The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

มาตรฐาน ของ DLTV

DL_STANDARD

คำนำ

เอกสารมาตรฐานการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) และมาตรฐานการ
จัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) ฉบับน้ี ประกอบด้วย มาตรฐานระดับ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและมาตรฐานระดับสถานศึกษา จัดทําข้ึนเพื่อเป็นมาตรฐานสําหรับ
การนําเอาการจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
เสริมสร้างความเข้มแข็งหรือปรบั เปลย่ี นกระบวนการเรียนการสอน การจัดสภาพ การสนับสนุน
การจัดการเรียนรู้ของครูและนกั เรียน อันจะเป็นการลดความเหลื่อมลํ้าทางการศึกษาลดช่องวา่ ง
และเพม่ิ โอกาสในการเข้าถงึ การศกึ ษาท่ีมคี ณุ ภาพ

การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) และการจัดการศึกษาทางไกล
ผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) เปน็ แนวการจดั การศกึ ษาที่สาํ คญั แนวทางหนงึ่ ในการขบั เคล่อื น
การยกระดับคณุ ภาพการศึกษาในยุคปจั จบุ นั ให้มปี ระสทิ ธิภาพ สามารถพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตาม
ศักยภาพ เป็นการจัดการศึกษาท่ีนําเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซ่งึ สามารถทาํ ได้
ในทกุ ห้องเรียน ทกุ สถานท่ี ทกุ เวลา เปน็ การแกป้ ญั หาการขาดแคลนครู ที่ไม่ตรงสาขาวิชาเอก
การขาดแคลนแหล่งเรียนรู้ การขาดแคลนส่ือการเรียนการสอน การแบ่งเบาภาระ การสร้าง
เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลที่มีคุณภาพ สําหรับให้ครู นกั เรียนและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ได้นําไปใช้ นอกจากนี้ เป็นการส่งเสริมให้มีการสร้างเครือข่ายในการแลกเปล่ียนเรียนรู้ผ่าน
แอปพลิเคชน่ั ตา่ งๆ บนระบบออนไลน์ ซ่งึ จะส่งผลต่อคณุ ภาพผูเ้ รยี นในภาพรวมของประเทศตอ่ ไปได้

ขอขอบคุณ คณะกรรมการ คณะทํางาน ตลอดจนผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายที่มี
ส่วนช่วยเหลือสนับสนุนให้การดําเนินงานการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) และ
การจัดการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) สามารถดําเนินการจัดทําเอกสาร
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลฉบับนี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมายที่วางไว้
จนสําเร็จลุล่วงด้วยดี

สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน



สำรบญั หน้า

คำนำ 5
สำรบญั 7
10
มาตรฐานการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) 19
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
19
๑. มาตรฐานระดบั สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา 22
๒. มาตรฐานระดบั สถานศกึ ษา
เครือ่ งมอื การประเมนิ 34
มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 36
ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) 39
49
- สาหรับสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
- สาหรับสถานศกึ ษา/โรงเรยี น 49
52
มาตรฐานการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ DLIT

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน
๑. มาตรฐานระดับสานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา
๒. มาตรฐานระดบั สถานศกึ ษา

เครอ่ื งมือการประเมนิ
มาตรฐานการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
- สาหรบั สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา
- สาหรับสถานศึกษา/โรงเรยี น

คณะทางาน



มาตรฐานการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

(DLTV)

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

5

มาตรฐานการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

แบง่ ออกเปน็ ๒ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
๑. มาตรฐานระดบั สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษา
๒. มาตรฐานระดับสถานศึกษา
๑. มาตรฐานระดับสานกั งานเขตพื้นที่การศึกษา
แบ่งออกเปน็ ๓ ด้าน ไดแ้ ก่
๑. ด้านนโยบายการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม
๒. ด้านการขบั เคลอ่ื นและสรา้ งความเขม้ แขง็
๓. ดา้ นการนิเทศตดิ ตาม และประเมินผล

6

๑. มาตรฐานระดบั สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา

มาตรฐานท่ี ๑ ดา้ นนโยบายการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

ประกอบดว้ ย ๑ ตวั ช้ีวัด ดังน้ี

ตัวชีว้ ัดที่ ๑ มกี ารกาหนดนโยบายและแผนการปฏบิ ตั งิ านการจัดการศึกษาทางไกลผา่ น
ดาวเทียม มเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้

1) มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไว้ในวิสัยทัศน์/
พันธกจิ /แผนงาน/โครงการ

2) มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไว้ในวิสัยทัศน์/
พนั ธกจิ /แผนงาน/โครงการและมกี ารนาไปสูก่ ารปฏบิ ัติ

3) มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ไว้ในวิสัยทัศน์/
พันธกิจ/แผนงานโครงการและมีการดาเนินงานตามแผนงานโครงการ/แผนงานโครงการ
มีการนาไปสู่การปฏิบตั ิและมผี ลการปฏบิ ตั ชิ ดั เจน

มาตรฐานที่ ๒ ด้านการขับเคล่ือนและสรา้ งความเขม้ แขง็

ประกอบด้วย ๓ ตัวชวี้ ดั ดังนี้

ตวั ชี้วัดท่ี ๑ มคี ณะกรรมการขับเคลอ่ื นและสรา้ งความเขม้ แข็ง มีเกณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้
1) มีการขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแข็ง ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ระดับ

เขตพื้นทก่ี ารศึกษา โดยไม่มีรูปแบบคณะกรรมการที่ชดั เจน
2) มีคณะกรรมการขับเคลื่อนและสร้างความเข้มแข็ง ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทยี มระดบั เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา
3) มีคณะกรรมการขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแข็ง ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทียมระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา ท่ปี ระกอบไปด้วยตัวแทนภาคส่วนทห่ี ลากหลาย

ตวั ชวี้ ดั ที่ ๒ การจดั ระบบการสนบั สนุนการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
มเี กณฑ์การพิจารณา ดงั น้ี

1) มีการจดั ระบบการสนับสนุนการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
2) มีการจัดตงั้ ทมี งาน/คณะกรรมการเคล่ือนท่ีเรว็ (Roving Team) เพอื่ สนบั สนุนการจดั

การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม
3) มกี ารจดั ตง้ั ทีมงาน/คณะกรรมการเคล่อื นทเี่ รว็ (Roving Team) เพ่ือสนับสนนุ การจดั

การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม และมีความพรอ้ มในการปฏิบตั งิ าน

7

ตัวชีว้ ดั ที่ ๓ การสร้างเครือขา่ ยสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
มเี กณฑก์ ารพิจารณา ดงั น้ี

1) มกี ารพฒั นาระบบการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม โดยไมม่ กี ารจัดต้ังเครอื ข่ายชดั เจน
2) มกี ารจัดตั้งเครือขา่ ยกลุ่มโรงเรยี นท่ีใชร้ ะบบการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
3) เครือขา่ ยมคี วามร่วมมือกบั องค์กรหน่วยงานอ่นื เพ่ือชว่ ยเหลือใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและ

ต่อเนอื่ ง

มาตรฐานที่ ๓ ดา้ นการนเิ ทศติดตาม และประเมนิ ผล

ประกอบดว้ ย ๓ ตวั ชวี้ ัด ดงั น้ี

ตัวช้ีวัดที่ ๑ การกาหนดแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาทางไกล
ผา่ นดาวเทียม มีเกณฑ์การพจิ ารณา ดงั น้ี

1) มแี ผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
2) มีแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมและมกี าร

ดาเนินการตามแผน
3) มแี ผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม มีการ

ดาเนินการตามแผนอยา่ งตอ่ เน่ืองและสม่าเสมอ

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๒ การประเมนิ ผลและปรบั ปรงุ มีเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดงั น้ี
1) มีการประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
2) มีการประเมนิ และรายงานผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
3) มกี ารประเมนิ และรายงานผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และให้ข้อเสนอแนะ

เพ่ือการปรับปรุง/พัฒนา

ตวั ช้ีวัดที่ ๓ การคัดเลือกผลการปฏิบัติที่ดี (Best Practices)
มเี กณฑ์การพิจารณา ดงั นี้

1) มีกจิ กรรมคัดเลอื กผลการปฏิบตั ิทด่ี ี
2) มีกิจกรรมคัดเลือกผลการปฏิบัติที่ดี และมอบรางวัล/ยกย่องเชิดชูเกียรติโรงเรียน ครูและ

บคุ ลากรด้านการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ปีการศึกษาละ ๑ ครัง้
3) มีกจิ กรรมคัดเลือกผลการปฏิบัติที่ดี และมอบรางวัล/ยกย่องเชิดชูเกียรติโรงเรียน ครูและ

บุคลากรด้านการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง และมีการ
เผยแพรส่ สู่ าธารณชน

8

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนน
ปฏิบตั ิไดต้ ามขอ้ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ตั ิได้ตามขอ้ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั ไิ ด้ตามข้อ ๓ ได้ ๓ คะแนน

สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา การจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
(DLTV)

คะแนน ๗ - ๑๐ คะแนน หมายถึง อยูใ่ นระดับ ปรบั ปรงุ
คะแนน ๑๑ - ๑๔ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดบั พอใช้
คะแนน ๑๕ -๑๘ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดบั ดี
คะแนน ๑๙ - ๒๑ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดบั ดีมาก

9

๒. มาตรฐานระดับสถานศึกษา

แบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ไดแ้ ก่
๑. ดา้ นปจั จยั พ้นื ฐานของสถานศึกษา
๒. ดา้ นผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
๓. ดา้ นครผู สู้ อน
๔. ด้านนกั เรียน

มาตรฐานท่ี ๑ ด้านปัจจยั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา

ประกอบดว้ ย ๗ ตัวชวี้ ดั ดงั น้ี

ตวั ชว้ี ัดท่ี ๑ ความพรอ้ มของระบบไฟฟา้ มีเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้
1) มรี ะบบไฟฟ้า แต่ไมส่ ามารถใชง้ านในการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
2) มีระบบไฟฟ้า แต่ไม่เพียงพอในการใช้งานการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) สาหรับ

ระยะเวลาการออกอากาศของโรงเรยี นต้นทาง
3) มีระบบไฟฟ้าเพียงพอในการใช้งานการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ( DLTV) สาหรับ

ระยะเวลาการออกอากาศของโรงเรียนตน้ ทาง

ตัวชี้วัดที่ ๒ ความพร้อมด้านอปุ กรณ์รบั สญั ญาณการศกึ ษาทางไกล มเี กณฑก์ ารพจิ ารณา ดังน้ี
1) มอี ุปกรณก์ ารรบั สัญญาณการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ครบทกุ ห้องเรยี นแต่ไม่

สามารถใช้งานได้
2) มอี ปุ กรณก์ ารรบั สญั ญาณการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ใช้งานไดไ้ ม่ครบทกุ

หอ้ งเรียน
3) มีอุปกรณก์ ารรบั สญั ญาณการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV) ใช้งานได้ครบทกุ หอ้ งเรยี น

ตวั ชี้วดั ที่ ๓ ความพรอ้ มด้านระบบอนิ เทอรเ์ น็ตทร่ี องรับการจัดการศึกษาทางไกลผา่ น
ดาวเทียม มีเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดังนี้

1) มีระบบอนิ เทอร์เนต็ แตไ่ มส่ ามารถใชใ้ นการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
2) มีระบบอินเทอร์เน็ตแตไ่ มม่ ีความเสถียร
3) มรี ะบบอินเทอรเ์ นต็ และมคี วามเสถยี ร

10

ตวั ชี้วดั ท่ี ๔ ความพร้อมของเครอื่ งรบั โทรทัศน์ทส่ี ามารถใช้งานได้อยา่ งสมบรู ณ์ คมชดั ท้งั ภาพ
และเสียง ภายในหอ้ งเรยี น มีเกณฑ์การพจิ ารณา ดงั นี้

1) มีเครอ่ื งรบั โทรทศั น์ท่ีสามารถใช้งานได้อยา่ งสมบรู ณ์ คมชัดท้งั ภาพและเสยี ง ภายในห้องเรียน
จานวนนอ้ ยกว่ากงึ่ หนึ่งของหอ้ งเรยี น

2) มเี ครื่องรับโทรทัศนท์ ่ีสามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ คมชัดทัง้ ภาพและเสยี ง ภายในห้องเรียน
จานวนกงึ่ หน่งึ ขน้ึ ไปแต่ไม่ครบทกุ หอ้ งเรยี น

3) มีเคร่ืองรบั โทรทัศน์ท่สี ามารถใช้งานได้อยา่ งสมบรู ณ์ คมชดั ทัง้ ภาพและเสียง ภายในห้องเรียน
ครบทกุ หอ้ งเรยี น

ตัวชวี้ ัดท่ี ๕ ความพรอ้ มของคู่มอื ครพู ระราชทานประกอบการจัดการเรยี นการสอนด้วยระบบ
การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ในภาคเรยี น/ปกี ารศกึ ษาปจั จบุ นั มเี กณฑก์ ารพิจารณา ดังนี้

1) มีคมู่ ือครูพระราชทานไม่เปน็ ปจั จบุ ัน
2) มีค่มู อื ครูพระราชทานเปน็ ปัจจบุ นั แต่ไม่ครบทุกชน้ั เรียน
3) มคี ูม่ ือครูพระราชทานเปน็ ปัจจบุ นั ครบทกุ ช้ันเรียน

ตัวช้ีวัดท่ี ๖ ความพรอ้ มด้านบุคลากรด้านเทคนิคเกี่ยวกับการติดต้ังระบบและการบารุงรักษา
มเี กณฑก์ ารพจิ ารณา ดงั น้ี

1) มคี รแู ละบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบระบบการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(DLTV) แตไ่ มไ่ ด้มีการมอบหมาย/แต่งตงั้ เปน็ ลายลักษณ์อักษร

2) มคี รแู ละบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบระบบการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
(DLTV) โดยมีการมอบหมาย/แตง่ ตง้ั เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร แต่ไมส่ ามารถตดิ ตั้ง/ซอ่ ม
บารงุ รกั ษาระบบได้

3) มีครูและบุคลากรทางการศึกษาทรี่ ับผิดชอบระบบ การจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
(DLTV) โดยมีการมอบหมาย/แตง่ ตง้ั เป็นลายลกั ษณ์อักษร และสามารถตดิ ตัง้ /ซอ่ มบารุงรักษา
ระบบได้

ตวั ชี้วดั ท่ี ๗ จดั ให้มเี ครือข่ายการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
(DLTV) มีเกณฑ์การพจิ ารณา ดังนี้

2) มเี ครือขา่ ยพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาตามที่สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษากาหนด
3) มีเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาหนดและ

มีเครือข่ายด้านเทคนิคการติดต้ัง ซ่อมแซมบารุงรักษา แต่ไม่ได้ทาข้อตกลงความร่วมมือกับ
เครือข่าย
3) มีเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาตามท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษากาหนดและ
มีเครือข่ายด้านเทคนิคในการติดตั้ง ซ่อมแซมบารุงรักษา และมีการทาข้อตกลงความร่วมมือ
กบั เครอื ขา่ ย

11

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนน
ปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามข้อ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบัตไิ ดต้ ามข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏิบตั ไิ ด้ตามข้อ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ มาตรฐาน
คะแนน ๗ - ๑๐ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ ปรับปรงุ
คะแนน ๑๑ - ๑๔ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดับ พอใช้
คะแนน ๑๕ -๑๘ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ ดี
คะแนน ๑๙ - ๒๑ คะแนน หมายถงึ อยู่ในระดับ ดมี าก

มาตรฐานที่ ๒ ดา้ นผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา

ประกอบด้วย ๕ ตัวชีว้ ัด ดังน้ี

ตัวช้วี ัดที่ ๑ การกาหนดนโยบายดา้ นการส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม
อย่างเป็นรูปธรรม มรี ายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) มีนโยบายและแผนการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและผ่านการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน

2) มีนโยบายและแผนการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมผ่านการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน และมีคณะกรรมการหรอื ผ้รู บั ผิดชอบการดาเนินงาน

3) มีนโยบายและแผนการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมผ่านการเห็นชอบจาก
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคณะกรรมการหรือผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน
และดาเนนิ งานตามแผนท่ีกาหนด

ตวั ช้ีวดั ท่ี ๒ การเปน็ ผู้นาด้วยความมุ่งม่ันตัง้ ใจ ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ในการจัด
การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมอย่างตอ่ เน่อื ง มรี ายการพจิ ารณา ดังน้ี

1) ผบู้ รหิ ารมคี วามตระหนกั ถงึ ความสาคญั การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
2) ผู้บริหารมีการกากับดูแล สนับสนุนช่วยเหลือ และส่งเสริมให้ครูสามารถจัดการศึกษา

ทางไกลผ่านดาวเทียมได้
3) ผู้บริหารมีความมุ่งมั่น กากับดูแล สนับสนุนช่วยเหลือ และส่งเสริมให้ครูสามารถจัด

การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานท่ีกาหนดและเกิด
ประสิทธิผล

12

ตวั ชี้วดั ที่ ๓ การนิเทศ กากบั ตดิ ตามการจัดการเรยี นการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกล
ผา่ นดาวเทยี ม มีรายการพจิ ารณา ดงั น้ี

1) มีการนิเทศภายใน และกากับติดตามการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกล
ผา่ นดาวเทยี ม

2) มีการนิเทศภายใน และกากับติดตามการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทยี ม อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑ ครั้ง

3) มีการนเิ ทศภายใน และกากับตดิ ตามการจัดการเรียนการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม อย่างน้อยเดือนละ ๑ ครั้ง และมีการนาผลการนิเทศมาใช้ในการพัฒนา
อยา่ งต่อเนื่อง

ตัวชวี้ ดั ที่ ๔ การประกาศยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตคิ รแู ละบคุ ลากร มรี ายการพจิ ารณา ดงั น้ี
1) มีกิจกรรม/โครงการ การคัดเลือกครูและบุคลากรด้านการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทยี ม
2) มีการดาเนินการตามกิจกรรม/โครงการ การคัดเลือก ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติครูและ

บุคลากรดา้ นการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม
3) มีการดาเนินการตามกิจกรรม/โครงการการคัดเลือก ประกาศยกย่องเชิดชูเกียรติครูและ

บุคลากรด้านการจัดการศึกษา และมีการส่งเสริมพัฒนาอย่างต่อเนื่องให้เป็นต้นแบบในการ
พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

ตวั ชี้วดั ที่ ๕ การประเมนิ และรายงานผล มรี ายการพจิ ารณา ดงั นี้
1) มรี ะบบการประเมินผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม
2) มีการดาเนินการตามระบบการประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทียม อย่างน้อยปีละ ๑ ครัง้
3) มีการดาเนินการตามระบบการประเมินและรายงานผลการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ดาวเทียมอยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครงั้ และมีการนาขอ้ มลู ไปใช้ในการแกไ้ ขปรับปรงุ พฒั นา

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตัวช้วี ดั 13
ปฏิบัตไิ ด้ในข้อ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบัตไิ ดใ้ นขอ้ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ัตไิ ด้ในข้อ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐาน
คะแนน ๕ – ๗ คะแนน หมายถึง อย่ใู นระดบั ปรับปรุง
คะแนน ๘ - ๑๐ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดบั พอใช้
คะแนน ๑๑ - ๑๓ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดับ ดี
คะแนน ๑๔ – ๑๕ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดบั ดมี าก

มาตรฐานท่ี ๓ ด้านครผู ้สู อน

ประกอบดว้ ย ๘ ตวั ช้วี ดั ดังนี้

ตัวชว้ี ัดท่ี ๑ การจัดหอ้ งเรยี นมีความเหมาะสมและเอือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้
มีรายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) ครูต่ากว่าร้อยละ ๕๐ มกี ารปรบั ระบบภาพ เสยี ง จดั โตะ๊ เกา้ อนี้ ักเรยี น เหมาะสม หอ้ งเรยี น
สะอาด เป็นระเบยี บ มมี มุ ประสบการณ์ และบรรยากาศเอือ้ ต่อการเรียนรู้

2) ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มีการปรับระบบภาพ เสยี ง จดั โตะ๊ เกา้ อน้ี กั เรยี น เหมาะสม ห้องเรียน
สะอาด เป็นระเบียบ มีมมุ ประสบการณ์ และบรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้

3) ครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีการปรับระบบภาพ เสยี ง จัดโตะ๊ เก้าอ้ีนักเรยี น เหมาะสม ห้องเรียน
สะอาด เปน็ ระเบยี บ มมี มุ ประสบการณ์ และบรรยากาศเอือ้ ต่อการเรยี นรู้

ตวั ชี้วัดท่ี ๒ การเตรียมการสอนล่วงหน้าทสี่ อดคล้องกบั คมู่ อื ครูพระราชทานสอนทางไกล
ผา่ นดาวเทยี ม สาหรบั โรงเรยี นปลายทาง มีรายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) ครูต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ จัดเตรยี มการสอนไดต้ ามแผนเป็นประจา
2) ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ จัดเตรยี มการสอนไดต้ ามแผนเปน็ ประจา
3) ครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จดั เตรยี มการสอนไดต้ ามแผนเปน็ ประจา

ตัวชว้ี ดั ท่ี ๓ การมอบหมายงานใหน้ ักเรยี นเตรยี มพรอ้ มในการเรยี นคร้งั ต่อไป
มรี ายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ครูตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ มีการมอบหมายงานให้นักเรยี นเตรยี มพรอ้ มในการเรยี นครงั้ ต่อไป
2) ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารมอบหมายงานให้นักเรยี นเตรยี มพรอ้ มในการเรยี นครั้งตอ่ ไป
3) ครรู ้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มีการมอบหมายงานใหน้ กั เรียนเตรยี มพร้อมในการเรยี นคร้งั ต่อไป

ตวั ชีว้ ัดท่ี ๔ จดั การเรียนรู้ไปพรอ้ มกับครูโรงเรียนต้นทางและการเอาใจใส่กากบั ดูแลแนะนา
ให้นกั เรยี นปฏิบตั ิกิจกรรมการเรยี นร้ทู กุ คร้งั มีรายการพจิ าณา ดงั น้ี

1) ครูตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ จัดการเรียนรู้ไปพร้อมกับครูโรงเรียนต้นทางและการเอาใจใส่กากับ
ดูแล แนะนาใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรยี นรู้ทุกครัง้

2) ครูร้อยละ ๕๐ – ๗๙ จัดการเรียนรู้ไปพร้อมกับครูโรงเรียนต้นทางและการเอาใจใส่กากับ
ดแู ล แนะนาให้นักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมการเรียนร้ทู กุ ครัง้

3) ครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป จัดการเรียนรู้ไปพร้อมกับครูโรงเรียนต้นทางและการเอาใจใส่กากับ
ดูแล แนะนาให้นกั เรียนปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรยี นรทู้ ุกคร้ัง

14

ตวั ช้วี ัดท่ี ๕ การสรุปสาระสาคัญรว่ มกับนกั เรียนหลงั การจัดการเรยี นรสู้ ้ินสุดลงทุกครัง้
มรี ายการพจิ ารณา ดังน้ี

1) ครูต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ สรปุ สาระสาคญั ร่วมกับนักเรยี นหลงั การจดั การเรียนรูส้ น้ิ สุดลงทุกครงั้
2) ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ สรุปสาระสาคัญรว่ มกับนกั เรยี นหลงั การจัดการเรียนรู้ส้ินสุดลงทกุ คร้งั
3) ครรู ้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป สรปุ สาระสาคัญรว่ มกบั นักเรยี นหลงั การจดั การเรียนรส็ ิ้นสดุ ลงทุกคร้ัง

ตัวช้วี ัดท่ี ๖ การบันทึกผลหลังสอน หลังจากการจดั การเรยี นณสุ้ น้ิ สุดลงเป็นประจา
มีรายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ครตู ่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ บันทึกผลหลังสอน หลังจากการจัดการเรยี นรสู้ ้ินสดุ ลงเปน็ ประจา
2) ครูรอ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ บนั ทกึ ผลหลงั สอน หลังจากการจัดการเรยี นรูส้ ้ินสุดลงเปน็ ประจา
3) ครูรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป บนั ทึกผลหลงั สอน หลงั จากการจดั การเรยี นร้สู น้ิ สุดลงเปน็ ประจา

ตวั ชี้วัดท่ี ๗ การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามที่คู่มือครูพระราชทานกาหนดหรอื
ครูสรา้ งขึ้นเพื่อใหเ้ หมาะสมกับผูเ้ รียน มีรายการพิจารณา ดังนี้

1) ครตู า่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ มกี ารวดั และประเมินผลการเรียนรู้ตามทคี่ ูม่ ือครพู ระราชทานกาหนด
หรอื ครสู ร้างขึน้ เพื่อให้เหมาะสมกบั ผเู้ รยี น

2) ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามทค่ี ูม่ อื ครพู ระราชทานกาหนด
หรอื ครสู รา้ งขึ้นเพื่อใหเ้ หมาะสมกบั ผ้เู รยี น

3) ครูร้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามทคี่ มู่ ือครูพระราชทานกาหนด
หรอื ครสู รา้ งขน้ึ เพ่ือใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรยี น

ตวั ชี้วัดท่ี ๘ ครูจดั กิจกรรมสอนซ่อมเสรมิ นอกตารางออกอากาศเพือ่ ชว่ ยเหลือนักเรียนท่ี
ไมบ่ รรลุจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ หรือให้ความรู้เพ่มิ เติมแกน่ ักเรยี นเป็นประจา มรี ายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) ครูต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ มีการจดั กจิ กรรมสอนซอ่ มเสริมนอกตารางออกอากาศเพือ่ ช่วยเหลอื
นักเรยี นทีไ่ ม่บรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ หรอื ให้ความร้เู พม่ิ เติมแก่นกั เรียนเปน็ ประจา

2) ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารจดั กจิ กรรมสอนซ่อมเสรมิ นอกตารางออกอากาศเพือ่ ชว่ ยเหลอื
นักเรยี นที่ไม่บรรลจุ ดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ หรอื ให้ความรู้เพิ่มเติมแกน่ กั เรยี นเป็นประจา

3) ครูรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มีการจดั กจิ กรรมสอนซอ่ มเสริมนอกตารางออกอากาศเพื่อช่วยเหลอื
นักเรียนทไี่ ม่บรรลจุ ดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หรอื ใหค้ วามรเู้ พมิ่ เติมแกน่ กั เรียนเปน็ ประจา

15

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตัวชว้ี ัด
ปฏบิ ัติได้ในข้อ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั ไิ ด้ในข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏิบัตไิ ดใ้ นขอ้ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐาน
คะแนน ๘ - ๑๑ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดับ ปรบั ปรุง
คะแนน ๑๒ - ๑๕ คะแนน หมายถงึ อยู่ในระดับ พอใช้
คะแนน ๑๖ – ๑๙ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดี
คะแนน ๒๐ - ๒๔ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดบั ดีมาก

มาตรฐานที่ ๔ ด้านนักเรียน

ประกอบดว้ ย ๕ ตัวชี้วัด ดงั น้ี

ตัวช้ีวัดที่ ๑ นักเรยี นมีสว่ นร่วมในกระบวนการจดั การเรยี นรพู้ รอ้ มกับนักเรียนโรงเรียน
ตน้ ทาง มรี ายการพิจารณา ดังน้ี

1) นกั เรียนตา่ กวา่ ร้อยละ ๕๐ มสี ว่ นร่วมในกระบวนการจดั การเรยี นร้พู ร้อมกบั นกั เรียน
โรงเรยี นต้นทาง

2) นกั เรยี นรอ้ ยละ ๕๐-๗๙ มสี ว่ นร่วมในกระบวนการจดั การเรยี นร้พู รอ้ มกับนกั เรยี น
โรงเรยี นตน้ ทาง

3) นักเรียนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป มสี ว่ นรว่ มในกระบวนการจดั การเรยี นรู้พร้อมกบั นักเรียน
โรงเรยี นต้นทาง

ตัวชีว้ ัดท่ี ๒ นกั เรยี นมสี มรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู ร มรี ายการพจิ ารณา ดงั น้ี
1) นักเรยี นตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ มสี มรรถนะสาคัญตามหลกั สตู รในระดับดีขนึ้ ไป
2) นกั เรยี นรอ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มสี มรรถนะสาคัญตามหลักสตู รในระดบั ดีข้นึ ไป
3) นกั เรยี นร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มสี มรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รในระดบั ดีขน้ึ ไป

ตัวช้ีวดั ที่ ๓ นักเรยี นมีคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สูตร มีรายการพจิ ารณา ดงั นี้
1) นักเรยี นตา่ กวา่ ร้อยละ ๕๐ มคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรในระดบั ดขี ึ้นไป
2) นกั เรียนร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มคี ุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สูตรในระดับดีขึ้นไป
3) นักเรยี นร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป มคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รในระดับดขี น้ึ ไป

16

ตัวช้ีวัดที่ ๔ นกั เรียนมที ักษะการอา่ นคิดวเิ คราะหแ์ ละเขียน ตามหลักสูตรในระดับดขี ้นึ ไป
มีรายการพิจารณา ดงั นี้

1) นกั เรียนตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มที ักษะการอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นตามหลักสตู ร
ในระดบั ดขี ึ้นไป

2) นกั เรยี นร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มที กั ษะการอา่ นคิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น ตามหลักสตู ร
ในระดับดีข้นึ ไป

3) นักเรียนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป มที ักษะการอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ตามหลกั สูตร
ในระดบั ดขี ้นึ ไป

ตวั ชีว้ ัดที่ ๕ นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๖ มผี ลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติขน้ั พืน้ ฐาน (O-NET) สงู ขน้ึ มีรายการพิจารณา ดังนี้

1) ผลการทดสอบ O-NET เทา่ กบั หรอื สงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ
นอ้ ยกวา่ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

2) ผลการทดสอบ O-NET เทา่ กบั หรือสงู กวา่ คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ
๒ -๓ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้

3) ผลการทดสอบ O-NET เทา่ กบั หรอื สูงกวา่ คะแนนเฉลีย่ ระดับประเทศ
มากกว่า ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตัวชี้วดั
ปฏิบัตไิ ดใ้ นขอ้ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั ไิ ดใ้ นข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏิบตั ิได้ในข้อ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน
คะแนน ๕ – ๗ คะแนน หมายถงึ อยู่ในระดับ ปรบั ปรงุ
คะแนน ๘ - ๑๐ คะแนน หมายถงึ อยูใ่ นระดับ พอใช้
คะแนน ๑๑ - ๑๓ คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดบั ดี
คะแนน ๑๔ – ๑๕ คะแนน หมายถึง อยูใ่ นระดับ ดมี าก

17

เกณฑก์ ารพจิ ารณามาตรฐานสถานศกึ ษา

เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานสถานศึกษาในแต่ละด้าน ซึ่งประกอบด้วยด้านปัจจัยพ้ืนฐาน

ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ด้านครูผู้สอน และด้านนักเรียน ว่ามีมาตรฐานอยู่ในระดับใดนั้น มีการกาหนดค่า

คะแนน ดังน้ี

การดาเนนิ งานอยใู่ นระดับปรับปรงุ ได้ ๑ คะแนน

การดาเนนิ งานอยใู่ นระดับพอใช้ ได้ ๒ คะแนน

การดาเนนิ งานอยใู่ นระดับดี ได้ ๓ คะแนน

การดาเนินงานอยู่ในระดับดีมาก ได้ ๔ คะแนน

การสรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานสถานศกึ ษาการจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV)
คะแนนรวมทกุ ดา้ น ได้ ๔ – ๖ คะแนน หมายถงึ การดาเนนิ งานรวมทุกดา้ นอยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ
คะแนนรวมทุกดา้ น ได้ ๗ – ๙ คะแนน หมายถึง การดาเนนิ งานรวมทกุ ดา้ นอยู่ในระดบั พอใช้
คะแนนรวมทุกด้าน ได้ ๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถึง การดาเนนิ งานรวมทกุ ดา้ นอย่ใู นระดับ ดี
คะแนนรวมทกุ ด้าน ได้ ๑๓ – ๑๖ คะแนนน หมายถงึ การดาเนนิ งานรวมทุกดา้ นอยใู่ นระดบั ดมี าก

18

เคร่อื งมือการประเมิน

มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
สาหรบั สานกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา___________________________เขต______

ที่ มาตรฐาน ตวั ชี้วัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน

๑. ดา้ นนโยบายการ ๑. มกี ารกาหนด ๑. มีการกาหนดให้มีการพฒั นาการจัดการศึกษา 19

จัดการศกึ ษา นโยบายและแผนการ ทางไกลผ่านดาวเทียม ไว้ในวสิ ัยทศั น์/พนั ธกจิ /

ทางไกลผา่ น ปฏิบตั งิ าน การจดั การ แผนงาน/โครงการ

ดาวเทยี ม ศกึ ษาทางไกลผ่าน ๒. มกี ารกาหนดให้มกี ารพฒั นาการจดั การศกึ ษา

ดาวเทยี ม ทางไกลผ่านดาวเทียม ไว้ในวสิ ัยทศั น/์ พันธกจิ /

แผนงาน/โครงการและมีการนาไปสู่การปฏบิ ัติ

๓. มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจดั การศกึ ษา

ทางไกลผา่ นดาวเทียม ไวใ้ นวสิ ยั ทศั น/์ พนั ธกจิ /

แผนงานโครงการ มีการนาไปส่กู ารปฏิบตั ิและมีผล

การปฏิบตั ิชัดเจน

๒. ดา้ นการ ๑. มีคณะกรรมการ ๑. มกี ารขับเคลื่อนและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการ
ขบั เคลอ่ื นและ ขับเคลือ่ นและสร้าง จดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมระดับเขตพน้ื ท่ี
สรา้ งความ ความเขม้ แขง็ การศกึ ษา โดยไมม่ ีรูปแบบคณะกรรมการที่ชดั เจน
เขม้ แขง็ ๒. มคี ณะกรรมการขบั เคลอื่ นและสร้างความ
เข้มแขง็ ในการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา
๓. มีคณะกรรมการขบั เคลื่อนและสร้างความ
เข้มแข็ง ในการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม
ระดับเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ทป่ี ระกอบไปด้วยตวั แทน
ภาคส่วนท่ีหลากหลาย

๒. การจดั ระบบการ ๑. มกี ารจดั ระบบการสนบั สนนุ การจดั การศกึ ษา

สนบั สนุนการจัด ทางไกลผ่านดาวเทียม

การศกึ ษาทางไกลผ่าน ๒. มีการจดั ตัง้ ทมี งาน/คณะกรรมการเคลอื่ นที่เรว็

ดาวเทียม (Roving Team) เพือ่ สนับสนุนการจัดการศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทียม

๓. มกี ารจดั ตั้งทีมงาน/คณะกรรมการเคลอื่ นทเ่ี รว็

(Roving Team) เพื่อสนบั สนุนการจดั การศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทียม และมคี วามพร้อมในการ

ปฏบิ ัตงิ าน

ท่ี มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๓. การสรา้ งเครอื ข่าย ๑. มกี ารพัฒนาระบบการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

สนบั สนนุ การจัด โดยไมม่ ีการจดั ตัง้ เครอื ขา่ ยชดั เจน

การศึกษาทางไกลผา่ น ๒. มีการจัดตั้งเครอื ขา่ ยกลมุ่ โรงเรยี นท่ีใชร้ ะบบ

ดาวเทียม การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม

๓ เครือขา่ ยมคี วามร่วมมอื กับองคก์ รหนว่ ยงานอื่น

เพอ่ื ช่วยเหลือให้มปี ระสทิ ธภิ าพและต่อเน่ือง

๓. ด้านการนิเทศ ๑. การกาหนดแผน ๑. มีแผนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการ

ติดตาม และ การนิเทศ ติดตาม และ จัดการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม

ประเมนิ ผล ประเมินผลการจดั ๒. มแี ผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผล

การศึกษาทางไกล การจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและมี

ผา่ นดาวเทียม การดาเนนิ การตามแผน

๓. มแี ผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั

การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม มีการดาเนนิ

การตามแผนอย่างตอ่ เนอื่ งและสมา่ เสมอ

๒. การประเมินผลและ ๑. มีการประเมินผลการจดั การศึกษาทางไกลผา่ น

ปรบั ปรงุ ดาวเทยี ม

๒. มีการประเมนิ และรายงานผลการจดั การศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทียม

๓. มกี ารประเมนิ และรายงานผลการจัดการศึกษา

ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม และใหข้ อ้ เสนอแนะเพือ่

การปรบั ปรงุ /พฒั นา

๓. การคดั เลอื กผลการ ๑. มกี จิ กรรมคดั เลอื กผลการปฏบิ ตั ทิ ่ีดี
ปฏบิ ัตทิ ่ดี ี (Best Prac- ๒. มกี จิ กรรมคดั เลือกผลการปฏิบตั ทิ ีด่ ี และมอบ
tices) รางวัล/ยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รตโิ รงเรยี น ครแู ละบคุ ลากร

ดา้ นการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ปี
การศึกษาละ ๑ ครัง้
๓. มกี ิจกรรมคดั เลือกผลการปฏิบตั ทิ ี่ดี และมอบ
รางวลั /ยกย่องเชิดชูเกยี รติโรงเรยี น ครูและบคุ ลากร
ดา้ นการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ปี
การศกึ ษาละ ๑ ครั้ง และมีการเผยแพรส่ สู่ าธารณชน

รวมคะแนน

20

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนมาตรฐานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา
ปฏิบัติไดใ้ นขอ้ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั ิไดใ้ นข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นข้อ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานมาตรฐานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
คะแนน ๗ - ๑๐ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดบั ปรับปรุง
คะแนน ๑๑ - ๑๔ คะแนน หมายถงึ อย่ใู นระดับ พอใช้
คะแนน ๑๕ -๑๘ คะแนน หมายถงึ อยู่ในระดับ ดี
คะแนน ๑๙ - ๒๑ คะแนน หมายถงึ อยู่ในระดับ ดีมาก

สรุปผลการประเมินของ สพป.__________________________________________เขต_____

อยใู่ นระดับมาตรฐาน ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดมี าก

21

เครอื่ งมือการประเมนิ

มาตรฐานและตวั ชว้ี ดั การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาดว้ ยเทคโนโลยกี ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
สาหรับสถานศกึ ษา/โรงเรียน___________________________สพป.________________เขต____

ท่ี มาตรฐาน ตวั ชี้วดั เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน

๑ ดา้ นปจั จัย ๑. ความพร้อมของ ๑. มรี ะบบไฟฟา้ แตไ่ มส่ ามารถใช้งานใน
พ้นื ฐานของ ระบบไฟฟา้ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
สถานศกึ ษา ๒. มีระบบไฟฟ้า แตไ่ มเ่ พยี งพอในการใช้
งานการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV)
สาหรับระยะเวลาการออกอากาศของ
โรงเรยี นตน้ ทาง
๓. มรี ะบบไฟฟ้าเพยี งพอในการใช้งาน
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
สาหรบั ระยะเวลาการออกอากาศของ
โรงเรยี นตน้ ทาง

๒. ความพร้อมดา้ น ๑. มอี ปุ กรณก์ ารรับสญั ญาณการศกึ ษา
อุปกรณ์รบั สญั ญาณ ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ครบทุก
การศกึ ษาทางไกล ห้องเรยี นแตไ่ มส่ ามารถใชง้ านได้
๒. มอี ปุ กรณก์ ารรับสญั ญาณการศกึ ษา
ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ใชง้ านได้ไม่
ครบทุกห้องเรยี น
๓. มอี ุปกรณ์การรับสญั ญาณการศกึ ษา
ทางไกลผา่ นดาวเทียม (DLTV) ใช้งานได้
ครบทกุ ห้องเรียน

๓. ความพร้อมด้าน ๑. มีระบบอนิ เทอรเ์ นต็ แตไ่ ม่สามารถใชใ้ น
ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ ที่ การจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม
รองรบั การจดั (DLTV)
การศึกษาทางไกล ๒. มรี ะบบอนิ เทอรเ์ นต็ แตไ่ มม่ คี วามเสถียร
ผ่านดาวเทยี ม ๓. มีระบบอนิ เทอร์เนต็ และมคี วามเสถียร

22

ท่ี มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๔. ความพร้อมของเคร่ืองรับ ๑. มีเครอื่ งรับโทรทัศนท์ สี่ ามารถใชง้ านได้
โทรทศั น์ที่สามารถใช้งานได้ อยา่ งสมบรู ณ์ คมชัดท้งั ภาพและเสยี ง ภายใน
อยา่ งสมบรู ณ์ คมชัดท้งั ภาพ ห้องเรยี น จานวนนอ้ ยกวา่ กึ่งหนง่ึ ของ
และเสยี ง ภายในหอ้ งเรียน หอ้ งเรียน

๒. มีเคร่ืองรบั โทรทศั นท์ ส่ี ามารถใชง้ านได้
อย่างสมบรู ณ์ คมชัดทั้งภาพและเสยี ง ภายใน
ห้องเรียน จานวนกง่ึ หนึ่งขึ้นไปแตไ่ มค่ รบทุก
ห้องเรียน
๓. มเี ครอ่ื งรับโทรทัศน์ทสี่ ามารถใชง้ านได้
อย่างสมบรู ณ์ คมชดั ทั้งภาพและเสยี ง ภายใน
หอ้ งเรยี น ครบทกุ ห้องเรยี น

๕. ความพร้อมของคู่มือครู ๑. มีคู่มือครูพระราชทานไมเ่ ปน็ ปจั จบุ ัน
พระราชทานประกอบการ ๒. มีคู่มอื ครูพระราชทานเปน็ ปัจจบุ ัน แตไ่ ม่
จดั การเรียนการสอนด้วย ครบทุกชน้ั เรยี น
ระบบการศกึ ษาทางไกล ๓. มคี ู่มือครพู ระราชทานเปน็ ปจั จบุ ันครบทุก
ผ่านดาวเทียม (DLTV) ใน ช้นั เรยี น
ภาคเรยี น/ปีการศึกษา
ปจั จบุ นั ๑. มคี รแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาท่ี
รับผิดชอบระบบการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน
๖. ความพรอ้ มด้านบคุ ลากร ดาวเทยี ม (DLTV) แต่ไม่ได้มีการมอบหมาย/
ดา้ นเทคนคิ เกี่ยวกับการ แตง่ ตงั้ เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร
ติดตัง้ ระบบและการ ๒. มคี รูและบคุ ลากรทางการศึกษาที่
บารุงรักษา รับผิดชอบระบบการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่าน
ดาวเทยี ม (DLTV) โดยมกี ารมอบหมาย/
แต่งต้ังเป็นลายลกั ษณ์อักษร แต่ไม่สามารถ
ติดต้งั /ซ่อมบารงุ รกั ษาระบบได้
๓. มคี รูและบคุ ลากรทางการศึกษาท่ี
รับผดิ ชอบระบบ การจดั การศึกษาการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) โดยมีการ
มอบหมาย/แตง่ ต้งั เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร และ
สามารถติดตง้ั /ซอ่ มบารุงรักษาระบบได้

23

ท่ี มาตรฐาน ตัวช้วี ดั เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน

๗. จดั ให้มเี ครือขา่ ยการ ๑. มีเครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
พัฒนาคุณภาพการจดั ตามที่สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษากาหนด
การศกึ ษาทางไกลผา่ น ๒. มเี ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศกึ ษา
ดาวเทยี ม (DLTV) ตามที่สานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษากาหนด
และมเี ครอื ข่ายดา้ นเทคนคิ การติดต้งั
ซ่อมแซมบารงุ รกั ษา แต่ไม่ได้ทาขอ้ ตกลงความ
ร่วมมือกบั เครอื ข่าย
๓. มีเครอื ข่ายพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษา
ตามทีส่ านกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษากาหนด
และมเี ครือขา่ ยด้านเทคนิคในการติดตัง้
ซอ่ มแซมบารงุ รกั ษา และมกี ารทาข้อตกลง
ความร่วมมอื กับเครอื ข่าย

รวมคะแนน

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนดา้ นปจั จยั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา
ปฏบิ ตั ไิ ด้ในขอ้ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏิบตั ิได้ในขอ้ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ัติได้ในขอ้ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานมาตรฐาน
คะแนน ๗ - ๑๐ คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดับ ปรบั ปรุง
คะแนน ๑๑ - ๑๔ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ พอใช้
คะแนน ๑๕ -๑๘ คะแนน หมายถึง อย่ใู นระดับ ดี
คะแนน ๑๙ - ๒๑ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดีมาก

ผลการประเมิน อยู่ในระดับมาตรฐาน ปรบั ปรุง พอใช้ ดี ดีมาก

24

ท่ี มาตรฐาน ตัวชี้วดั เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน
๑. การกาหนดนโยบาย
๒ ด้านผู้บรหิ าร ด้านการส่งเสริมการจดั ๑. มีนโยบายและแผนการจดั การศกึ ษาทางไกล
สถานศกึ ษา การศกึ ษาทางไกลผา่ น ผา่ นดาวเทยี มและผ่านการเห็นชอบจาก
ดาวเทยี มอยา่ งเปน็ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
รปู ธรรม ๒. มีนโยบายและแผนการจัดการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทยี มผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการ
๒. การเป็นผ้นู าดว้ ยความ สถานศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน และมีคณะกรรมการหรอื
มุ่งม่ันตั้งใจ ตระหนกั และ ผรู้ บั ผิดชอบการดาเนนิ งาน
เหน็ ความสาคญั ในการจัด ๓. มีนโยบายและแผนการจดั การศึกษาทางไกล
การศกึ ษาทางไกลผ่าน ผ่านดาวเทยี มผา่ นการเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ดาวเทยี มอย่างตอ่ เน่อื ง สถานศึกษาขั้นพน้ื ฐาน มีคณะกรรมการหรือ
ผูร้ ับผดิ ชอบการดาเนนิ งาน และดาเนินงานตาม
แผนท่ีกาหนด

๑. ผ้บู ริหารมีความตระหนักถงึ ความสาคญั การจดั
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
๒. ผูบ้ รหิ ารมีการกากับดูแล สนับสนุนช่วยเหลอื
และส่งเสรมิ ใหค้ รสู ามารถจัดการศกึ ษาทางไกลผ่าน
ดาวเทยี มได้
๓. ผู้บรหิ ารมคี วามมุ่งม่นั กากับดแู ล สนบั สนนุ
ชว่ ยเหลือ และสง่ เสริมใหค้ รสู ามารถจัดการศกึ ษา
ทางไกลผ่านดาวเทยี มไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพตาม
มาตรฐานทกี่ าหนดและเกดิ ประสทิ ธผิ ล

๓. การนเิ ทศ กากบั ๑. มีการนเิ ทศภายใน และกากับตดิ ตามการจดั การ
ตดิ ตามการจดั การเรยี น เรียนการสอนดว้ ยระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน
การสอนดว้ ยระบบ ดาวเทยี ม
การศึกษาทางไกลผา่ น ๒. มีการนเิ ทศภายใน และกากบั ตดิ ตามการจัดการ
ดาวเทียม เรียนการสอนดว้ ยระบบการศกึ ษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม อย่างน้อยเดอื นละ ๑ ครัง้
๓. มีการนเิ ทศภายใน และกากบั ตดิ ตามการจดั การ
เรยี นการสอนด้วยระบบการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑ ครัง้ และมกี าร
นาผลการนเิ ทศมาใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

25

ที่ มาตรฐาน ตัวชีว้ ดั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๔. การประกาศ ๑. มกี จิ กรรม/โครงการ การคดั เลอื กครูและบุคลากร

ยกยอ่ งเชดิ ชู ดา้ นการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม

เกียรติครูและ ๒. มกี ารดาเนินการตามกิจกรรม/โครงการ

บุคลากร การคัดเลอื ก ประกาศยกยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติครูและ

บุคลากรดา้ นการจดั การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม

๓. มีการดาเนินการตามกจิ กรรม/โครงการการ

คัดเลือก ประกาศยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติครูและ

บคุ ลากรดา้ นการจดั การศกึ ษา และมกี ารส่งเสริม

พฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ งให้เป็นต้นแบบในการพฒั นา

คุณภาพการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม

๕. การประเมนิ ๑. มีระบบการประเมินผลการจดั การศึกษาทางไกล
และรายงานผล ผ่านดาวเทียม

๒. มกี ารดาเนินการตามระบบการประเมินและ
รายงานผลการจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม
อย่างนอ้ ยปีละ ๑ ครั้ง
๓. มีการดาเนนิ การตามระบบการประเมนิ และ
รายงานผลการจดั การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม
อย่างนอ้ ยปีละ ๑ ครัง้ และมีการนาข้อมูลไปใชใ้ น
การแก้ไขปรบั ปรงุ พฒั นา

รวมคะแนน

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนด้านปจั จยั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา
ปฏบิ ตั ิไดใ้ นข้อ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ัติได้ในขอ้ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นขอ้ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑ์การประเมินมาตรฐานมาตรฐาน
คะแนน 5 - 7 คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดับ ปรับปรงุ
คะแนน 8 - ๑0 คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ พอใช้
คะแนน ๑1 -๑3 คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดบั ดี
คะแนน ๑4 - ๑5 คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ ดมี าก

ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาตรฐาน ปรบั ปรงุ พอใช้ ดี ดีมาก

26

ที่ มาตรฐาน ตวั ชี้วัด เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน
๓ ด้านครูผู้สอน
๑. การจดั หอ้ งเรียน ๑. ครูตา่ กวา่ ร้อยละ ๕๐ มกี ารปรบั ระบบภาพ
มคี วามเหมาะสม เสียง จดั โต๊ะเกา้ อนี้ กั เรียนเหมาะสม ห้องเรยี น
และเออื้ ต่อการ สะอาด เป็นระเบยี บ มีมมุ ประสบการณ์ และ
จัดการเรียนรู้ บรรยากาศเอื้อตอ่ การเรียนรู้
๒. ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารปรบั ระบบภาพ
เสยี ง จัดโตะ๊ เก้าอนี้ กั เรยี นเหมาะสม หอ้ งเรยี น
สะอาดเปน็ ระเบยี บ มมี มุ ประสบการณ์ และ
บรรยากาศเอื้อต่อการเรียนรู้
๓. ครรู ้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มกี ารปรบั ระบบภาพ
เสยี ง จดั โต๊ะเก้าอ้นี กั เรียนเหมาะสม หอ้ งเรยี น
สะอาด เปน็ ระเบยี บ มีมมุ ประสบการณ์ และ
บรรยากาศเออ้ื ต่อการเรียนรู้

๒. การเตรียมการ ๑. ครูตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ จัดเตรยี มการสอนได้

สอนลว่ งหน้าที่ ตามแผนเป็นประจา

สอดคล้องกับคมู่ อื ครู ๒. ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ จดั เตรยี มการสอนได้

พระราชทานสอน ตามแผนเปน็ ประจา

ทางไกลผ่าน ๓. ครรู ้อยละ ๘๐ ขนึ้ ไป จัดเตรยี มการสอนได้

ดาวเทยี ม สาหรับ ตามแผนเปน็ ประจา

โรงเรยี นปลายทาง

๓. การมอบหมาย ๑. ครตู า่ กวา่ ร้อยละ ๕๐ มีการมอบหมายงาน
งานให้นกั เรียน ใหน้ ักเรียนเตรียมพรอ้ มในการเรยี นครั้งตอ่ ไป
เตรยี มพร้อมในการ ๒. ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารมอบหมายงาน
เรียนครั้งต่อไป ให้นกั เรยี นเตรียมพรอ้ มในการเรียนครงั้ ต่อไป
๓. ครรู อ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป มกี ารมอบหมายงาน
ใหน้ กั เรยี นเตรียมพร้อมในการเรยี นครงั้ ตอ่ ไป

27

ท่ี มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๔. จัดการเรยี นรไู้ ป ๑. ครตู า่ กว่าร้อยละ ๕๐ จัดการเรยี นรไู้ ป
พรอ้ มกบั ครูโรงเรยี น พร้อมกบั ครูโรงเรยี นตน้ ทางและการเอาใจใส่
ต้นทางและการเอา กากับดแู ล แนะนาให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
ใจใสก่ ากบั ดูแล การเรยี นร้ทู ุกครั้ง
แนะนาใหน้ กั เรยี น ๒. ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ จดั การเรยี นรไู้ ป
ปฏบิ ัติกจิ กรรมการ พร้อมกับครูโรงเรยี นต้นทางและการเอาใจใส่
เรยี นรทู้ ุกคร้งั กากับดูแล แนะนาให้นกั เรียนปฏบิ ัติกิจกรรม
การเรยี นรู้ทกุ ครงั้
๓. ครรู อ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป จัดการเรยี นร้ไู ป
พรอ้ มกบั ครูโรงเรยี นต้นทางและการเอาใจใส่
กากบั ดแู ล แนะนาใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
การเรยี นรูท้ ุกครัง้

๕. การสรุป ๑. ครูตา่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ สรปุ สาระสาคญั
สาระสาคญั ร่วมกบั ร่วมกับนกั เรยี นหลังการจัดการเรยี นการสอน
นักเรียนหลงั การ สน้ิ สุดลงทุกครั้ง
จัดการเรยี นการสอน ๒. ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ สรุปสาระสาคญั
สิน้ สดุ ลงทุกครงั้ ร่วมกับนักเรยี นหลังการจดั การเรยี นการสอน
สนิ้ สดุ ลงทุกครง้ั
๓. ครรู อ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป สรุปสาระสาคญั
ร่วมกับนกั เรยี นหลังการจดั การเรยี นการสอน
สิน้ สดุ ลงทุกครั้ง

๖. การบันทกึ ผลหลงั ๑. ครตู า่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ บนั ทกึ ผลหลังสอน
สอน หลงั จากการ หลงั จากการจดั การเรียนการสอนสิน้ สุดลง
จดั การเรยี นการสอน เปน็ ประจา
สนิ้ สดุ ลงเปน็ ประจา ๒. ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ บันทกึ ผลหลังสอน

หลังจากการจดั การเรียนการสอนสิ้นสุดลง
เป็นประจา
๓. ครรู ้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป บนั ทึกผลหลงั สอน
หลงั จากการจดั การเรยี นการสอนส้นิ สดุ ลง
เปน็ ประจา

28

ท่ี มาตรฐาน ตัวช้ีวัด เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๗. การวัดและ ๑. ครตู า่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ มกี ารวัดและ
ประเมินผลการ ประเมนิ ผลการเรียนรูต้ ามที่คมู่ ือครู
เรียนรู้ ตามทค่ี ูม่ ือครู พระราชทานกาหนดหรือครูสร้างขน้ึ เพอื่
พระราชทานกาหนด ใหเ้ หมาะสมกับผูเ้ รยี น
หรอื ครสู ร้างข้ึน ๒. ครรู อ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มีการวดั และ
เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ประเมินผลการเรียนร้ตู ามทค่ี มู่ อื ครู
ผเู้ รยี น พระราชทานกาหนดหรือครสู ร้างขึน้ เพ่อื
ใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รยี น
๓. ครรู ้อยละ ๘๐ ข้ึนไป มกี ารวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรตู้ ามท่ีคมู่ อื ครู
พระราชทานกาหนดหรอื ครสู ร้างขนึ้ เพ่อื
ให้เหมาะสมกับผ้เู รยี น

๘. ครูจดั กจิ กรรม ๑. ครตู า่ กว่ารอ้ ยละ ๕๐ มีการจัดกิจกรรม
สอนซ่อมเสรมิ นอก สอนซอ่ มเสริมนอกตารางออกอากาศเพอ่ื
ตารางออกอากาศ ช่วยเหลือนกั เรยี นที่ไม่บรรลจุ ดุ ประสงค์
เพ่ือช่วยเหลอื การเรยี นรู้ หรือให้ความรเู้ พิม่ เตมิ แก่นกั เรียน
นักเรียนทไ่ี ม่บรรลุ เปน็ ประจา
จดุ ประสงค์การ ๒. ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารจดั กจิ กรรม
เรียนรู้ หรือให้ สอนซอ่ มเสรมิ นอกตารางออกอากาศเพอ่ื
ความรเู้ พม่ิ เตมิ แก่ ช่วยเหลือนกั เรยี นท่ีไม่บรรลุจุดประสงค์
นักเรยี นเป็นประจา การเรยี นรู้ หรอื ให้ความรเู้ พมิ่ เตมิ แก่นักเรียน
เป็นประจา
๓. ครรู ้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มกี ารจัดกจิ กรรม
สอนซ่อมเสรมิ นอกตารางออกอากาศเพื่อ
ชว่ ยเหลือนกั เรยี นที่ไม่บรรลจุ ุดประสงค์
การเรยี นรู้ หรือใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ แกน่ ักเรยี น
เปน็ ประจา

รวมคะแนน

29

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนดา้ นปจั จยั พ้ืนฐานของสถานศกึ ษา ดี ดมี าก
ปฏิบัตไิ ด้ในขอ้ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ัติได้ในข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏิบัตไิ ดใ้ นขอ้ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐานมาตรฐาน
คะแนน ๘ - ๑๑ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง
คะแนน ๑๒ - ๑๕ คะแนน หมายถึง อยู่ในระดับ พอใช้
คะแนน ๑๖ -๑๙ คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดับ ดี
คะแนน ๒๐ - ๒๔ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดมี าก

ผลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาตรฐาน ปรับปรุง พอใช้

30

ที่ มาตรฐาน ตวั ชี้วัด เกณฑ์การพจิ ารณา คะแนน

๔ ด้านนกั เรยี น ๑. นกั เรียนมีสว่ นรว่ มใน ๑. นกั เรียนตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มีสว่ นรว่ มใน 31

กระบวนการจดั การ กระบวนการจดั การเรียนรู้พร้อมกบั นกั เรียน

เรียนรู้พรอ้ มกับนักเรยี น โรงเรยี นต้นทาง

โรงเรยี นต้นทาง ๒. นกั เรยี นร้อยละ ๕๐-๗๙ มีส่วนรว่ มใน

กระบวนการจดั การเรยี นรู้พรอ้ มกบั นกั เรียน

โรงเรยี นตน้ ทาง

๓. นกั เรยี นร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มสี ว่ นร่วมใน

กระบวนการจดั การเรยี นรู้พรอ้ มกบั นักเรียน

โรงเรยี นต้นทาง

๒. นักเรยี นมีสมรรถนะ ๑. นักเรยี นต่ากวา่ ร้อยละ ๕๐ มีสมรรถนะ
สาคัญตามหลกั สตู ร สาคัญตามหลกั สตู รในระดบั ดีข้นึ ไป
๒. นักเรยี นรอ้ ยละ ๕๐ – ๗๙ มสี มรรถนะ
สาคัญตามหลักสตู รในระดับดขี น้ึ ไป
๓ .นกั เรียนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป มสี มรรถนะ
สาคญั ตามหลกั สตู รในระดับดีข้นึ ไป

๓. นกั เรียนมี ๑. นกั เรียนต่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มคี ุณลกั ษณะ
คุณลักษณะอนั พึง อันพึงประสงค์ตามหลกั สตู รในระดบั ดีขน้ึ ไป
ประสงคต์ ามหลกั สตู ร ๒. นกั เรยี นร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มคี ณุ ลกั ษณะ
อันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รในระดับดีข้ึนไป
๓. นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป มคี ณุ ลักษณะ
อนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรในระดบั ดีขนึ้ ไป

๔. นักเรียนมที ักษะการ ๑. นกั เรยี นตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ มที กั ษะ
อา่ นคดิ วิเคราะห์และ การอา่ นคิดวิเคราะห์และเขยี นตามหลกั สตู ร
เขยี น ตามหลักสตู รใน ในระดบั ดีขนึ้ ไป
ระดบั ดีขน้ึ ไป ๒. นกั เรียนร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มที ักษะ
การอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ตามหลกั สตู ร
ในระดบั ดขี นึ้ ไป
๓. นักเรียนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป มที กั ษะ
การอา่ นคดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น ตามหลักสูตร
ในระดับดขี ึ้น

ท่ี มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๕. นักเรยี นชัน้ ๑. ผลการทดสอบ O-NET เท่ากับหรือสูงกวา่

ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ มีผล คะแนนเฉลย่ี ระดับประเทศ น้อยกวา่ ๒ กลมุ่

การทดสอบทาง สาระการเรียนรู้

การศกึ ษาระดบั ชาติขน้ั ๒). ผลการทดสอบ O-NET เทา่ กบั หรอื สงู กว่า

พน้ื ฐาน (O-NET) สูงขน้ึ คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ ๒ -๓ กลุ่มสาระ

การเรยี นรู้

๓). ผลการทดสอบ O-NET เท่ากบั หรือสูงกว่า

คะแนนเฉลยี่ ระดบั ประเทศ มากกว่า ๓ กล่มุ

สาระการเรยี นรู้

รวมคะแนน

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนด้านปัจจยั พนื้ ฐานของสถานศึกษา
ปฏิบัตไิ ด้ในข้อ ๑ ได้ ๑ คะแนน
ปฏบิ ตั ไิ ด้ในข้อ ๒ ได้ ๒ คะแนน
ปฏิบัติไดใ้ นขอ้ ๓ ได้ ๓ คะแนน

เกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานมาตรฐาน
คะแนน ๕ - ๗ คะแนน หมายถึง อยใู่ นระดับ ปรับปรงุ
คะแนน ๘ - ๑๐ คะแนน หมายถงึ อยูใ่ นระดับ พอใช้
คะแนน ๑๑ - ๑๓ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดี
คะแนน ๑๔ - ๑๕ คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดีมาก

ผลการประเมิน อย่ใู นระดบั มาตรฐาน ปรับปรุง พอใช้ ดี ดมี าก

32

๑. เกณฑก์ ารพิจารณามาตรฐานสถานศึกษา

เกณฑ์การพิจารณามาตรฐานสถานศึกษาในแต่ละด้าน ซึ่งประกอบด้วยด้านปัจจัยพื้นฐาน

ด้านผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ด้านครูผู้สอน และด้านนักเรียน ว่ามีมาตรฐานอยู่ในระดับใดน้ัน มีการกาหนดค่า

คะแนน ดงั นี้

การดาเนนิ งานอยู่ในระดับปรบั ปรงุ ได้ ๑ คะแนน

การดาเนินงานอยู่ในระดับพอใช้ ได้ ๒ คะแนน

การดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั ดี ได้ ๓ คะแนน

การดาเนินงานอย่ใู นระดบั ดมี าก ได้ ๔ คะแนน

๒. การสรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานสถานศกึ ษาการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)
คะแนนรวมทุกดา้ น ได้ ๔ – ๖ คะแนน หมายถึง การดาเนนิ งานรวมทกุ ดา้ นอยู่ในระดับ ปรบั ปรุง
คะแนนรวมทุกดา้ น ได้ ๗ – ๙ คะแนน หมายถึง การดาเนนิ งานรวมทุกดา้ นอยูใ่ นระดบั พอใช้
คะแนนรวมทุกดา้ น ได้ ๑๐ – ๑๒ คะแนน หมายถงึ การดาเนินงานรวมทกุ ด้านอยูใ่ นระดบั ดี
คะแนนรวมทกุ ด้าน ได้ ๑๓ – ๑๖ คะแนน หมายถงึ การดาเนินงานรวมทุกดา้ นอยู่ในระดบั ดมี าก

สรปุ ผลการประเมนิ ของสถานศึกษา/โรงเรยี น_____________________สพป._____________เขต____

ผลการประเมิน อยู่ในระดับมาตรฐาน ปรับปรงุ พอใช้ ดี ดมี าก

33

มาตรฐานการจดั การศึกษาทางไกล
ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ DLIT

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

34

มาตรฐานการจดั การศึกษาทางไกล
ผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ DLIT

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

แบง่ ออกเป็น ๒ มาตรฐาน ได้แก่
๑. มาตรฐานระดับสานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
๒. มาตรฐานระดบั สถานศึกษา
๑. มาตรฐานระดับสานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา
แบง่ ออกเป็น ๓ ด้าน ไดแ้ ก่
๑. ดา้ นนโยบายการจัดการศึกษาดว้ ย DLIT
๒. ด้านการขับเคลื่อนและสร้างความเขม้ แข็ง
๓. ด้านการนเิ ทศตดิ ตาม และประเมนิ ผล

35

๑. มาตรฐานระดับสานกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๑ ด้านนโยบายการจัดการศึกษาด้วย DLIT

ประกอบด้วย ๑ ตวั ช้ีวดั ดังน้ี

ตวั ชี้วดั ท่ี ๑ มกี ารกาหนดนโยบายและแผนการปฏบิ ตั ิงานการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
มีเกณฑ์การพิจารณา ดงั น้ี

1) ไม่มีการกาหนดใหม้ กี ารการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT ไว้ในวิสยั ทัศน์/พันธกิจ/แผนงาน/
โครงการ

2) มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษาด้วย DLIT ไว้ในวิสัยทัศน์/พันธกิจ/
แผนงาน/โครงการและมีการนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ

3) มีการกาหนดให้มีการพัฒนาการจัดการศึกษาด้วย DLIT ไว้ในวิสัยทัศน์/พันธกิจ/
แผนงานโครงการและมกี ารดาเนินงานตามแผนงานโครงการ/แผนงานโครงการ

4) มีการนาไปสูก่ ารปฏิบัตแิ ละมีผลการปฏิบัตชิ ัดเจน

มาตรฐานท่ี ๒ ด้านการขับเคล่อื นและสร้างความเขม้ แข็ง

ประกอบดว้ ย ๓ ตวั ชีว้ ัด ดังน้ี

ตัวชีว้ ัดท่ี ๑ มีคณะกรรมการขับเคลือ่ นและสรา้ งความเขม้ แข็ง มเี กณฑก์ ารพิจารณา
ดงั นี้

1) ไม่มกี ารขบั เคลือ่ นและสร้างความเขม้ แขง็ ในการจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT
ระดบั เขตพ้นื ที่การศกึ ษา

2) มกี ารขบั เคลื่อนและสร้างความเขม้ แข็ง ในการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
ระดบั เขตพื้นท่ีการศกึ ษา โดยไม่มรี ูปแบบคณะกรรมการทีช่ ดั เจน

3) มคี ณะกรรมการขับเคลอื่ นและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการจดั การศึกษาดว้ ย DLIT
ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศึกษา

4) มีคณะกรรมการขับเคลอ่ื นและสรา้ งความเขม้ แข็ง ในการจดั การศึกษาด้วย DLIT
ระดบั เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา ที่ประกอบไปด้วยตวั แทนภาคสว่ นทห่ี ลากหลาย

36

ตวั ชว้ี ดั ที่ ๒ การจดั ระบบการสนบั สนนุ การการจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT
มเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั น้ี

1) ไม่มีการจดั ระบบการสนับสนนุ การจดั การศึกษาดว้ ย DLIT
2) มกี ารจัดระบบการสนับสนนุ การจดั การศึกษาด้วย DLIT
3) มกี ารจดั ตง้ั ทีมงาน/คณะกรรมการเคลอ่ื นทเ่ี ร็ว (Roving Team) เพ่อื สนบั สนนุ การจดั

การศึกษาดว้ ย DLIT
4) มกี ารจดั ต้ังทีมงาน/คณะกรรมการเคล่ือนทเี่ รว็ (Roving Team) เพ่ือสนับสนุนการจดั

การศกึ ษาด้วย DLIT และมคี วามพร้อมในการปฏิบัติงาน

ตวั ชีว้ ัดที่ ๓ การสรา้ งเครอื ขา่ ยสนับสนุนการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
มเี กณฑ์การพิจารณา ดังน้ี

1) ไม่มกี ารพัฒนาระบบการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
2) มกี ารพฒั นาระบบการจดั การศึกษาด้วย DLIT โดยไมม่ ีการจัดตง้ั เครอื ขา่ ยทช่ี ัดเจน
3) มกี ารจดั ต้งั เครือขา่ ยกลุ่มโรงเรียนท่ใี ช้ระบบการจัดการศึกษาด้วย DLIT ท่ชี ัดเจน
4) เครือข่ายมคี วามร่วมมือกบั องค์กรหน่วยงานอ่นื เพอ่ื ชว่ ยเหลอื ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและตอ่ เนอ่ื ง

มาตรฐานท่ี ๓ ด้านการนเิ ทศติดตาม และประเมนิ ผล

ประกอบดว้ ย ๓ ตัวช้วี ดั ดังน้ี

ตัวชีว้ ดั ที่ ๑ การกาหนดแผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาด้วย DLIT
มีเกณฑ์การพิจารณา ดงั น้ี

1) ไมม่ แี ผนการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาด้วย DLIT
2) มแี ผนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
3) มแี ผนการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT และ

มกี ารดาเนินการตามแผน
4) มแี ผนการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษาด้วย DLIT

มีการดาเนนิ การตามแผนอย่างต่อเนอ่ื งและสมา่ เสมอ

ตัวชว้ี ัดท่ี ๒ การประเมินผลและปรับปรงุ มเี กณฑ์การพจิ ารณา ดงั น้ี
1) ไมม่ ีการประเมินผลการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
2) มกี ารประเมินผลการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
3) มกี ารประเมนิ และรายงานผลการจัดการศกึ ษาด้วย DLIT
4) มีการประเมินและรายงานผลการจดั การศึกษาด้วย DLIT และให้ขอ้ เสนอแนะ

เพอ่ื การปรับปรงุ /พัฒนา

37

ตัวช้วี ดั ท่ี ๓ การคัดเลือกผลการปฏิบัตทิ ด่ี ี (Best Practices) มีเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดังนี้
1) ไม่มกี จิ กรรมคดั เลอื กผลการปฏบิ ัติที่ดี
2) มกี จิ กรรมคัดเลอื กผลการปฏบิ ตั ิที่ดี
3) มีกจิ กรรมคดั เลอื กผลการปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี และมอบรางวัล/ยกยอ่ งเชดิ ชูเกียรตโิ รงเรยี น ครูและ

บคุ ลากรด้านการจดั การศึกษาดว้ ย DLIT
4) มีกจิ กรรมคดั เลอื กผลการปฏบิ ัตทิ ด่ี ี และมอบรางวัล/ยกย่องเชดิ ชูเกยี รตโิ รงเรียน ครูและ

บุคลากรดา้ นการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT และมีการเผยแพรส่ สู่ าธารณชน

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนน
ปฏิบัตไิ ด้ตามขอ้ ๑ ไดร้ ะดบั ๐
ปฏบิ ตั ไิ ด้ตามขอ้ ๒ ได้ระดบั ๑
ปฏิบตั ไิ ด้ตามขอ้ ๓ ได้ระดับ ๒
ปฏบิ ัตไิ ดต้ ามขอ้ ๔ ไดร้ ะดบั ๓

สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานสานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา การจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
ไดร้ ะดับ ๐ - ๕ หมายถึง อยู่ในระดบั ปรบั ปรงุ
ได้ระดับ ๖ - ๑๐ หมายถึง อยู่ในระดบั พอใช้
ได้ระดับ ๑๑ -๑๕ หมายถึง อยใู่ นระดบั ดี
ไดร้ ะดบั ๑๖ - ๒๑ หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดมี าก

38

๒. มาตรฐานระดับสถานศกึ ษา

แบ่งออกเป็น ๔ ด้าน ได้แก่
๑. ดา้ นปจั จยั พื้นฐานของสถานศกึ ษา
๒. ด้านผู้บรหิ ารสถานศึกษา
๓. ดา้ นครผู สู้ อน
๔. ดา้ นนกั เรียน

มาตรฐานท่ี ๑ ด้านปัจจัยพืน้ ฐานของสถานศึกษา

ประกอบดว้ ย ๕ ตัวช้ีวดั ดังน้ี

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๑ ความพรอ้ มดา้ นอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ มีเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดังน้ี
1) ไมม่ อี ปุ กรณค์ อมพิวเตอรแ์ ตไ่ ม่สามารถใช้งานจดั การศึกษาดว้ ย DLIT ได้
2) มอี ุปกรณ์คอมพวิ เตอร์และไมส่ ามารถใช้งานจัดการศึกษาดว้ ย DLIT ได้
3) มอี ุปกรณค์ อมพิวเตอรใ์ ชง้ านจดั การศึกษาดว้ ย DLIT ไดไ้ มค่ รบทกุ ห้องเรยี น
4) มีอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ใชง้ านจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT ได้ครบทกุ ห้องเรียน

ตัวชี้วัดท่ี ๒ ความพร้อมดา้ นระบบอินเทอรเ์ น็ตทร่ี องรบั จดั การศกึ ษาด้วย DLIT
มเี กณฑก์ ารพจิ ารณา ดังน้ี

1) ไม่มรี ะบบอนิ เทอรเ์ นต็
2) มีระบบอินเทอรเ์ น็ต แตไ่ มส่ ามารถใช้จดั การศึกษาด้วย DLIT
3) มีระบบอินเทอรเ์ นต็ ใช้จัดการศึกษาดว้ ย DLIT แตไ่ ม่มคี วามเสถียร
4) มีระบบอินเทอรเ์ น็ตใชจ้ ัดการศึกษาดว้ ย DLIT และมคี วามเสถยี ร

39

ตวั ชว้ี ัดท่ี ๓ ความพรอ้ มของเครอ่ื งรับโทรทศั นห์ รือเครอ่ื งมลั ตมิ ีเดยี โปรเจคเตอร์ ที่สามารถ
ใชง้ านได้อย่างสมบูรณ์ คมชัดทงั้ ภาพและเสยี ง ภายในหอ้ งเรียน มีเกณฑ์การพิจารณา ดงั น้ี

1) ไมม่ เี ครอื่ งรับโทรทศั น์หรอื เครอื่ งมลั ตมิ ีเดยี โปรเจคเตอร์ทสี่ ามารถใช้งานจดั การศกึ ษา
ดว้ ย DLIT

2) มีเคร่ืองรับโทรทัศน์หรือเคร่ืองมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ท่ีสามารถใช้งานจัดการศึกษาด้วย
DLIT ได้อย่างสมบูรณ์ คมชัดท้ังภาพและเสียง ภายในห้องเรียน จานวนน้อยกว่าร้อยละ
50 ของหอ้ งเรียน

3) มีเคร่ืองรับโทรทัศน์หรือเครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ที่สามารถใช้งานจัดการศึกษาด้วย
DLIT ได้อย่างสมบูรณ์ คมชัดทั้งภาพและเสียง ภายในห้องเรียน จานวนร้อยละ 50
ขึ้นไปแต่ไม่ครบทุกหอ้ งเรียน

4) มีเครื่องรับโทรทัศน์หรือเครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ท่ีสามารถใช้งานจัดการศึกษาด้วย
DLIT ไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ คมชดั ทงั้ ภาพและเสยี ง ภายในหอ้ งเรียน ครบทุกหอ้ งเรียน

ตัวช้ีวัดท่ี ๔ ความพร้อมด้านบุคลากรด้านเทคนิคเก่ียวกับการดูแลระบบและบารุงรักษา
มเี กณฑ์การพิจารณา ดังน้ี

1) ไม่มีครูหรือบุคลากรทางการศึกษาที่รับผิดชอบดูแลระบบและบารุงรักษา ระบบจัด
การศึกษาดว้ ย DLIT

2) มีครูหรอื บคุ ลากรทางการศึกษาทีร่ บั ผดิ ชอบดูแลระบบและบารงุ รกั ษา ระบบจัดการศึกษา
ดว้ ย DLIT แต่ไมไ่ ดม้ กี ารมอบหมาย/แตง่ ต้ังเปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

3) มคี รูและบุคลากรทางการศกึ ษาทร่ี ับผิดชอบดแู ลระบบและบารงุ รกั ษา ระบบการศึกษา
ดว้ ย DLIT โดยมกี ารมอบหมาย/แตง่ ตัง้ เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร แต่ไม่สามารถดูแลระบบ
และบารุงรกั ษา ได้

4) มคี รแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีรบั ผดิ ชอบดแู ลระบบและบารงุ รักษา ระบบ การศึกษา
ดว้ ย DLIT โดยมีการมอบหมาย/แตง่ ตง้ั เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร และสามารถดแู ลระบบและ
บารุงรกั ษาได้

ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๕ จดั ให้มีเครือขา่ ยการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาดว้ ย DLIT มีเกณฑ์การ
พจิ ารณา ดงั น้ี

1) ไมม่ เี ครือขา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาดว้ ย DLIT
2) มีเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วย DLIT ตามที่สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

กาหนด
3) มีเครือข่ายพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษาด้วย DLIT ตามท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา

กาหนดและมีเครือข่ายด้านดูแลระบบและบารุงรักษา แต่ไม่ได้ทาข้อตกลงความร่วมมือ
กบั เครือข่าย

40

4) มีเครือข่ายพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษาด้วย DLIT ตามท่ีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
กาหนดและมีเครอื ขา่ ยด้านดแู ลระบบและบารงุ รกั ษา ซ่ึงมีการทาข้อตกลงความร่วมมือกับ
เครือขา่ ย

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนน ไดร้ ะดับ ๐
ปฏบิ ตั ิไดต้ ามข้อ ๑ ไดร้ ะดับ ๑
ปฏบิ ัติไดต้ ามขอ้ ๒ ได้ระดับ ๒
ปฏบิ ตั ิไดต้ ามขอ้ ๓ ได้ระดับ ๓
ปฏบิ ัตไิ ด้ตามข้อ ๔
หมายถึง อยู่ในระดบั ปรับปรงุ
เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน หมายถงึ อยู่ในระดับ พอใช้
ไดร้ ะดับ ๐ - ๓ หมายถงึ อย่ใู นระดบั ดี
ได้ระดบั ๔ - ๗ หมายถึง อยู่ในระดับ ดีมาก
ไดร้ ะดบั ๘ -๑๑
ไดร้ ะดบั ๑๒ - ๑๕

มาตรฐานที่ ๒ ดา้ นผู้บริหารสถานศึกษา

ประกอบดว้ ย ๕ ตวั ช้วี ัด ดังน้ี

ตัวชีว้ ดั ที่ ๑ การกาหนดนโยบายด้านการสง่ เสรมิ จัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT อย่างเปน็ รปู ธรรม
มรี ายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ไมม่ ีนโยบายและแผนการจดั การศึกษาด้วย DLIT
2) มีนโยบายและแผนการจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT และผา่ นการเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ

สถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
3) มนี โยบายและแผนการจัดการศกึ ษาด้วย DLIT ผ่านการเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ

สถานศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และมคี ณะกรรมการหรือผรู้ ับผดิ ชอบ การดาเนินงาน
4) มีนโยบายและแผนกานจดั การศึกษาด้วย DLIT ผ่านการเห็นชอบจากคณะกรรมการ

สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน มีคณะกรรมการหรอื ผรู้ บั ผดิ ชอบการดาเนนิ งาน และดาเนินงาน
ตามแผนท่ีกาหนด

41

ตวั ช้วี ดั ท่ี ๒ การเป็นผู้นาดว้ ยความมุ่งมั่นตง้ั ใจ ตระหนกั และเหน็ ความสาคญั ในการจัด
การศกึ ษาด้วย DLIT อย่างต่อเน่ือง มีรายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ผู้บริหารไมส่ ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ครูไดร้ ับการพัฒนาเรอ่ื งการจดั การศกึ ษาด้วย DLIT
2) ผูบ้ ริหารมคี วามตระหนกั ถงึ ความสาคญั ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รไู ดร้ ับการพฒั นาเรอื่ ง

การจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
3) ผู้บรหิ ารมีการกากับดแู ล สนบั สนุนช่วยเหลอื และส่งเสริมใหค้ รสู ามารถจดั การศึกษาดว้ ย

DLIT ได้
4) ผบู้ รหิ ารมีความมุ่งม่นั กากบั ดแู ล สนับสนุนช่วยเหลอื และส่งเสรมิ ใหค้ รสู ามารถจัด

การศกึ ษาด้วย DLIT ไดอ้ ยา่ งมีคณุ ภาพ

ตวั ชี้วดั ท่ี ๓ การนิเทศ กากับ ตดิ ตามการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยกี ารศึกษาทางไกล
ผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT) มรี ายการพจิ ารณา ดังน้ี

1) ไมม่ ีการนเิ ทศภายใน และกากับตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนด้วยระบบจดั การศกึ ษา
ดว้ ย DLIT

2) มกี ารนิเทศภายใน และกากับติดตามการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
3) มีการนเิ ทศภายใน และกากับติดตามการจดั การศึกษาดว้ ย DLIT อยา่ งเปน็ ระบบ
4) มีการนเิ ทศภายใน และกากับตดิ ตามการจดั การเรียนการสอนดว้ ยการศึกษาดว้ ย DLIT

อย่างเป็นระบบและมีการนาผลการนเิ ทศมาใช้ในการพฒั นา

ตวั ชีว้ ดั ที่ ๔ การส่งเสรมิ สนบั สนุนครแู ละบุคคลากรด้านการศกึ ษาด้วย DLIT
มีรายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ไมม่ ีการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ครแู ละบุคลากรด้านการศกึ ษาด้วย DLIT
2) มกี ารสง่ เสริมสนับสนนุ ครแู ละบุคคลากรด้านการศึกษาดว้ ย DLIT
3) มีการส่งเสริมสนบั สนุนครแู ละบุคคลากรด้านการศกึ ษาด้วย DLIT และมีการประกาศยกย่อง

เชดิ ชเู กยี รติ
4) มีการส่งเสรมิ สนับสนนุ ครูและบคุ คลากรด้านการศึกษาด้วย DLIT มีการประกาศยกยอ่ งเชิด

ชเู กียรติ และมกี ารเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์

ตวั ช้วี ดั ท่ี ๕ การประเมินและรายงานผล มรี ายการพจิ ารณา ดงั น้ี
1) ไมม่ ีการประเมนิ และรายงานผลการจัดการศึกษาด้วย DLIT
2) มีการประเมินและรายงานผลการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT
3) มกี ารประเมนิ และรายงานผลการจดั การศึกษาดว้ ย DLIT อยา่ งเป็นระบบ
4) มีการประเมินและรายงานผลการจดั การศึกษาดว้ ย DLIT อยา่ งเปน็ ระบบและ

มกี ารนาผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปรับปรุงพฒั นา

42

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตวั ช้วี ดั
ปฏิบัติได้ตามขอ้ ๑ ได้ระดับ ๐
ปฏบิ ตั ิไดต้ ามข้อ ๒ ได้ระดับ ๑
ปฏบิ ัตไิ ด้ตามขอ้ ๓ ได้ระดับ ๒
ปฏบิ ตั ไิ ดต้ ามขอ้ ๔ ได้ระดับ ๓

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐาน
ได้ระดับ ๐ - ๓ หมายถงึ อยู่ในระดับ ปรบั ปรุง
ไดร้ ะดับ ๔ - ๗ หมายถงึ อยู่ในระดับ พอใช้
ไดร้ ะดับ ๘ -๑๑ หมายถงึ อยใู่ นระดับ ดี
ได้ระดับ ๑๒ - ๑๕ หมายถงึ อยู่ในระดับ ดมี าก

มาตรฐานท่ี ๓ ดา้ นครูผสู้ อน

ประกอบดว้ ย ๗ ตัวช้ีวัด ดังนี้

ตวั ชี้วัดที่ ๑ จดั เตรียมส่ือวัสดแุ ละอุปกรณท์ จ่ี าเป็นตอ่ การนาไปใช้ในกระบวนการจัดการ
เรียนรู้ และ DLIT มรี ายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) ไม่มีการจัดเตรียมคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ประกอบ
การจัดการเรยี นรทู้ ่ีสอดคล้องกบั หนว่ ยการเรยี นรู้จาก DLIT

2) ครูต่ากว่ารอ้ ยละ ๕๐ มกี ารจดั เตรยี มคอมพิวเตอร์ เครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต ส่ือ วสั ดุ อุปกรณ์
ประกอบการจดั การเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกับหน่วยการเรยี นรจู้ าก DLIT ได้เหมาะสมกับ
วยั ของนกั เรยี น

3) ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารจดั เตรยี มคอมพวิ เตอร์ เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ ส่อื วสั ดุ อุปกรณ์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้จาก DLIT ได้เหมาะสมกับ
วยั ของนักเรียน

4) ครรู อ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไปมีการจดั เตรียมคอมพิวเตอร์ เครอื ข่ายอินเทอรเ์ นต็ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้จาก DLIT ได้เหมาะสมกับ
วยั ของนักเรยี น

43

ตัวชี้วัดท่ี ๒ พัฒนาตนเองให้มคี วามร้เู กยี่ วกบั การใช้พฒั นาคุณภาพการศกึ ษาทางไกล
ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) มรี ายการพจิ ารณา ดงั น้ี

1) ไมม่ ีการสืบคน้ ขอ้ มูล หรือเขา้ ร่วมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ หรอื จดั ทาแผนพัฒนาตนเองเกย่ี วกับ
การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาผ่าน DLIT PLC

2) ครูต่ากว่าร้อยละ ๕๐ มีการสบื คน้ ขอ้ มลู หรอื เข้าร่วมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หรอื จดั ทา
แผนพฒั นาตนเองเกย่ี วกับการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาผา่ น DLIT PLC

3) ครูร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มีการสบื ค้นข้อมลู หรือเขา้ ร่วมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ หรอื จัดทา
แผนพัฒนาตนเองเกย่ี วกบั การพัฒนาคุณภาพการศึกษาผ่าน DLIT PLC

4) ครรู ้อยละ ๘๐ ข้นึ ไปมกี ารสืบค้นข้อมลู หรอื เข้ารว่ มแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หรอื จัดทา
แผนพฒั นาตนเองเก่ียวกับการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาผา่ น DLIT PLC

ตวั ชีว้ ัดที่ ๓ ออกแบบการจัดการเรียนรูโ้ ดยใช้การพฒั นาคุณภาพการศึกษาทางไกลผา่ น
เทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) มรี ายการพจิ ารณา ดังน้ี

1) ไม่มกี ารออกแบบการจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทางไกลผา่ น
เทคโนโลยี (DLIT)

2) ครูต่ากว่าร้อยละ ๕๐ มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์หลักสูตร
การจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ และใชส้ ่อื ประกอบการสอนจาก DLIT

3) ครูร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์หลักสูตร
การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ และใช้สอ่ื ประกอบการสอนจาก DLIT

4) ครูร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป มีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยการวิเคราะห์หลักสูตร
การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และใช้ส่อื ประกอบการสอนจาก DLIT

ตวั ชีว้ ัดท่ี ๔ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้และให้นักเรียนเขา้ ถงึ การศกึ ษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยี
สารสนเทศ (DLIT) มรี ายการพจิ ารณา ดังนี้

1) ไม่มีการจัดกิจกรรมให้นกั เรยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการศกึ ษา คน้ ควา้ เพิม่ เตมิ จากสื่อ
ประกอบการสอน DLIT

2) ครูรอ้ ยละ ๕๐ มีการจดั กจิ กรรมให้นกั เรยี นได้มีส่วนร่วมในการใชส้ ่ือประกอบการสอนจาก
DLIT โดยการศึกษา ค้นคว้าเพ่ิมเติมเพื่อพัฒนาศักยภาพของนักเรียนเอง และเกิดช้ินงาน
ในการเรยี นรู้จาก DLIT

3) ครูร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มีการจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้ส่ือประกอบการ
สอนจาก DLIT โดยการศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมเพ่ือพัฒนาศักยภาพของนักเรียนเอง และ
เกดิ ชิ้นงานในการเรียนรจู้ าก DLIT

44

4) ครูร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป มีการจดั กิจกรรมให้นักเรยี นไดม้ สี ว่ นรว่ มในการใช้สอ่ื ประกอบการ
สอนจาก DLIT โดยการศกึ ษา ค้นควา้ เพิ่มเตมิ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของนักเรยี นเอง และ
เกดิ ชิน้ งานในการเรยี นรู้จาก DLIT

ตวั ชว้ี ดั ที่ ๕ วัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริงด้วยวิธกี าร เครื่องมอื ทหี่ ลากหลายครอบคลุม
มาตรฐาน และตัวช้ีวัด หลงั จากการจดั กิจกรรมการเรียนร้ใู นแต่ละครั้ง และแตล่ ะหน่วยการเรียนรู้
เพอื่ ให้ทราบถึงผลการเรยี นรขู้ องนักเรียน มรี ายการพจิ ารณา ดงั น้ี

1) ไมม่ ีการวัดผลใชข้ อ้ สอบจาก DLIT Assessment มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผล
2) ครตู ่ากวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มกี ารนาข้อสอบจาก DLIT Assessment มาใชใ้ นการวดั ผล

ประเมินผล และจดั ทาเปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศไดต้ รงตามหลักสูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
3) ครูร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มีการนาขอ้ สอบจาก DLIT Assessment มาใชใ้ นการวดั ผล

ประเมนิ ผล และจดั ทาเปน็ ข้อมลู สารสนเทศไดต้ รงตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
4) ครรู อ้ ยละ ๘๐ ขึน้ ไป มกี ารนาข้อสอบจาก DLIT Assessment มาใช้ในการวดั ผล

ประเมินผล และจัดทาเป็นขอ้ มลู สารสนเทศไดต้ รงตามหลกั สตู รการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

ตัวช้ีวดั ที่ ๖ นาผลการวัดและประเมินมาวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย และวางแผนการสอนซ่อม
เสริม โดยใช้การพัฒนาคุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT) มีรายการ
พิจารณา ดังนี้

1) ครูไม่ไดน้ าผลการวัดและประเมนิ มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการสอนซอ่ มเสรมิ ให้กบั นักเรยี น
เป็นรายบุคคล ด้วยสื่อประกอบการสอนจาก DLIT

2) ครตู ่ากว่าร้อยละ ๕๐ มกี ารนาผลการวัด และประเมินมาวิเคราะห์นักเรยี นเป็นรายบคุ คล
และจดั ทาแผนซอ่ มเสริมให้กับนักเรยี นโดยใชส้ ื่อจาก DLIT

3) ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ มีการนาผลการวดั และประเมินมาวเิ คราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบคุ คล
และจดั ทาแผนซอ่ มเสรมิ ใหก้ บั นักเรียนโดยใชส้ อื่ จาก DLIT

4) ครูร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มกี ารนาผลการวัด และประเมนิ มาวเิ คราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบุคคล
และจัดทาแผนซ่อมเสรมิ ใหก้ บั นักเรยี นโดยใชส้ ื่อจาก DLIT

45

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๗ เขา้ ร่วมเครอื ขา่ ยชุมชนการเรยี นรู้ครมู อื อาชีพ เพ่อื เผยแพร่ และแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ในอนั ท่จี ะได้นาองคค์ วามรู้ตา่ งๆไปใชใ้ นการปรบั ปรุงกระบวนการจดั การเรยี นการสอนและการพฒั นา
คุณภาพการศึกษา มีรายการพจิ ารณา ดงั นี้

1) ไมม่ กี ารใช้ส่ือ Social Media ในการเข้ารว่ มเครือข่ายชมุ ชนการเรยี นรู้ เพือ่ แลกเปลี่ยน
เรยี นรู้ ผ่าน DLIT PLC YouTube Channel Cloud Computing หรอื สือ่ อื่นๆ

2) ครตู ่ากว่ารอ้ ยละ ๕๐ มกี ารใชส้ ่ือ Social Media ในการเขา้ ร่วมเครอื ข่ายชมุ ชนการเรียนรู้
เพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ผา่ น DLIT PLC YouTube Channel Cloud Computing หรือ
สือ่ อนื่ ๆ

3) ครรู ้อยละ ๕๐ – ๗๙ มกี ารใชส้ ือ่ Social Media ในการเขา้ รว่ มเครือข่ายชุมชนการเรยี นรู้
เพื่อแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ผา่ น DLIT PLC YouTube Channel Cloud Computing หรือ
ส่ืออื่นๆ

4) ครรู อ้ ยละ ๘๐ ขึ้นไป มกี ารใช้สื่อ Social Media ในการเข้ารว่ มเครอื ขา่ ยชุมชนการเรียนรู้
เพอื่ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ผ่าน DLIT PLC YouTube Channel Cloud Computing หรอื
สือ่ อ่ืนๆ

เกณฑ์การพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตวั ชว้ี ดั
ปฏิบตั ไิ ดต้ ามขอ้ ๑ ได้ระดับ ๐
ปฏบิ ตั ิไดต้ ามข้อ ๒ ไดร้ ะดับ ๑
ปฏบิ ัติไดต้ ามข้อ ๓ ไดร้ ะดับ ๒
ปฏบิ ัตไิ ดต้ ามขอ้ ๔ ไดร้ ะดบั ๓

เกณฑ์การประเมินมาตรฐาน
ได้ระดบั ๐ - ๕ หมายถึง อยใู่ นระดับ ปรบั ปรุง
ไดร้ ะดบั ๖ - ๑๐ หมายถึง อยู่ในระดับ พอใช้
ไดร้ ะดบั ๑๑ -๑๕ หมายถึง อยู่ในระดับ ดี
ไดร้ ะดับ ๑๖ - ๒๑ หมายถงึ อยู่ในระดับ ดมี าก

46

มาตรฐานที่ ๔ ด้านนักเรียน

ประกอบดว้ ย ๔ ตัวชวี้ ดั ดงั นี้

ตัวชีว้ ัดท่ี ๑ นักเรยี นมีสมรรถนะสาคัญตามหลกั สูตร มีรายการพิจารณา ดงั น้ี
1) นกั เรียนตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มสี มรรถนะสาคญั ตามหลกั สตู รในระดับดขี ึน้ ไป
2) นกั เรียนร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มสี มรรถนะสาคัญตามหลักสตู รในระดับดขี ้ึนไป
3) นกั เรียนรอ้ ยละ ๘๐ ข้ึนไป มสี มรรถนะสาคัญตามหลักสตู รในระดับดขี ้นึ ไป

ตัวชวี้ ดั ท่ี ๒ นักเรียนมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สตู ร มีรายการพิจารณา ดงั นี้
1) นักเรียนตา่ กว่าร้อยละ ๕๐ มคี ุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สูตรในระดับดขี นึ้ ไป
2) นกั เรยี นร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มคี ุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลกั สตู รในระดับดีขน้ึ ไป
3) นักเรยี นรอ้ ยละ ๘๐ ขน้ึ ไป มคี ณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รในระดบั ดขี ้ึนไป

ตัวช้วี ัดท่ี ๓ นกั เรียนมีทกั ษะการอ่านคิดวเิ คราะห์และเขียน ตามหลักสูตรในระดบั ดขี ้ึนไป
มีรายการพิจารณา ดังน้ี

1) นกั เรียนตา่ กวา่ รอ้ ยละ ๕๐ มที ักษะการอ่านคิดวิเคราะห์และเขยี นตามหลักสตู ร
ในระดับดีข้นึ ไป

2) นกั เรียนร้อยละ ๕๐ – ๗๙ มที ักษะการอ่านคิดวิเคราะหแ์ ละเขยี น ตามหลักสตู ร
ในระดับดขี ้นึ ไป

3) นักเรยี นร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป มที กั ษะการอา่ นคดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี น ตามหลกั สูตร
ในระดบั ดขี น้ึ ไป

ตัวชี้วัดที่ ๔ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ (สพป.)หรือ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๓ (สพม.)
มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พืน้ ฐาน (O-NET) สูงขนึ้ มีรายการพจิ ารณา ดังน้ี

1) ผลการทดสอบ O-NET เท่ากบั หรือสงู กวา่ คะแนนเฉล่ียระดับประเทศ น้อยกวา่ ๒
กลุ่มสาระการเรยี นรู้

2) ผลการทดสอบ O-NET เทา่ กบั หรอื สูงกวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ ๒ -๓
กล่มุ สาระการเรียนรู้

3) ผลการทดสอบ O-NET เท่ากบั หรือสงู กวา่ คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ มากกวา่ ๓
กลุม่ สาระการเรยี นรู้

47

เกณฑก์ ารพจิ ารณาคะแนนในแต่ละตัวชี้วดั
ปฏิบตั ไิ ดต้ ามขอ้ ๑ ไดร้ ะดบั ๑
ปฏิบตั ไิ ด้ตามขอ้ ๒ ไดร้ ะดบั ๒
ปฏบิ ัติไดต้ ามข้อ ๓ ไดร้ ะดับ ๓

เกณฑก์ ารประเมินมาตรฐาน หมายถงึ อยู่ในระดับ ปรับปรงุ
ไดร้ ะดับ ๔ – ๖ หมายถงึ อยใู่ นระดับ พอใช้
ไดร้ ะดบั ๗ - ๘ หมายถงึ อยู่ในระดับ ดี
ไดร้ ะดบั ๙ - ๑๐ หมายถึง อยใู่ นระดบั ดมี าก
ไดร้ ะดับ ๑๑ – ๑๒

เกณฑ์การพจิ ารณามาตรฐานสถานศกึ ษา

เกณฑก์ ารพิจารณามาตรฐานสถานศกึ ษาในแตล่ ะดา้ น ซงึ่ ประกอบด้วยด้านปัจจยั พน้ื ฐาน

ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ด้านครผู ้สู อน และด้านนักเรยี น วา่ มมี าตรฐานอยใู่ นระดบั ใดนน้ั มีการ

กาหนดคา่ คะแนน ดังน้ี

การดาเนนิ งานอยู่ในระดบั ปรับปรงุ ไดร้ ะดบั ๑

การดาเนนิ งานอยู่ในระดบั พอใช้ ไดร้ ะดับ ๒

การดาเนนิ งานอย่ใู นระดบั ดี ได้ระดับ ๓

การดาเนนิ งานอยใู่ นระดบั ดีมาก ได้ระดบั ๔

การสรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานสถานศกึ ษาด้วย การศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT)

รวม ๔ ดา้ น ได้ ๔ – ๗ หมายถึง มีมาตรฐานระดบั ปรับปรงุ

รวม ๔ ดา้ น ได้ ๘ – ๑๐ หมายถึง มีมาตรฐานระดบั พอใช้

รวม ๔ ดา้ น ได้ ๑๑ – ๑๓ หมายถงึ มมี าตรฐานระดับ ดี

รวม ๔ ดา้ น ได้ ๑๔ – ๑๖ หมายถงึ มมี าตรฐานระดบั ดมี าก

48

เครอ่ื งมอื การประเมิน

มาตรฐานการจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT

สาหรบั สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา___________________________เขต______

ที่ มาตรฐาน ตัวชีว้ ัด เกณฑก์ ารพจิ ารณา คะแนน

๑. ดา้ นนโยบาย มีการกาหนด 1) ไม่มีการกาหนดใหม้ ีการการจดั การศกึ ษา

การจดั นโยบายและ ดว้ ย DLIT ไว้ในวิสัยทศั น/์ พันธกิจ/แผนงาน/

การศกึ ษา แผนการ โครงการ

ดว้ ย ปฏิบัติงานการ 2) มีการกาหนดใหม้ กี ารการจดั การศึกษา

เทคโนโลยี จัดการศกึ ษาดว้ ย ดว้ ย DLIT ไวใ้ นวิสยั ทัศน์/พนั ธกจิ /แผนงาน/

การศึกษา DLIT โครงการ

ทางไกล ผ่าน 3) มกี ารกาหนดให้มกี ารพฒั นาการจัด

เทคโนโลยี การศกึ ษาด้วย DLIT ไวใ้ นวสิ ยั ทัศน/์ พนั ธกจิ /

สารสนเทศ แผนงาน/โครงการและมีการนาไปส่กู ารปฏิบัติ

(DLIT) 4) มกี ารกาหนดใหม้ ีการพฒั นาการการจดั

การศึกษาดว้ ย DLIT ไว้ในวิสัยทศั น/์ พนั ธกจิ /

แผนงานโครงการ ละมีการดาเนินงานตาม

แผนงานโครงการจ/แผนงานโครงการ

มีการนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิและมผี ลการปฏบิ ัติ

ชัดเจน

๒. ดา้ นการ ๑ มคี ณะกรรม 1) ไมม่ กี ารขบั เคลอ่ื นและสร้างความเขม้ แขง็

ขับเคลือ่ น การขับเคล่อื น ในการจัดการศกึ ษาดว้ ย DLIT ระดับเขต

และสร้าง และสร้างความ พื้นทก่ี ารศกึ ษา

ความเขม้ แขง็ เขม้ แขง็ 2) มีการขับเคล่ือนและสร้างความเข้มแข็ง

ในการจัดการศึกษาด้วย DLIT ระดับเขต

พื้นท่กี ารศึกษา โดยไมม่ รี ปู แบบคณะกรรมการ

ท่ีชัดเจน

3) มคี ณะกรรมการขับเคล่ือนและสร้างความ

เข้มแข็ง ในการจดั การศกึ ษาดว้ ย DLIT ระดับ

เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

4) มีคณะกรรมการขับเคล่ือนและสร้างความ

เขม้ แข็ง ในการจดั การศึกษาด้วย DLIT ระดับ

เขตพื้นที่การศึกษา ที่ประกอบไปด้วยตัวแทน

ภาคสว่ นทีห่ ลากหลาย

49


Click to View FlipBook Version