแกรง่ ทางการศึกษา ให้ผู้เรียนทกุ ระดับทกุ ประเภท รวมถึงเด็กพิการและดอ้ ยโอกาส มี
ความรแู้ ละทักษะแห่งโลกยุคใหมค่ วบคกู่ นั ไป โดยเฉพาะทักษะการอ่าน เขยี น และการคิด เพ่ือให้มีความพรอ้ มเข้าสู่
การศกึ ษาระดบั สงู และโลกของการท้างาน

3. เร่งปรบั ระบบสนบั สนุนการจัดการศึกษาทีส่ อดคล้องไปในทศิ ทางเดยี วกนั มีการประสานสมั พนั ธก์ บั
เนือหา ทกั ษะ และกระบวนการเรยี นการสอน ประกอบไปด้วย มาตรฐานและการประเมิน หลักสตู รและการสอน การ
พฒั นาทางวชิ าชีพและสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้

4. ยกระดับความแขง็ แกร่งมาตรฐานวชิ าชีพครูและผู้บรหิ ารสถานศึกษา ให้ครเู ป็นผ้ทู ี่มีความสามารถและ
ทักษะที่เหมาะสมกับการพัฒนาการเรยี นของผู้เรยี น ผู้บรหิ ารสถานศึกษามีความสามารถในการบริหารจัดการ และ
เป็นผูน้ า้ ทางวชิ าการ ครแู ละผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งท่ดี แี กผ่ ู้เรียนสรา้ งความมัน่ ใจและไว้วางใจ
ส่งเสริมใหร้ ับผดิ ชอบตอ่ ผลท่ีเกิดกับนักเรียน ทีส่ อดคล้องกับวชิ าชพี

5. เร่งสรา้ งระบบใหส้ ้านักงานเขตพนื ที่การศึกษา เป็นองค์กรคุณภาพที่แขง็ แกรง่ และมปี ระสิทธภิ าพ เพื่อการ
ให้บรกิ ารทดี่ ี มีความสามารถรบั ผดิ ชอบการจดั การศึกษาขันพนื ฐานที่มีคณุ ภาพและมาตรฐานได้เป็นอยา่ งดี

6. เร่งรัดปรับปรงุ โรงเรยี นใหเ้ ปน็ องค์กรทีม่ ีความเข้มแข็ง มีแรงบนั ดาลใจและมวี สิ ัยทัศนใ์ นการจดั การศกึ ษา
ขันพืนฐานท่ชี ัดเจน เปน็ สถานศึกษาคุณภาพและมปี ระสทิ ธภิ าพที่สามารถจดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งมีคุณภาพและ
มาตรฐานระดับสากล

7. สรา้ งระบบการควบคมุ การจดั การเปลย่ี นแปลงทางการศึกษาท่ีมขี ้อมลู สารสนเทศ และข่าวสารเกย่ี วกบั
กระบวนการเรยี นการสอนอย่างพร้อมบริบูรณ์ และมนี โยบายการติดตามประเมนิ ผลอย่างเปน็ รูปธรรม

8. สรา้ งวฒั นธรรมใหม่ในการทา้ งาน ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ เพอื่ การใหบ้ ริการทด่ี ี ทังส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค
เร่งรัดการกระจายอ้านาจและความรบั ผดิ ชอบ สง่ เสรมิ การพัฒนาเชงิ พืนที่ทุกภาคสว่ นเข้ามามสี ว่ นร่วม ปรับปรงุ
ระบบของโรงเรียนใหเ้ ปน็ แบบร่วมคิดรว่ มท้า การมีส่วนรว่ มและการประสานงาน สามารถใชเ้ ครอื ข่ายการพัฒนา
การศกึ ษาระหว่างโรงเรียนกบั โรงเรยี น องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน องคก์ รวิชาชีพ กลมุ่ บุคคล องคก์ รเอกชน องค์
ชมุ ชน และองค์การสังคมอน่ื

9. เรง่ ปรบั ปรงุ ระบบการบริหารงานบคุ คล มุ่งเนน้ ความถูกต้องเหมาะสม เปน็ ธรรม ปราศจากคอร์รปั ชน่ั ให้
เปน็ ปัจจัยหนนุ ในการเสรมิ สร้างคุณภาพและประสิทธภิ าพ ขวัญและก้าลงั ใจสรา้ งภาวะจูงใจ แรงบนั ดาลใจ และความ
รับผิดชอบในความสา้ เร็จตามภาระหนา้ ท่ี

10. มุ่งสรา้ งพลเมอื งดีท่ีตื่นตัวและอยู่รว่ มกับผู้อน่ื ในสงั คมพหุวฒั นธรรมได้ และท้าใหก้ ารศกึ ษาน้าการ
แกป้ ญั หาส้าคัญของสังคมรวมทังปัญหาการคอร์รัปชัน่

11. ทุ่มเทมาตรการเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพสถานศึกษาที่พฒั นาลา้ หลัง และโรงเรียนขนาดเล็กทีไ่ ม่ได้คณุ ภาพ
เพ่ือไมใ่ หผ้ ู้เรยี นต้องเสยี โอกาสไดร้ ับการศึกษาท่มี ีคณุ ภาพการศึกษาขันพนื ฐานของประเทศไทยมีคุณภาพและ
มาตรฐานระดับสากล บนพืนฐานของความเปน็ ไทย

นอกจากนโยบายทเี่ ก่ยี วข้องกับการศึกษาข้างตน้ ส้านักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน ได้
กา้ หนดนโยบายทส่ี อดคลอ้ งกับแผนระดับชาติที่เกย่ี วขอ้ ง ได้แก่ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๑
(พ.ศ.๒๕๕๕- ๒๕๕๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุง(พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๙) แผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ.๒๕๕๕-
๒๕๕๘) ของกระทรวงศึกษาธิการ ทังนี ดว้ ยตระหนักดีว่าการศึกษายังมีโอกาสพัฒนาได้ ในสังคมไทย เนอ่ื งจากพ่อแม่
ผูป้ กครองยังคาดหวัง และให้ความสา้ คญั อย่างสงู ต่อการศึกษาของบุตรหลานของตน ส้านักงานคณะกรรมการศึกษา
ขันพืนฐาน ตระหนักวา่ ในการปฏบิ ัตงิ านในระยะต่อไป ต้องเน้นยา้ จดุ เน้นทไ่ี ด้ดา้ เนนิ การต่อเนื่องมาจาก ปงี บประมาณ
๒๔๔๖ และพัฒนาเพิ่มเตมิ ในประเด็นท่เี ป็นความทา้ ทาย

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๒๑

นโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

วิสัยทัศน์
สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน เปน็ องค์กรหลักขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
ประเทศไทยสมู่ าตรฐานสากล พรอ้ มก้าวสปู่ ระชาคมอาเซยี นบนพื้นฐานของความเปน็ ไทย

พนั ธกจิ
พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศกึ ษาใหป้ ระชาชนวยั เรียนทกุ คน ได้รบั การศึกษาอย่างมี
คุณภาพ โดยเน้นการพฒั นาผู้เรียนเป็นสาคญั เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นมีความรู้ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามเปน็ ไทยและ
ห่างไกลยาเสพติด มีความสามารถตามมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และพฒั นาสู่คุณภาพระดบั สากลดว้ ยการบริ
หารจัดการแบบมสี ว่ นรว่ มและกระจายอานาจจามหลักธรรมมาภิบาล

ค่านิยมองคก์ าร
องค์กรท่ีมีชีวิต พร้อมจติ เอ้อื อาทร มีอาภรณ์คือความขยัน ใจยดึ มน่ั หลกั ยุตธิ รรม

เปา้ ประสงค์
๑. ผเู้ รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐานและพัฒนาสาความเปน็ เลิศ
๒. ประชากรวัยเรยี นทุกคนไดร้ ับโอกาสในการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ตัง้ แต่อนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

อยา่ งมีคุณภาพ ท่งั ถงึ และเสมอภาค
๓. ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพเต็มตามศักยภาพ
๔. สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา และสถานศึกษามคี วามเขม้ แขง็ ตามหลักธรรมาภบิ าลและเป็นกลไกล

ขบั เคลอื่ นการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สคู่ ุณภาพระดับมาตรฐานสากล
๕. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ส่วนกลาง ลดบทบาทและกระจายอานาจสูส่ านักงานเขต

พืน้ ทกี่ ารศึกษาและสถานศึกษา รวมท้ังบูรณาการการทางานภายในสานกั ต่าง ๆ
๖. เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จังหวดั ชายแดนภาคใต้ ได้รบั การพัฒนาคณุ ภาพ ครูและบคุ ลากรมคี วาม

ปลอดภยั มน่ั คง

ผลผลติ
ผลผลิตของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน
๑) ผจู้ บการศกึ ษาก่อนประถมศกึ ษา
๒) ผู้จบการศกึ ษาภาคบังคับ
๓) ผู้จบการศกึ ษามธั ยมศึกษาตอนปลาย
๔) เดก็ พิการไดร้ ับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานและการพัฒนาสมรรถภาพ
๕) เดก็ ด้อยโอกาสได้รับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
๖) เด็กท่ีมีความสามารถพิเศษได้รับการพัฒนาศกั ยภาพ

โดยมหี นว่ ยงานกากับ ประสาร สง่ เสรมิ การจัดการศึกษา คือ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษา
จานวน ๑๘๓ เขต สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา จานวน ๔๒ เขต และสานักบรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ
ซึ่งมสี ถานศึกษาข้นั พ้ืนฐานเป็นหนว่ ยปฏิบัตกิ ารในการจดั การศกึ ษา เพ่ือใหภ้ ารกิจดงั กล่าวสามารถตอบสนองสภาพ
ปญั หาและรองรับการขบั เคลื่อนนโยบายของรฐั บาลและกระทรวงศึกษาธิการ

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๒

กลยุทธ์
จากวสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ เปา้ ประสงค์ สานักงานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จึงกาหนด กลยทุ ธ์
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๖ กลยทุ ธ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี

กลยุทธท์ ี่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสรมิ ความสามารถด้าน
เทคโนโลยเี พอ่ื เป็นเคร่อื งมือในการเรียนรู้

กลยทุ ธท์ ี่ ๒ ปลูกฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปน็ ไทย และวิถชี วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ความรับผิดชอบต่อสังคมและส่งิ แวดล้อม

กลยุทธท์ ี่ ๓ ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ท่ังถงึ ครอบคลมุ ผู้เรยี นให้ได้รบั โอกาสในการพัฒนาเตม็
ศกั ยภาพ

กลยทุ ธท์ ่ี ๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้
อย่างมีคุณภาพ

กลยทุ ธท์ ี่ ๕ พัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารจดั การศึกษาตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา
ตามหลักธรรมาภบิ าล เน้นการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคสว่ นและความรว่ มมือกบั องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น เพ่อื ส่งเสริม
และสนับสนนุ การจดั การศึกษา

กลยทุ ธ์ท่ี ๖ จดั การศึกษาเพื่อเสรมิ สร้างสนั ติสขุ ในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวดั ชายแดนภาคใต้

นโยบาย สานักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓
ปีงบประมาณ (๒๕๖๓)

วสิ ยั ทัศน์ (Vission)
สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต ๓ เป็นหน่วยงานหลกั ในการจัดการศึกษา
ขัน้ พนื้ ฐานไดอ้ ยา่ งท่ัวถงึ และม่งุ สมู่ าตรฐานสากล

พันธกจิ (Mission)
พัฒนา สง่ เสริม สนบั สนุนการจดั การศกึ ษาให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างมีคณุ ภาพโดยเนน้
การพฒั นาผู้เรยี นเป็นสาคัญเพอื่ ให้ผเู้ รียน มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสามารถตามมาตรฐานการศกึ ษา
ข้นั พนื้ ฐาน เพ่ือพัฒนาส่ปู ระชาคมอาเซยี น

ค่านยิ ม (Value)

“SMART” เปน็ องค์กรคุณภาพ “บรกิ ารดี มีคุณธรรม เลศิ ลา้ สมรรถนะ ภาระความรบั ผดิ ชอบ รอบรวู้ ชิ าการ

ประสานเทคโนโลยี”

คา่ นิยมร่วมของสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุพรรณบรุ ี เขต ๓

องค์กรคณุ ภาพ “SMART”

บริการดี S = Service Mind

มีคุณธรรม M = Moral

ล้าเลศิ สมมรรถนะ A = Ability

รับผิดชอบภาระงาน R = Responsibility

รอบรวู้ ชิ าการประสานเทคโนโลยี T = Technology

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๒๓

สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสพุ รรณบรุ ี เขต ๓ กาหนดคา่ นิยมร่วมที่มุง่ เน้น พัฒนาคุณภาพ
การศึกษา สู่ความเปน็ องค์กรคุณภาพ ซง่ึ บุคลากรควรมรลกั ษณะและพฤตกิ รรมการปฏิบัตงิ านประกอบด้วย

๑. บริการดี (Service Mind) ในฐานะผูใ้ ห้บรกิ าร เจา้ หนา้ ท่ีทุกคนควรใหบ้ รกิ ารดว้ ยไมตรีใหค้ าปรกึ ษาแบบ
กัลยาณมิตร เกดิ ความพงึ พอใจแก่ผรู้ บั บรกิ าร

๒. มีคณุ ธรรม (Mora)l ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ เคารพต่อหนา้ ทท่ี ี่ปฏิบตั ิ
๓. ลา้ เลศิ สมรรถนะ (Ability) ฝกึ ฝนตนใหม้ คี วามรเู้ ชย่ี วชาญ สามารถปฏบิ ัตงิ านได้อยา่ งมคี ุณภาพ
๔. รับผดิ ชอบภาระงาน (Responsibility) มคี วามรบั ผิดชอบสูงสดุ ในหน้าทีท่ ่ีปฏบิ ตั โิ ดยตรงและในสว่ น
ทเ่ี กีย่ วข้อง
๕. รอบรู้วชิ าการ ประสานเทคโนโลยี (Technology) มีความรทู้ ัง้ ทางด้านวิชาการและเทคโนโลยีเพียงพอกบั
การปฏิบตั งิ านได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๒๔

สว่ นที่ ๒

ทิศทางพฒั นาการศึกษา ปงี บประมาณ ๒๕๖๒

วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
โรงเรยี นวัดโคกหม้อ จดั การศึกษาท่มี ีคุณภาพ พัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มคี วามรู้คู่คุณธรรม น้อมนา้ หลกั
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กา้ วหนา้ เทคโนโลยี แหล่งเรยี นรู้ทักษะชีวิต พฒั นาสงั คมได้อย่างมีความสขุ

พันธกิจ (Mission)
๑.จัดการศกึ ษาให้นกั เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยใชส้ ่อื เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา
ท้องถิน่ โดยยึดผู้เรยี นเปน็ สา้ คัญ
๒.จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนหลากหลาย โดยมุง่ เสรมิ สร้างใหน้ กั เรยี นไดร้ บั ประสบการณ์ตรง มีทักษะชวี ติ
สามารถนา้ ไปใชใ้ นชวี ิตประจ้าวนั เปน็ แบบอย่างที่ดี และช่วยเหลือสังคมได้
๓.ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม รจู้ ักตนเองมีทศั นคติและ
กระบวนการคิดวเิ คราะหท์ เ่ี หมาะสม ปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔.พัฒนาบคุ ลากรให้มคี วามรู้ ความสามารถ ตามมาตรฐานวชิ าชีพครู
๕.จดั สภาพแวดลอ้ ม ใหเ้ อือต่อการจัดการเรียนการสอน รม่ รนื่ และสวยงาม
๖.บรหิ ารจัดการโดยให้ชุมชนมีส่วนรว่ ม ในการวางแผนการด้าเนินงานและประเมินตดิ ตามผล

เปา้ ประสงค์ (Goal)
๑.นกั เรียนทกุ คนมีคุณภาพขันพืนฐาน อา่ นออก เขียนได้ คิดเลขเปน็ มีทักษะชวี ติ แกป้ ัญหาไดแ้ ละมี
ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษา เฉลี่ยสงู กว่าเกณฑม์ าตรฐานของโรงเรยี นทกุ วชิ า ทกุ ชันเรียน
๒.นกั เรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและยดึ มน่ั ในระบอบประชาธปิ ไตยเหน็ คณุ คา่ การ
อนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม สบื สานศิลปวัฒนธรรมไทย
๓.นกั เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ ๘๐ มที กั ษะในการทา้ งาน รู้หนา้ ที่ มีความรบั ผดิ ชอบ มเี จตคติท่ดี ีต่ออาชีพ
สจุ รติ และปฏิบตั ติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๔.นกั เรียนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๘๕ มีสนุ ทรดี ้านศลิ ปะ ดนตรี กฬี าและทักษะชวี ติ
๕.โรงเรียนมรี ะบบการบริหารจัดการทด่ี ี มีคณุ ภาพ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา
๖.ครไู มน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ไดร้ ับการพัฒนาไดต้ ามมาตรฐานวิชาชีพครู

อตั ลักษณข์ องโรงเรยี น สถานศึกษาพอเพยี ง
เอกลักษณข์ องโรงเรียน มารยาทไทย ลายมอื สวย

กลยทุ ธ์ โรงเรยี นวัดโคกหมอ้

กลยทุ ธ์ ในปี ๒๕๖๒ จ้านวน ๖ กลยุทธ์ ดงั ตอ่ ไปนี
กลยทุ ธ์ท่ี ๑ พฒั นาสภาพแวดลอ้ ม และแหล่งเรยี นรูท้ ห่ี ลากหลาย
กลยุทธ์ท่ี ๒ สง่ เสรมิ การเรียนการสอนโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
กลยทุ ธ์ท่ี ๓ สง่ เสรมิ ครแู ละนักเรียนใหม้ คี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มอันดีงาม มสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษ์
สืบทอด ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศิลปะ วฒั นธรรม และการดา้ เนินชวี ิตตามแบบวิถีไทย

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๕

กลยุทธท์ ่ี ๔ สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีในการพฒั นางานทุกระบบ มแี หลง่ เรยี นร้ทู ี่ทันสมัย และปลูกจิตสา้ นึก
ในการใช้เทคโนโลยีอยา่ งมีวจิ ารณญาณ

กลยทุ ธท์ ่ี ๕ พฒั นาการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระบบการนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล วจิ ัยและ
พฒั นาของสถานศกึ ษา

กลยทุ ธท์ ี่ ๖ ส่งเสริมภาคีเครอื ข่ายร่วมพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

นโยบายประกนั ความปลอดภยั ของโรงเรียน

๑. วตั ถปุ ระสงค์
เพอื่ ใหน้ กั เรียนทุกคนไดร้ บั การคมุ้ ครองความปลอดภยั ท้งั ทางร่างการและจติ ใจ โดยยึดถือ

และปฏบิ ัติตนตามโครงการเยาวชนคนดีศรีสุพรรณ
๒. เป้าหมาย
๒.๑ นักเรียนทกุ คน ได้เรยี นรใู้ นโรงเรยี นทีม่ สี ภาพแวดล้อมทีส่ ะอาดถูกสุขลักษณะและปลอดภยั
๒.๒ นักเรยี นทกุ คน ได้รับการคุ้มครองสิทธแิ ละปลอดภัยจากการถูกลว่ งละเมิดทั้งทางรา่ งกาย
๒.๓ นักเรียนทุกคนได้รบั ค้มุ ครอง ป้องกันใหป้ ลอดภยั จากสารเสพย์ตดิ
๓. มาตรการ
๓.๑ จดั สภาพแวดล้อมที่มคี วามปลอดภัย
- จัดสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรียนใหส้ ะอาด ถูกสุขลักษณะมีความปลอดภัย
- ประสานงานกับหน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ งและกรรมการโรงเรียนเขา้ มาดูแลเรื่องมลภาวะของ

โรงเรยี น เพ่อื มใิ ห้โรงเรยี นได้รับผลกระทบจากมลพิษตา่ ง ๆ จากภายนอก
๓.๒ คมุ้ ครองความปลอดภัยนกั เรยี น จากการถูกลว่ งละเมิดทัง้ ทางด้านร่างกาย จติ ใจ โดยกาหนด

มาตรการทีเ่ หมาะสม
๓.๓ ปกป้อง คุม้ ครอง ดแู ลใหน้ กั เรยี นปลอดภัยจากสารเสพยต์ ิด อบายมุข การทะเลาะวิวาทและสื่อ

ทไ่ี ม่เหมาะสม
นอกจากนี้ โรงเรยี นวดั โคกหม้อ ได้กาหนดตามนโยบายตามแผนกลยุทธ์ท้งั ๖ ของกระทรวงศึกษาธิการ

โดยโรงเรียนไดก้ าหนดแนวทางปฏบิ ัติงาน เพ่ือสง่ เสริมใหน้ ักเรียนมคี ุณลกั ษณะตามท่ีหลักสูตรกาหนดดังนี้
๑. จดั ต้ังคาขวญั ของโรงเรยี นและเน้นย้าให้ครู นักเรียน ปฏิบตั ิตามที่กาหนด
๒. กาหนดใหน้ ักเรยี นสวดมนต์ทุกวันและสามารถสวดมนตไ์ ดอ้ ย่างถูกต้อง
๓. ส่งเสริมให้มกี ารจดั การเรียนการสอนวิชาลูกเสือ – ยุวกาชาด เตม็ รูปแบบของหลักสตู ร
๔. จดั กจิ กรรมวนั สาคัญของชาติ ศาสนา เพื่อสรา้ งความสัมพันธ์ระหว่างบ้าน วัด โรงเรยี น
๕. จดั กจิ กรรมพฒั นาสมรรถภาพทางร่างกายนักเรยี นและสง่ เสรมิ การออกกาลงั กายการเลน่ กีฬา เกมส์

ต่าง ๆ และสง่ นักเรียนเข้ารว่ มการแขง่ ขันกฬี าตามความสนใจและความถนดั ของนักเรยี น
๖. จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ทกั ษะทางภาษา ภาษาไทย คณติ ศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
๗. จัดกิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย ไดแ้ ก่ การเลน่ ดนตรีไทย ดนตรนี าฏศิลป์ เพลงพ้ืนเมืองและ

การขบั ร้องเพลงลูกทุง่
๘. โครงการเยาวชนคนดศี รีสพุ รรณ
๙. โครงการโรงเรยี นสง่ เสรมิ สุขภาพ
๑๐. สง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ์และการศึกษานองสถานท่ี

แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๖

ส่วนที่ ๓

รายละเอียดโครงการ

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓

แผนงาน โครงการ งบประมาณ รวม ระยะเวลา ผรู้ ับผดิ ชอบ
ดาเนินการ
งบประมาณ รายได้
วชิ าการ ๑.พัฒนาการกิจกรรมการเรียนการ (อุดหนุน) สถานศกึ ษา - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
สอนโดยเนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
๒. พัฒนาประสิทธภิ าพการจัดการ -- - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางชนิ
เรยี นรตู้ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง --
๓. พัฒนาระบบส่ือ นวตั กรรม
เทคโนโลยี และสง่ เสรมิ นสิ ยั รัก - - - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางชนิ
การอา่ น
๔. พฒั นาและเสริมสรา้ งความ ๒,๕๓๙ - ๒,๕๓๙ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
เข้มแข็งการบริหารงานวชิ าการ ๕,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
๕. พัฒนาและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ๒,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
ทางการเรยี น
๖. การวัดและประเมินผล การอ่าน ๒,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น
๘. พฒั นาระบบประกันคณุ ภาพ ๔๙,๔๑๒ - ๔๙,๔๑๒ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นายบรรพต
ภายในเพ่ือรองรับการประกัน - -
คุณภาพภายนอก - - - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางชนิ
๙. พัฒนาและเสริมสรา้ งกิจกรรม
พฒั นาผเู้ รียน ๖๑,๙๕๑ - - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางอารดา
๑๐. โครงการห้องสมุด ๒๔,๐๐๐ -
๑๒๒,๘๘๑ ๖๑,๙๕๑
๑๑. โครงการลดเวลาเรยี น เพมิ่ ๑๔๖,๘๘๑ ๒๔,๐๐๐ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางกัญญา
เวลารู้
๑๒๒,๘๘๑ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางกัญญา
รวม ๑๔๖,๘๘๑

งบประมาณ ๑. สาธารณปู โภคเพอ่ื เสริมสร้าง
บรรยากาศการเรียนรู้
๒. โครงการเรยี นฟรี

รวม

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๗

แผนงาน โครงการ งบประมาณ รวม ระยะเวลา ผรู้ บั ผิดชอบ
๕,๐๐๐ ดาเนินการ นายบรรพต
บคุ คล ๑. ส่งเสริมและพัฒนาครู บุคลากร งบประมาณ รายได้ นายบรรพต
ทางการศึกษา (อุดหนนุ ) สถานศึกษา - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นายบรรพต
บริหาร ๒. วิทยากรภายนอกเสรมิ ความรู้ ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓
ทั่วไป ๓. การจา้ งลูกจา้ งชว่ั คราวรายเดือน ๕,๐๐๐ - ๒๗๑,๔๒๕ น.ส.รสสุคนธ์
ตาแหน่งครผู สู้ อน(คา่ จา้ งเดอื นละ -- ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ น.ส.รสสุคนธ์
๗,๐๐๐X๑๑ = ๗๗,๐๐๐ บาท ๒๗๖,๐๐๐
เงินสมทบประกนั สงั คม ๘๐,๘๕๐ ๑๙๐,๕๗๕ - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางชิน
๓๕๐X๑๑ = ๓,๘๕๐ บาท) - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓
๘๕,๘๕๐ ๑๙๐,๕๗๕ - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ น.ส.รสสคุ นธ์
รวม - ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓
-- ต.ค.๖๒ – ก.ย.๖๓ นางชิน
๑. อนามัยโรงเรยี นและส่งเสริม ๔๐,๐๐๐
สุขภาพ(งบประมาณอาหารกลางวนั --
จาก อบต.กระเสยี ว ๒๐๐ วนั เรียน --
๒๑๖,๐๐๐ บาท) --
๒. ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น ๑๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐
๓. พฒั นา สง่ เสรมิ คณุ ธรรม
จริยธรรม และประชาธิปไตยใน
โรงเรียน
๔. พัฒนาระบบข้อมลู สารสนเทศ
๕. พฒั นาและปรบั ปรุงอาคาร
สถานที่และสิ่งแวดลอ้ ม

รวม ๑๕,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๔๕,๐๐๐
รวมทั้งหมด ๓๐๙,๖๘๒ ๒๒๐,๕๗๕ ๕๒๙,๘๓๒

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๒๘

ฝา่ ยบรหิ ารวชิ าการ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๒๙

โครงการ พัฒนาการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญ

แผนงาน บรหิ ารวิชาการ

สนองกลยทุ ธ์ รร. ที่ ๑ กลยุทธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ที่ ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ที่ ๑

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางอารดา กลิ่นบานชืน่

ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ถงึ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลักการและเหตผุ ล

เพือ่ ใหก้ ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเปน็ ไปตามแนวทาง พ.ร.บ.การศกึ ษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๕๒

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ และ หลกั สูตรโรงเรียนวัดโคกหม้อ พุทธศักราช ๒๕๕๓

พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนโดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ

โรงเรียนวดั โคกหมอ้ จึงได้จดั ทาโครงการพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สาคญั

เพ่อื ให้การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของโรงเรียนเปน็ ไปตามมาตรฐานการเรยี นรู้และเกดิ ประสทิ ธภิ าพอย่างสูงสุด

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพอ่ื สง่ เสริมให้นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นและศักยภาพการเรียนร้สู งู ขน้ึ
๒.๒ เพื่อสนบั สนนุ ประสทิ ธภิ าพการจัดการเรียนรขู้ องโรงเรียน

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เป้าหมายเชงิ ปริมาณ
๓.๑.๑ นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธแ์ิ ละศกั ยภาพการเรยี นรู้สงู ข้นึ
๓.๒ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
๓.๒.๑ นักเรยี นมีการพัฒนาการเรยี นรู้และเพ่ิมศักยภาพการเรยี นรู้
๓.๒.๒ ครูผูส้ อนจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั

๔. กิจกรรมและวธิ ีการดาเนินงาน
๔.๑ ประชุม ศึกษาข้อมลู วางแผนงาน
๔.๒ จดั ทาโครงการเพ่ือขออนุมตั โิ ครงการ
๔.๓ วางแผนการดาเนนิ งาน
๔.๔ ดาเนินการจดั กิจกรรม
๔.๕ สรปุ รายงานผล

กจิ กรรม/วิธดี าเนินงาน ระยะเวลา ครูผูร้ บั ผิดชอบ

๑. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางอารดา กลิน่ บานชนื่
โดยเนน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ถงึ
๒. การสอนซ่อมเสริม คณะครู
๓. การแข่งขนั ทักษะวชิ าการ ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
๔. กิจกรรมห้องสมุดมชี ีวติ
๕. กจิ กรรมพ่ีและน้องชวนกันอา่ น
๖. สื่อการสอน ชว่ ยเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ

แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓๐

๕. สถานท่ีดาเนนิ การ วธิ กี ารประเมนิ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ประเมิน
โรงเรยี นวัดโคกหม้อ
- การวดั ผล ประเมินผล - แบบทดสอบ
๖. งบประมาณ - การสงั เกตพฤตกิ รรม - แบบสงั เกต
งบประมาณ จานวน - บาท - การตรวจสอบตามมาตรฐาน - แบบสอบถาม
- แบบทดสอบ
๗. การติดตามและประเมนิ ผล

รายการ/ตัวชี้วัด
๑. นกั เรยี นมผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนสูงขึ้น
๒. นักเรียนมเี จตคติท่ีดตี ่อการเรียน
๓. คุณภาพทางการศึกษาของโรงเรียนได้
มาตรฐานการเรยี นรู้

๘. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ
๘.๑ นกั เรยี นสามารถพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ
๘.๒ งานวชิ าการของโรงเรียนไดม้ าตรฐานทางการศึกษา
๘.๓ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นสูงขึ้น
๘.๔ มกี ารจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้

ลงชือ่ อารดา กลนิ่ บานช่ืน ผ้เู สนอโครงการ
(นางอารดา กล่ินบานช่ืน)

ลงช่อื บรรพต ฟักอนิ ทร์ ผ้อู นมุ ตั โิ ครงการ
(นายบรรพต ฟักอนิ ทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนวดั โคกหม้อ

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๓๑

โครงการ พัฒนาประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นร้ตู ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

แผนงาน บรหิ ารวิชาการ

สนองกลยุทธ์ รร. ท่ี ๒ กลยุทธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ที่ ๒ กลยุทธ์ สพฐ. ท่ี ๒

ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นางชนิ อู่อรุณ

ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลกั การและเหตุผล

พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และฉบบั แกไ้ ขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กาหนดไวใ้ น

มาตรา ๖ วา่ การจดั การศกึ ษาต้องเป็นไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้มนุษย์สมบรู ณ์ท้งั ร่างกาย สตปิ ัญญา ความรแู้ ละ

คณุ ธรรม มจี ริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชวี ติ สามารถอยูร่ ว่ มกับผู้อ่นื ได้อย่างมคี วามสขุ เพ่ือใหผ้ ู้ทีเ่ กี่ยวข้องทุก

ฝา่ ยไดร้ ว่ มมือกันจัดการศกึ ษาของชาตใิ หบ้ รรลตุ ามจุดมงุ่ หมายของ พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติและหลักสูตร

การศกึ ษาข้ันพื้นฐานดังกล่าวขา้ งต้น นอกจากนีย้ ังไดน้ ้อมนาพระราชดารสั ของหระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯ เรื่อง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาสง่ เสรมิ สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษานาไปประยกุ ต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนวดั โคกหม้อ ได้ตระหนักถงึ ความสาคัญในเรอ่ื งดังกล่าวข้างตน้ จึงไดจ้ ัดทาโครงการพฒั นา

ประสทิ ธภิ าพการจดั การเรยี นรตู้ ามแนวหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้โดยนาหลักการ

จุดเนน้ และนโยบายต่าง ๆ มาประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรียนรตู้ ามแนวปฏิรปู การเรียน เพื่อใหน้ กั เรยี นไดร้ บั การพฒั นา

ศกั ยภาพและมีคณุ ภาพตามที่หลักสูตรต้องการ

๒. วัตถุประสงค์
๒.๑ เพ่อื พฒั นาหลกั สตู รการเรยี นร้ทู กุ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ทกุ ชว่ งชน้ั
๒.๒ เพือ่ ปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรมให้กบั ผู้เรียน ใหม้ ีความรูค้ คู่ ุณธรรม นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง มาใช้ในการเรียนและดาเนนิ ชวี ิต
๒.๓ เพอื่ พฒั นาการวัดและประเมินผลตามแนวปฏิรปู การเรียนรู้
๒.๔ เพอ่ื พฒั นาระบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตามและประเมินผล

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ
พฒั นาครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น และพัฒนาหลักสตู รสถานศกึ ษา

ใหส้ อดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓.๒ เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ
๓.๒.๑ ครูมคี วามรู้ความสามารถในการพฒั นาหลักสตู ร การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้โดยใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
๓.๒.๒ ครสู ามารถนาสอ่ื นวัตกรรม ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ใช้ในการจัดการเรยี นรู้และมีการวัดผล

ประเมนิ ผลตามแนวปฏริ ปู การเรยี นรู้ได้อยา่ งมีคุณภาพ

๔. กจิ กรรมและวิธีการดาเนินงาน
๔.๑ ลกั ษณะกิจกรรม แบ่งเป็น ๒ ลกั ษณะ คือ
๔.๑.๑ กิจกรรมพัฒนาประสิทธภิ าพกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เป็นกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ ที่มงุ่ เน้นให้

เกิดคุณธรรม จริยธรรม มคี วามรคู้ ูค่ ุณธรรม ในกลมุ่ สาระการเรียนรู้ทกุ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี น
โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓๒

๔.๑.๒ กิจกรรมโครงการ
๑) ประชมุ ช้ีแจง
๒) จัดทาโครงการเพ่ือเสนอขออนุมตั ิโครงการ
๓) ดาเนินงานตามกจิ กรรมท่ีกาหนด
๔) ติดตามและประเมินโครงการ
๕) แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละนาเสนอผลงานทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
๖) สรุปและรายงานผล

๔.๒ กิจกรรมดาเนินการ

กจิ กรรม ระยะเวลาดาเนนิ การ ครูผู้รบั ผดิ ชอบ

๑. ประชมุ ชแ้ี จง ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางชนิ ออู่ รุณ
๒. จดั ทาโครงการเพื่อเสนอขออนุมัตโิ ครงการ ถงึ คณะครู
๓. การแขง่ ขนั ทักษะวิชาการ
๔. ตดิ ตามและประเมนิ โครงการ ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
๕. แลกเปล่ียนเรียนรเู้ พอื่ นาเสนอผลงานทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้
๖. สรปุ และรายงานผล

๕. สถานท่ีดาเนนิ การ
โรงเรียนวดั โคกหมอ้

๖. งบประมาณ
งบประมาณ จานวน - บาท

๗. การติดตามและประเมนิ ผล

รายการ/ตัวช้วี ดั วิธีการประเมิน เครื่องมือท่ใี ช้ประเมิน
- การประเมิน - แบบประเมนิ
๑. ร้อยละของครมู ีความรคู้ วามเข้าใจเกย่ี วกับหลักสูตรและการ
สง่ เสริมสนับสนนุ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - การบันทึก - แบบประเมิน
๒. ร้อยละของครูท่ีไดร้ ับการพฒั นาการจัดกจิ กรรมกลมุ่ สาระ
การเรยี นรตู้ ามแนวหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เนน้ การ - การตรวจสอบ - แบบประเมิน
อา่ น เขียน คดิ และยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ - การตรวจสอบ - แบบประเมิน
๓. รอ้ ยละของหลักสตู รที่ได้รับการพัฒนา
๔. ร้อยละของครมู แี ผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีส่งเสรมิ คุณธรรมและ - การตรวจสอบ - แบบประเมนิ
กระบวนการคิด - การทดสอบ - แบบประเมิน
๕. ร้อยละของนักเรยี นมีความรูค้ ูค่ ุณธรรม
๖. รอ้ ยละของครูสรา้ งและใชส้ ื่อ นวตั กรรมเทคโนโลยีและภมู ิ - การประเมิน - แบบประเมิน
ปญั ญาท้องถนิ่ ในการจัดการเรยี นรู้
๗. ร้อยละของจานวนรูปแบบการนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมนิ ผลของผอู้ านวยการโรงเรียน

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓๓

๘. ผลท่คี าดว่าจะได้รับ
๘.๑ ครูมีความรคู้ วามเข้าใจในการพฒั นาหลักสตู รและนาไปใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดเ้ ปน็ อยา่ งดี
๘.๒ นักเรยี นมีคุณธรรม จริยธรรม มคี วามรู้คู่คุณธรรม
๘.๓ ครูจัดการเรียนรู้ โดยสอดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา

ประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรียนรูไ้ ด้อย่างเหมาะสม
๘.๔ ชุมชนมคี วามพึงพอใจและให้ความร่วมมอื กบั โรงเรียนเปน็ อย่างดี

ลงชอื่ ชิน อ่อู รุณ ผู้เสนอโครงการ
(นางชิน ออู่ รณุ )

ลงชอ่ื บรรพต ฟกั อินทร์ ผู้อนมุ ัตโิ ครงการ
(นายบรรพต ฟักอินทร)์

ผู้อานวยการโรงเรียนวดั โคกหม้อ

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓๔

โครงการ พัฒนาระบบสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ สง่ เสรมิ นิสัยรกั การอา่ น

แผนงาน บริหารวิชาการ

สนองกลยทุ ธ์ รร. ที่ ๑ กลยทุ ธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ท่ี ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ที่ ๑

ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ นางชิน อู่อรณุ

ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลักการและเหตุผล

สอื่ อุปกรณ์ เครื่องมืออิเลคทรอนคิ ส์ท่ใี ช้ในการจดั กจิ กรรมต่างๆ ส่นู กั เรียน ในรปู แบบต่างๆ ทัง้ ภาพ

และเสียง มคี วามจาเป็นอย่างยิ่งท่นี าเสนอ สื่อการเรยี นรตู้ ่างๆ ในรปู แบบที่ทนั สมยั มปี ระโยชน์ต่อนกั เรยี นและ

สอดคลอ้ งกบั ยุคโลกาภวิ ตั น์ ทม่ี ีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ในปัจจุบนั ทางโรงเรียนวัดโคกหม้อ จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการ

พัฒนาระบบสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและระบบอนิ เตอร์เน็ต เพื่อการส่ือสาร ถ่ายทอด ร่วมกบั การเรยี นการสอนให้มี

ประสทิ ธภิ าพพอเพยี งท่จี ะจดั กจิ กรรมต่างๆ เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดต่อครผู ู้สอน ผเู้ รียน ตลอดจน ชมุ ชนและ

หนว่ ยงานราชการอนื่ ท่ีมาใชบ้ ริการ

การอ่านหนงั สือเปน็ การพฒั นาตนเอง และใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชนเ์ ปน็ ส่ิงท่ีจาเปน็ มาก ในการพฒั นาคน

และพัฒนาสังคม ปจั จบุ ันนีก้ ารอา่ นหนงั สอื ของคนไทยเปน็ กจิ กรรมที่ไม่แพรห่ ลาย แม้ในหมู่ผู้รู้หนังสอื การอ่านหนงั สือ

ทีด่ ีและมสี าระย่ิงน้อยลงไปอีก สาเหตุมอี ยู่หลายประการนับตง้ั แต่การขาดแคลนหนังสือทีด่ แี ละตรงกับความสนใจของ

ผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนงั สือ ซึ่งจะซอื้ หรือ ยืมอ่านได้ ไปจนถึงการดึงความสนใจและแยง่ เวลาของส่ืออื่นๆ

เช่น โทรทศั น์ วทิ ยกุ ระจายเสียง อนิ เตอร์เน็ต ฯลฯ รวมท้งั ขาดการชักจงู การกระต้นุ ให้ความเหน็ ความสาคัญของการ

อา่ น ตลอดจน มนี สิ ัยรักการอ่านท้ังในและนอกสถานศึกษา เมอื่ เทียบกับความเพลดิ เพลนิ และการได้ฟังไดร้ เู้ ห็นเรื่อง

ตา่ งๆ จากโทรทัศน์ ถา้ ต้องการให้อา่ นหนงั สอื เกิดเป็นนิสยั จาเป็นตอ้ งมีการปลกู ฝงั และชักชวนให้เกิดความสนใจ

ถึงแมว้ า่ ในระยะเวลาที่ผา่ นมาจะมหี น่วยงานตา่ งๆ ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน รวมทัง้ สานักงานคณะกรรมการ

การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานไดด้ าเนินงานจัดกิจกรรมตา่ งๆ เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่านมาโดยตลอดแตส่ ภาพปัจจบุ นั พบสงั คมไทย

ยงั ขาดความสนใจในการอา่ นหนงั สือ จงึ จาเป็นตอ้ งมกี ารส่งเสรมิ นิสยั การอ่านอย่างตอ่ เน่ืองและเพ่มิ มากขึ้น

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพือ่ พฒั นาระบบส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละระบบอนิ เตอรเ์ น็ต ในด้านการจัดซื้อ จดั หาใหส้ อดคลอ้ ง

กับความต้องการของการจดั กิจกรรมต่างๆ
๒.๒ เพอื่ ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยแี ละระบบอนิ เตอรเ์ นต็ แก่คณะครู นกั เรียน ชุมชน ตลอดจนหน่วยงาน

ราชการตา่ งๆ นาไปใช้ในการปฏบิ ัตงิ าน คน้ ควา้ หาความรู้ใหม้ ีประสิทธิภาพมากข้นึ
๒.๓ ครูและนักเรียนสามารถใช้สอื่ นวัตกรรม เทคโนโลยแี ละอินเตอร์เนต็ สืบคน้ ข้อมลู จดั ทารายงาน และ

เพม่ิ พูนความรู้ได้
๒.๔ เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั ให้นักเรียน ครู และผบู้ ริหาร เห็นความสาคญั ของการอ่านหนงั สือและมีนสิ ยั รกั

การอา่ น ตลอดจนให้การอ่านนาไปส่กู ารใฝเ่ รียนตลอดชวี ติ
๒.๕ เพอ่ื สรา้ งแรงจูงใจ และกระต้นุ ให้ ครู นักเรยี น และบุคลากรในโรงเรียนรกั การอ่านอย่างต่อเน่ือง
๒.๖ เพอ่ื ส่งเสรมิ นิสยั รกั การอ่านและยกระดบั ความสามารถในการอ่านของนักเรียน ครู และบคุ ลากร

ในโรงเรียน
๒.๗ เพือ่ เพม่ิ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนการสอน

แผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๓๕

๓. เป้าหมาย
๓.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
๓.๑.๑ จัดหาสื่อ นวตั กรรม เทคโนโลยี
๓.๑.๒ จัดระบบอนิ เทอร์เนต็ ใหค้ รอบคลุมพน้ื ท่ีของโรงเรยี น
๓.๑.๓ ครู นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน มีนสิ ัยรกั การอา่ นและใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์
๓.๒ เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
๓.๒.๑ คณะครู นกั เรียน ชมุ ชน ใช้ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ในการค้นควา้ หาความรู้ไดม้ ากข้ึน
๓.๒.๒ ครูผู้สอนใช้สือ่ นวัตกรรม เทคโนโลยี ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรอู้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

มากขึน้
๓.๒.๓ ครู นักเรยี น และบคุ ลากรในโรงเรยี นมสี ว่ นรว่ มในการจัดกิจกรรมสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่าน
๓.๒.๔ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นเพ่ิมขึ้น

๔. กิจกรรมและวธิ กี ารดาเนนิ การ
๔.๑ จัดทาโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
๔.๒ วางแผนการดาเนนิ งาน
๔.๓ ดาเนินงาน
๔.๔ สรุปรายงานผล

- กิจกรรมการพัฒนาระบบสอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยี

กจิ กรรม วธิ ีดาเนนิ การ ระยะเวลา ครผู รู้ บั ผดิ ชอบ

๑. จัดทาโครงการ/ขออนุมัติ - จดั ซื้อซ้อื นวตั กรรม เทคโนโลยี ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางชนิ ออู่ รุณ
ถึง คณะครู
โครงการ - ติดตั้งระบบอินเทอร์เนต็ ใน
๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
๒. วางแผนการดาเนนิ งาน โรงเรียน ระบบแลน

๓. ดาเนินงานตามแผน - ปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบ

- จัดซ้ือ จดั หา เคร่อื งมอื อินเทอร์เน็ต

อปุ กรณ์อิเลคทรอนิกส์และ - คณะครูและนักเรยี นสามารถใช้

อุปกรณ์อืน่ ๆ เพื่อสนับสนนุ บริการสอ่ื นวัตกรรม เทคโนโลยี

กจิ กรรมการเรยี นรู้ และอนิ เทอรเ์ น็ตเพ่ือการศึกษา

- คณะครูและนักเรยี นใชส้ ือ่

นวตั กรรม เทคโนโลยแี ละ

อินเทอรเ์ นต็ ในการคน้ คว้าหา

ความรู้

๔. สรปุ ผลการดาเนินงาน

แผนปฏิบตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๓๖

- กิจกรรมสง่ เสรมิ นสิ ยั รักการอ่าน

กิจกรรม วิธดี าเนนิ การ ระยะเวลา ครูผ้รู บั ผดิ ชอบ
๑. ภาษาไทยวนั ละคา
ภาษาองั กฤษวันละคา ๑. แต่งตง้ั นกั เรยี นรับผดิ ชอบใน ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางชิน อูอ่ รุณ
การหาคาศัพทภ์ าษาอังกฤษ ถงึ คณะครู
๒. บรกิ ารข่าวสาระนา่ รู้ ภาษาไทย
๒. นกั เรียนรับผดิ ชอบหาคามา ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
๓. กิจกรรมวางทกุ งาน เขียนท่บี อร์ด
อา่ นทุกวนั / ๓. ผู้นานักเรียนอา่ นคาทหี่ ามาให้
กิจกรรมพีส่ อนน้อง นักเรียนอ่านตามพร้อมทั้งบอก
ความหมายของคา
๔. กิจกรรมยอดนักอา่ น ๑. แตง่ ตั้งนกั เรยี นเพื่อหาข่าวและ
๕. สรปุ โครงการ เกรด็ ความรู้แต่ละวนั เพ่ือ
ประชาสมั พันธใ์ ห้ความร้ชู ว่ งพัก
กลางวัน ทกุ วนั จันทร์ ถึง วันศุกร์
พรอ้ มบันทึกประจาวัน
๑. ใหน้ ักเรยี นอ่านทุกวันในเวลา
วา่ ง พร้อมบันทึกสาระสาคญั ใน
เรอ่ื งท่ตี นเองอ่าน
๒. ให้ครปู ระจาชั้นตรวจบนั ทึก
การอ่านของนักเรยี น พร้อมกับ
คดั เลือกนักเรียนรกั การอ่านยอด
เยย่ี ม และมอบรางวัล
๑. จดั กจิ กรรมการประกวดยอด
นกั อ่าน ประจาเดือน ประจาภาค
เรียน และประจาปี
๒. บนั ทึกสมุดสง่ เสริมการอา่ น
๓. มอบรางวัน
๑. สรปุ โครงการ

๕. สถานท่ดี าเนนิ การ
โรงเรยี นวัดโคกหมอ้

๖. งบประมาณ
งบประมาณ จานวน - บาท

แผนปฏิบัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๓๗

๗. การติดตามและประเมินผล วิธีการประเมนิ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ประเมนิ
รายการ - ดาเนินการจดั ซ้ือ - เครื่องมือและอุปกรณ์

๑. จัดหา เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ - รวบรวมรายการเครื่องมือ - ทะเบยี นครภุ ัณฑ์
ระบบอนิ เทอร์เน็ต
๒. ลงทะเบยี น อุปกรณ์ทต่ี ิดตงั้ ระบบ

๓. การประชาสัมพนั ธ์ อินเทอร์เนต็ จดั ซ้ือมา

ลงทะเบียน

- ประชาสัมพันธ์ระบบ - แบบบนั ทึกการขอใช้

อินเทอรเ์ นต็ ท่มี ีให้บรกิ าร ระบบอินเทอรเ์ น็ตใน

- ครแู ละนักเรยี นใช้อนิ เทอร์เนต็ โรงเรยี น

ในการค้นคว้าหาความรู้

๘. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
๘.๑ ครผู ู้สอนใชส้ อ่ื นวตั กรรม เทคโนโลยใี นการจดั กิจกรรมการเรียนร้อู ย่างมปี ระสิทธภิ าพมากขึ้น
๘.๒ ครแู ละนักเรยี นและชมุ ชนใช้บรกิ ารอินเทอร์เน็ตในการรับรู้ขอ้ มลู ข่าวสารในการคน้ ควา้ และในการจดั

กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพมิ่ ขึ้น
๘.๓ นกั เรยี นเหน็ คุณค่าของการใชเ้ ทคโนโลยีและส่ือนวัตกรรมทางการศกึ ษา
๘.๔ นักเรียนรู้วธิ กี ารและแสวงหาความรู้ และวิทยาการตา่ งๆ ได้ดว้ ยตนเอง สามารถพัฒนาตนเองและมนี ิสยั

รกั การอ่านที่ยั่งยืน
๘.๕ ครูมีความรูค้ วามสามารถในการจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม กิจกรรมทีม่ ชี ีวติ และสอื่ การเรียนรู้

เพอื่ ให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้
๘.๖ บดิ ามารดา ผปู้ กครอง และบุคคลในชุมชนมีส่วนรว่ มสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ช่วยการอ่านให้แกน่ กั เรียน
๘.๗ นกั เรียนมีความกระตอื รือร้นในการเรยี นเพ่มิ ขึน้
๘.๘ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนสูงขนึ้

ลงชื่อ ชิน ออู่ รุณ ผเู้ สนอโครงการ
(นางชิน ออู่ รณุ )

ลงช่ือ บรรพต ฟักอินทร์ ผอู้ นุมตั ิโครงการ
(นายบรรพต ฟกั อินทร์)

ผู้อานวยการโรงเรียนวัดโคกหม้อ

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๓๘

โครงการ พฒั นาและเสริมสร้างความเข้มแข็งการบรหิ ารงานวชิ าการ

แผนงาน บรหิ ารวชิ าการ

สนองกลยุทธ์ รร. ท่ี ๑ กลยทุ ธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ที่ ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ท่ี ๑

ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ นางอารดา กลน่ิ บานชืน่

ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ถงึ ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลักการและเหตุผล

เนื่องดว้ ยกระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

เพอ่ื ใหก้ ารจดั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานสอดคลอ้ งกับสภาพความเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สงั คม และความ

เจริญก้าวหนา้ ทางวิชาการ เป็นการสรา้ งกลยุทธใ์ หม่ในการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาให้สามารถตอบสนองความ

ต้องการของบุคคล สงั คมไทย นักเรียนมีศกั ยภาพในการแข่งขันและรว่ มมืออยา่ งสร้างสรรคใ์ นสังคมโลก

โรงเรียนวดั โคกหมอ้ ต้องมีการพฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สูตรโรงเรยี นวัดโคกหม้อ พุทธศกั ราช ๒๕๕๓

อยู่เสมอ เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพนักเรยี นใหเ้ ปน็ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ และสอดคล้องกบั ความตอ้ งการของท้องถิ่น

๒. วัตถปุ ระสงค์
๒.๑ เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ หลกั สูตรโรงเรียนวดั โคกหมอ้ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๓
๒.๒ เพอ่ื ตรวจสอบความเหมาะสมและความพรอ้ มใชข้ องหลักสูตร
๒.๓ เพื่อพฒั นาคุณภาพนักเรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้
๒.๔ เพื่อนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เป้าหมายเชิงปริมาณ
๓.๑.๑ ทุกกลุม่ สารการเรยี นรู้มหี ลักสูตรของกลุม่ สาระฯ
๓.๑.๒ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นสูงข้นึ
๓.๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
๓.๒.๑ นกั เรยี นพัฒนาไดต้ ามมาตรฐานการเรียนรู้
๓.๒.๒ มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

๔. กจิ กรรมและวิธีการดาเนินงาน
๔.๑ จัดทาโครงการ เพือ่ เสนอขออนุมัตโิ ครงการ
๔.๒ วางแผนการดาเนนิ งาน
๔.๓ ดาเนนิ งานตามแผน
๔.๔ สรุปและรายงานผล

กจิ กรรม/วิธีดาเนนิ การ ระยะเวลา ครูผรู้ บั ผิดชอบ

๑. จัดทาโครงการ เพื่อเสนอขออนุมตั ิโครงการ ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางอารดา กลิน่ บานชืน่
๒. วางแผนการดาเนินงาน ถึง
๓. ดาเนนิ งานตามแผน คณะครู
๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
- พัฒนาและปรบั ปรงุ หลักสตู รโรงเรยี น
- จัดทาหลักสตู รกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
- นิเทศการศึกษา
๔. สรปุ และรายงานผล

แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๓๙

๕. สถานที่ดาเนนิ การ
โรงเรยี นวดั โคกหม้อ

๖. งบประมาณ
งบประมาณ จานวน ๒,๕๓๙ บาท

๗. การติดตามและประเมนิ ผล วิธีการประเมิน เครอื่ งมือทใี่ ช้ในการประเมิน

ตัวบ่งช้สี ภาพความสาเรจ็ - หลักสูตรโรงเรียน - แบบสารวจ ตรวจสอบ
๑. มกี ารพัฒนาและปรบั ปรงุ หลกั สตู รโรงเรยี น - หลักสูตรกลุ่มสาระฯ - แบบสารวจ ตรวจสอบ
๒. ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้มีหลักสูตรกล่มุ สาระฯ - การวดั ผล ประเมนิ ผล - แบบทดสอบ
๓. นักเรยี นมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ -นเิ ทศการศึกษา - แบบสารวจ ตรวจสอบ
๔. ครูไดร้ ับการนิเทศภายใน

๘. ผลทีค่ าดว่าจะได้รับ
๘.๑ มกี ารพฒั นาและปรบั ปรงุ หลักสตู รโรงเรยี น
๘.๒ มีการพัฒนา จัดทาหลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๘.๓ นกั เรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้
๘.๔ ครไู ดร้ บั การนเิ ทศภายใน เพื่อพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

ลงช่อื อารดา กลิ่นบานช่นื ผ้เู สนอโครงการ
(นางอารดา กล่นิ บานชื่น)

ลงชอ่ื บรรพต ฟกั อินทร์ ผอู้ นุมัติโครงการ
(นายบรรพต ฟักอนิ ทร์)

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดโคกหม้อ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๔๐

โครงการ พฒั นาและยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น

แผนงาน บริหารวิชาการ

สนองกลยุทธ์ รร. ที่ ๑ กลยุทธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ที่ ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ท่ี ๑

ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ นางอารดา กล่ินบานช่นื

ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ถงึ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลกั การและเหตผุ ล

ตามทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ดาเนนิ การปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. ๒๕๕๒ – ๒๕๖๑) ซ่งึ เนน้

ในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้เตม็ ศักยภาพ กลยุทธ์ท่ี ๑ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษาทุกระดับตาม

หลกั สตู รและส่งเสรมิ ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี เพอ่ื เป็นเครอื่ งมือในการเรียนรู้คณะกรรมการนโยบายปฏิรปู

การศกึ ษาในทศวรรษทสี่ อง ได้กาหนดเปา้ หมายใหผ้ ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในวชิ าหลักจากการทดสอบระดบั ชาติ มี

คะแนนเฉลี่ยมากกว่ารอ้ ยละ ๕๐ และจุดเนน้ ที่ ๓ ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี น ๕ กลมุ่ สาระวชิ าหลัก เพ่มิ ขึน้ อยา่ งน้อยร้อยละ ๕ ซ่งึ จากผลการประเมนิ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน

ระดบั ชาติ (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๗ พบว่า คะแนนเฉลยี่ สงู กว่าคะแนนเฉลยี่

ระดับประเทศ ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ซงึ่ มีเพียงสองกลุ่มสาระการเรยี นรูท้ ่ีมีคะแนนต่ากว่าคะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ

และผลการประเมินผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ นักเรียนยังต้องปรับปรุงความสามารถ

ด้านภาษาและด้านคานวณ

โรงเรียนวัดโคกหม้อ จงึ จัดทาโครงการพฒั นาและยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนให้กบั นกั เรยี นทุกระดบั ชั้น

เพ่อื ให้นักเรียนมีความรู้และความพรอ้ มในการเขา้ รบั การประเมนิ และมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึ้นทุกกลุ่มสาระ

การเรยี นรู้ ในทุกระดบั ชน้ั

๒. วตั ถปุ ระสงค์
๒.๑ เพื่อยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผูเ้ รยี นให้สงู ข้ึนทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
๒.๒ เพอื่ ยกระดับของการทดสอบระดับชาติ NT/O-NET ของโรงเรยี นให้สูงขน้ึ
๒.๓ ผูเ้ รียนมีความรู้และทักษะทจ่ี าเปน็ ตามหลักสูตรและตามมาตรฐานการศึกษา

๓. เปา้ หมาย
๓.๑ เปา้ หมายเชิงปริมาณ
๓.๑.๑ นกั เรียนรอ้ ยละ ๗๕ มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรูใ้ นระดับดี
๓.๑.๒ ผู้เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓ และ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ มผี ลการทดสอบระดบั ชาติ
๓.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ
๓.๒.๑ นักเรยี นทกุ คนมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นสงู ขน้ึ

๔. กิจกรรมและวิธีการดาเนนิ งาน
๔.๑ ศกึ ษาข้อมลู จัดทาโครงการ เพ่ือขออนุมตั ิโครงการ
๔.๒ วางแผนการดาเนินงาน
๔.๓ ดาเนินงานตามแผน
๔.๔ สรุปและรายงานผล

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๔๑

กิจกรรม/วธิ ีดาเนินการ ระยะเวลา ครผู ู้รับผิดชอบ

๑. ศึกษาข้อมูล จัดทาโครงการ เพอ่ื ขออนมุ ตั โิ ครงการ ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางอารดา กล่นิ บานชืน่
๒. วางแผนการดาเนินงาน ถงึ
- ครสู อนตามวชิ าเอกและความถนดั คณะครู
- สือ่ และวตั กรรม เสริมการเรียนการสอน ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
- วิเคราะหผ์ ู้เรียนรายบคุ คล
- สอนเสรมิ นอกเวลา
๓. ดาเนินงานตามแผน
๔. ประเมนิ ผล

๕. สถานที่ดาเนนิ การ
โรงเรียนวดั โคกหม้อ

๖. งบประมาณ
งบประมาณ จานวน ๕,๐๐๐ บาท

๗. การติดตามและประเมนิ ผล วิธีการประเมิน เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการประเมิน
- แบบทดสอบ - แบบทดสอบ แบบสารวจ
ตวั บ่งชส้ี ภาพความสาเรจ็
๑. ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธิ์ - การทดสอบ - แบบทดสอบ
ทางการเรยี นอยใู่ นระดับดี
(ระดบั ๓-๔ ร้อยละ ๗๐ ขึ้นไป)
ใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
๒. ผลการทดสอบระดบั ชาตมิ ีคา่ เฉล่ยี สูงกว่า
ค่าเฉล่ยี ระดับประเทศ

๘. ผลทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั
๘.๑ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๘.๒ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๗๕ มผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นใน ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ในระดบั ดี
๘.๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ และ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ มผี ลการทดสอบระดบั ชาตคิ ะแนนเฉลย่ี เป็น

รายกลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าคะแนนระดบั ประเทศ

ลงช่ือ อารดา กล่นิ บานชื่น ผู้เสนอโครงการ
(นางอารดา กล่ินบานช่ืน)

ลงชือ่ บรรพต ฟักอินทร์ ผู้อนุมัตโิ ครงการ
(นายบรรพต ฟกั อนิ ทร์)
ผอู้ านวยการโรงเรยี นวดั โคกหม้อ

แผนปฏบิ ัติการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๔๒

โครงการ การวัดและประเมนิ ผล การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขยี น

แผนงาน บรหิ ารวชิ าการ

สนองกลยุทธ์ รร. ที่ ๑ กลยทุ ธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ท่ี ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ท่ี ๑

ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางอารดา กลน่ิ บานชน่ื

ระยะเวลาดาเนนิ การ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถงึ ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลกั การและเหตุผล

การจดั การศกึ ษาเพ่ือใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ มีประสทิ ธิภาพ การวัดและประเมินผลเป็นส่วนหนึ่งของการจดั การ

เรยี นการสอน ที่ทาใหท้ ราบความพรอ้ ม และความรู้ ทกั ษะพืน้ ฐานรวมทัง้ พฒั นาการของผู้เรยี นครูผสู้ อนต้องวัดผล

ประเมินด้วยวธิ ีการ และเครือ่ งมือวัดทหี่ ลากหลาย เหมาะสมกบั ผลการเรียนร้ทู ี่คาดหวงั ตามความสภาพจรงิ ของ

สิ่งท่ีอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนสื่อความหมาย เพ่ือนาผลประเมิน พัฒนาผู้เรียนและปรับปรุงแก้ไข กระบวนการจัด

กิจกรรมการเรยี นการสอนของครู

๒. วตั ถปุ ระสงค์
๒.๑ เพอ่ื ให้ครูเข้าใจวธิ ีการวัดผลประเมินผล และสรา้ งแบบวดั ผลประเมนิ ผล
๒.๒ ครูวดั และประเมนิ ผลด้วยวิธกี ารหลากหลายเหมาะสมกับผลการเรียนรู้ทค่ี าดหวงั ตามสภาพจรงิ
๒.๓ การวัดและประเมนิ ผล เพื่อตดั สินและอนมุ ตั ผิ ลการเรียนทุกระดับ
๒.๔ เพื่อยกมาตรฐานให้ผู้เรยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นท่ีสงู ข้ึน
๒.๕ เพ่ือใหน้ กั เรียนมีทกั ษะที่จาเป็นตอ่ หลกั สูตรในด้านการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน

๓. เป้าหมาย
๓.๑ เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ
๓.๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทกุ กลุ่มสาระการเรียนร้เู พิม่ ขึน้
๓.๒ เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
๓.๒.๑ เพอ่ื นาผลการประเมินไปพฒั นาผู้เรยี นให้มีประสทิ ธิภาพ
๓.๒.๒ เพื่อนาผลการประเมินมาปรบั ปรงุ แก้ไข กระบวนการเรยี นการสอนครู
๓.๒.๓ เพ่อื นาผลการประเมินใช้ในการพิจารณาตดั สนิ ผลสาเร็จของผ้เู รยี น
๓.๓.๔ เพอ่ื ให้นักเรยี นอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี นเป็น

๔. กิจกรรมและวิธีการดาเนนิ งาน
๔.๑ ศึกษาข้อมูล จัดทาโครงการ เพ่ือขออนุมตั ิโครงการ
๔.๒ วางแผนการดาเนินงาน
๔.๓ ดาเนนิ งานตามแผน
๔.๔ สรุปรายงานผล

กิจกรรม/วธิ ีดาเนนิ การ ระยะเวลา ครผู ู้รับผิดชอบ

๑. ศกึ ษาข้อมลู จัดทาโครงการ เพื่อขออนุมตั โิ ครงการ ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางอารดา กลิน่ บานชื่น
๒. แต่งตง้ั คณะทางาน/ประชุมช้ีแจง ถงึ
- หาเอกสาร การวัดและประเมินผลใหค้ ณะครไู ด้ศกึ ษา คณะครู
- ให้คณะครอู อกแบบ และสร้างเครอ่ื งมือวดั ผลประเมนิ ผล ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
การอา่ น คิดวเิ คราะห์ เขียน ตามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หนา้ ๔๓

กิจกรรม/วิธดี าเนินการ ระยะเวลา ครผู ูร้ บั ผิดชอบ

- คณะครปู รึกษารปู แบบการจัดทาเอกสารการวดั และ ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ นางอารดา กลิ่นบานชื่น
ประเมนิ ผล เพื่อเปน็ แนวทางเดียวกนั ถึง คณะครู
๓. ดาเนนิ การตามกิจกรรม
- จดั ทาเอกสารในการวัดและประเมนิ ผลการอ่านคดิ วิเคราะห์ ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๓
และการเขียน ปพ. ตา่ งๆ
- ตืดตามและเมนิ ผล การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นภาค
เรียนละ ๑ ครง้ั
๔. สรปุ รายงานผล
- นาผลการตดิ ตามและประเมินผลมาสรปุ

๔. สรปุ รายงานผล
- นาผลการติดตามและประเมินผลมาสรปุ
๕. สถานท่ดี าเนนิ การ

โรงเรยี นวัดโคกหมอ้

๖. งบประมาณ
งบประมาณ จานวน ๒,๕๐๐ บาท

๗. การตดิ ตามและประเมินผล วิธีการประเมิน เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ

ตัวบ่งชส้ี ภาพความสาเร็จ ดาเนนิ การวดั และ - แบบวดั และประเมนิ ผล
การวดั และประเมนิ ผล การอ่าน คดิ ประเมินผลการอา่ น (แบบทดสอบ)
วิเคราะหแ์ ละการเขยี น คดิ วเิ คราะห์ และการเขียน

๘. ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
๘.๑ ครูผู้สอน เข้าในดี วธิ ีการวัดและประเมินผลพร้อมทง้ั การบนั ทึก ข้อมูลในแบบการวัดผลและประเมนิ ผล
๘.๒ ครผู ้สู อนวดั และประเมนิ ดว้ ยวิธีการ และเครอ่ื งมือทหี่ ลากหลาย ตามสภาพท่จี ริง
๘.๓ นกั เรียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสงู ขนึ้

ลงชอ่ื อารดา กลนิ่ บานชื่น ผเู้ สนอโครงการ
(นางอารดา กลน่ิ บานชืน่ )

ลงชอื่ บรรพต ฟกั อินทร์ ผูอ้ นมุ ตั โิ ครงการ
(นายบรรพต ฟักอินทร์)

ผูอ้ านวยการโรงเรยี นวัดโคกหม้อ

แผนปฏบิ ัตกิ ารประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ : หน้า ๔๔

โครงการ พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพภายในเพือ่ รองรับการประกันคุณภาพภายนอก

แผนงาน บรหิ ารวิชาการ

สนองกลยทุ ธ์ รร. ท่ี ๑ กลยทุ ธ์ สพป.สพ. เขต ๓ ท่ี ๑ กลยุทธ์ สพฐ. ท่ี ๑

ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นางอารดา กล่ินบานช่ืน

ระยะเวลาดาเนินการ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

๑. หลกั การและเหตุผล

ตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตราที่ ๔๘ ไดก้ าหนดให้สถานศกึ ษา จดั ให้มรี ะบบการ

ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา และให้ถือวา่ การประกันคณุ ภาพภายในเป็นส่วนหนง่ึ ของกระบวนการบรหิ าร

การศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยใหม้ ีการจดั ทารายงานประจาปเี สนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่

เกย่ี วขอ้ งและ

๒. วตั ถปุ ระสงค์

๒.๑ เพือ่ ใหค้ รูเข้าใจวธิ กี ารวดั ผลประเมินผล และสรา้ งแบบวดั ผลประเมนิ ผล

๒.๒ ครวู ัดและประเมินผลด้วยวธิ ีการหลากหลายเหมาะสมกับผลการเรยี นรูท้ ่ีคาดหวังตามสภาพจรงิ

๒.๓ การวัดและประเมนิ ผล เพอื่ ตดั สนิ และอนุมัตผิ ลการเรียนทุกระดับ

๒.๔ เพื่อยกมาตรฐานให้ผเู้ รยี นมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนที่สงู ข้นึ

๒.๕ เพ่อื ใหน้ กั เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นต่อหลกั สตู รในด้านการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน

๓. เป้าหมาย

๓.๑ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ

๓.๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้เพ่มิ ขึน้

๓.๒ เปา้ หมายเชิงคุณภาพ

๓.๒.๑ เพือ่ นาผลการประเมนิ ไปพัฒนาผู้เรยี นให้มปี ระสิทธิภาพ

๓.๒.๒ เพอ่ื นาผลการประเมนิ มาปรับปรงุ แก้ไข กระบวนการเรยี นการสอนครู

๓.๒.๓ เพื่อนาผลการประเมินใช้ในการพิจารณาตดั สินผลสาเร็จของผู้เรียน

๓.๓.๔ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นเปน็

๔. กจิ กรรมและวธิ ีการดาเนนิ งาน
๔.๑ ศกึ ษาข้อมูล จดั ทาโครงการ เพื่อขออนุมัติโครงการ
๔.๒ วางแผนการดาเนินงาน
๔.๓ ดาเนนิ งานตามแผน
๔.๔ สรุปรายงานผล


Click to View FlipBook Version