รหัสกิจกรรม 4002
แบบรายงานการปฏิบัตงิ าน
เพอ่ื พิจารณาคดั เลอื กวิธปี ฏบิ ัตทิ ่ีเป็นเลศิ Best Practice
การนำหลักสูตรสถานศึกษาสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ท่ปี ระสบผลสำเร็จ
ประจำปกี ารศกึ ษา 2565
ครผู ู้สอนยอดเยย่ี ม กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประเภทประถมศึกษา ขนาดกลาง
นายขวญั ชยั สมสุข
ครชู ำนาญการพิเศษ
โรงเรยี นทุ่งกุลาประชารัฐ
ตำบลดงครั่งนอ้ ย อำเภอเกษตรวสิ ยั จังหวดั รอ้ ยเอ็ด
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
แบบรายงานประวตั แิ ละผลงานเพือ่ พิจารณาคัดเลอื กวธิ ปี ฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice)
การนําหลกั สตู รสถานศกึ ษาส่กู ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่ประสบผลสาํ เรจ็
สํานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอด็ เขต 2
1. กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2. ช่อื ผลงาน : การใช้ DLTV ในการพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ของโรงเรยี นทุง่ กุลาประชารัฐ สพป.ร้อยเอด็ เขต 2 โดยใช้กลยทุ ธ์ TUNKULA MODEL
3. ชอ่ื ผเู้ สนอผลงาน : นายขวัญชัย สมสุข
ตําแหน่ง ครู โรงเรยี นทุ่งกุลาประชารัฐ
สงั กัดสํานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษารอ้ ยเอ็ด เขต 2
โทรศพั ท์มอื ถือ 098 – 605-5660 e-mail [email protected]
4. ประเภท ปฐมวยั
ขนาดเล็ก
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่
ประถมศึกษา
ขนาดเลก็
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่
มัธยมศกึ ษาตอนตน้
ขนาดเล็ก
ขนาดกลาง
ขนาดใหญ่
5. ความสำคญั ของผลงานหรือนวัตกรรม
โรงเรียนท่งุ กุลาประชารฐั เป็นหนว่ ยงานหลกั ในการจัดการศึกษา ซ่งึ ในปกี ารศึกษา 2562 และ 2563
การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนทุ่งกุลาประชารัฐ พบวา่ ผลการทดสอบระดบั สถานศึกษาในกลุ่มสาระ
วิทยาศาสตร์ในระดับ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มีนักเรียนทมี่ ีผลการเรยี นในระดับดีขึ้นไป ระดบั 3 คิดเป็นร้อยละ
44.44 และมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ
ขัน้ พื้นฐาน (O-NET) ค่าเฉลีย่ 30.04 ตำ่ กว่าระดบั ประเทศ คา่ เฉล่ยี 35.55
ขา้ พเจ้าได้รบั มอบหมายให้สอนในวชิ าวิทยาศาสตร์ ในช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 4 - 6 ต้ังแต่ปีการศกึ ษา
2563 เปน็ ต้นมา ไดม้ โี อกาสเขา้ รบั การพัฒนาในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในหลายหลกั สตู ร
ประกอบกับการจดั การเรยี นการสอนในช่วงนอี้ ยู่ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรน่า ทำให้มีการ
ปรับเปล่ยี นรูปแบบการจัดการเรียนการสอนบอ่ ยครัง้ ประกอบกับขา้ พเจา้ สำเร็จการศึกษาในวิชาเอก
คอมพวิ เตอร์ ทำใหค้ วามรู้ในวชิ าวทิ ยาศาสตรย์ งั ไม่แมน่ ยำชัดเจนพอ แตข่ ้าพเจ้ามีความสามารถในการเขา้ ถงึ
แหลง่ ความรู้ต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วข้องไดเ้ ป็นอยา่ งดี ประกอบกับนโยบายให้นำการจัดการเรียนทางไกลเขา้ มาใช้ เมื่อปี
การศกึ ษา ๒๕๖๓ มีการจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ DLTV เต็มรูปแบบ พบว่า ผลการทดสอบ O-NET วิชา
วิทยาศาสตรเ์ พ่ิมสงู ขนึ้ ทำให้ข้าพเจา้ มีความมน่ั ใจทีจ่ ะนำ DLTV มาใช้ในปกี ารศึกษา 2564 ต่อไป จากการใช้
DLTV พบวา่ สง่ิ ที่ไดร้ ับมานนั้ เปน็ องค์ความรชู้ น้ั ดี ทน่ี ำมาเนน้ การพฒั นานักเรยี นเปน็ อย่างมาก มีการสรา้ ง
แรงบันดาลใจ กล้าแสดงออก กล้าเสนอความคดิ และคิดค้นนวตั กรรมเพื่อแก้ปญั หาการจัดการเรยี นการสอน
และในทา้ ยสดุ ได้เกิดเปน็ ผลงานนวตั กรรม นนั่ คอื ผลงาน การใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ของโรงเรียนทุง่ กุลาประชารฐั สพป.รอ้ ยเอ็ด เขต 2 โดยใชก้ ลยุทธ์
TUNKULA MODEL
จากข้อมูลเบื้องตน้ ดังกล่าว ทางขา้ พเจ้าและโรงเรียนทุ่งกุลาประชารัฐได้เล็งเห็นปัญหาและให้
ความสำคญั กับปัญหาดังกลา่ ว จึงจำเป็นจะตอ้ งพฒั นาและคิดคน้ นวตั กรรมหรือวธิ ีการมาใชใ้ นการพฒั นา
คณุ ภาพของผูเ้ รยี นในกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ให้สงู ขน้ึ จงึ ไดม้ ีการใช้ DLTV
ในการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรข์ องโรงเรียนทงุ่ กุลาประชารัฐ โดยใชก้ ล
ยุทธ์ TUNKULA MODEL
6. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดำเนินงาน
6.1 จุดประสงคข์ องการดำเนินงาน
6.1.1 เพ่ือใช้ DLTV ในการจดั การเรียนการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ให้กับ
ผู้เรียนต้ังแตร่ ะดับช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6
6.1.2 เพ่อื ใชก้ ลยุทธ์ TUNKULA MODEL ในการขับเคลอ่ื นการบรหิ ารในด้านการจดั การ
เรยี นรู้ผา่ นระบบ DLTV ใหเ้ กิดประสิทธผิ ล
6.1.3 เพ่ือพัฒนาคุณภาพผ้เู รียนดา้ นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์
6.2 เปา้ หมายของการดำเนินงาน
6.2.1 เปา้ หมายเชิงประมาณ
นกั เรียนโรงเรยี นทุ่งกุลาประชารฐั ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2564
จำนวน 16 คน
6.2.2 เป้าหมายเชงิ คุณภาพ
1) ร้อยละของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ไดร้ บั การดูแลช่วยเหลือทุกคน
มคี วามรู้ ความสามารถ และผ่านการประเมนิ ตัวชี้วดั กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2) ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นชน้ั
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 เพ่ิมข้ึน
3) นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์มกี ารทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET) สงู ข้นึ กวา่ ระดับประเทศ
7. กระบวนการผลิตผลงานหรือขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน
ผู้บริหารโรงเรยี นทุง่ กลุ าประชารฐั คณะกรรมการการบริหารงานวิชาการ และคณะกรรมการ
สถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ได้ประชมุ วางแผนรว่ มกนั ในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนทงุ่ กุลาประชารฐั
ในปกี ารศึกษา 2564 และได้แนวคดิ เก่ียวกับการบริหารโดยใชก้ ลยุทธท่ีสอดคล้องกบั บริบทของโรงเรยี น ซึง่
สอดคล้องกับคำวา่ “ท่งุ กุลา” ซ่ึงเปน็ ช่ือ เรยี กอย่างไมเ่ ปน็ ทางการของโรงเรยี นทุ่งกุลาประชารฐั ซง่ึ
ภาษาองั กฤษจะเขยี นวา่ “TUNKULA” จงึ ได้นำตวั อักษรทง้ั 7 ตัวน้มี าใส่เปน็ กลยุทธ์ในการบริหารจัดการเพื่อ
พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรยี นในปีการศึกษา 2564 ซ่งึ แต่ละตวั
มีควาหมายดงั ต่อไปน้ี
T : Team Shared Vision คอื ทีมสร้างวิสยั ทัศนร์ ว่ มกัน
U : Up DLTV Power Board คอื ยกระดับคณะกรรมการขบั เคลอ่ื น DLTV
N : New Discover คือ การศึกษาควา้ ใหม่
K : Key Performance Indicator คอื ปจั จัยสำคัญในการขบั เคล่ือน
U : Upper Human Resource คอื ยกระดบั ทรัพยากรมนุษย์
L : Last Feedback คอื การสะทอ้ นผลการปฏิบัติครงั้ สุดท้าย
A : Application & Activities คอื เว็บไซต์ DLTV และกิจกรรม Active Learning
การใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรยี น
ทุ่งกุลาประชารัฐ โดยใช้กลยทุ ธ์ TUNKULA MODEL รายละเอียดของแผนภูมกิ ารดำเนินงานตามกลยุทธ์ โดย
วงจรบริหารงานคุณภาพ PDCA ดงั รายละเอยี ดดังต่อไปน้ี
ขัน้ วางแผน (P : Plan)
1. โรงเรียนทุง่ กุลาประชารฐั มีการสำรวจสภาพปัจจุบนั ปัญหา ความต้องการ โดยใช้เทคนคิ SWOT
วางแผน เพื่อออกแบบนวตั กรรมรูปแบบการบริหาร
2. จัดลำดบั ความสำคัญ กำหนดปญั หาและความต้องการพัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรู้กลมุ่ สาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3. วางแผนเพื่อออกแบบนวัตกรรมรูปแบบการบริหาร โดยการใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรยี นทุง่ กลุ าประชารัฐ โดยใชก้ ลยุทธ์ TUNKULA
MODEL
ข้นั ปฏิบัติ (D : Do)
กลยุทธ์ที่ 1 T : Team Shared Vision คือ ทมี สำหรบั การสร้างวิสยั ทัศนร์ ่วมกนั
1. ประชุมครแู ละบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา และผปู้ กครองนักเรียน เพอ่ื สร้าง
ความรคู้ วามเข้าใจและความตระหนักของการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ของนักเรียนโรงเรยี นทุ่งกุลาประชารัฐ
2. จัดทำวสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ในการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นรู้กลุ่มสาระการ
เรยี นรู้วิทยาศาสตร์
3. จัดทำโครงการ/กจิ กรรมการที่เก่ียวขอ้ งกับการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ โดยใช้ DLTV
กลยุทธท์ ่ี 2 U : Up DLTV Power Board คอื ยกระดบั คณะกรรมการขบั เคลื่อน DLTV
แตง่ ตั้งคณะกรรมการขับเคลือ่ นการจดั การเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้
DLTV ซงึ่ ประกอบดว้ ย
1. คณะกรรมการอำนวยการมหี น้าทใ่ี หค้ ำปรกึ ษาและสนบั สนนุ การจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระ
การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ DLTV
2. คณะกรรมการดำเนินงานจัดการเรยี นการสอนกลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ DLTV
3. คณะกรรมการฝ่ายเทคนคิ มหี นา้ ทด่ี ำเนินการแก้ปัญหาและประสานงานการซ่อมบำรุงรักษาชุด
อปุ กรณ์ DLTV ให้สามารถพร้อมใชง้ าน
4. คณะกรรมการนิเทศ กำกับ ตดิ ตาม การจดั การเรยี นการสอนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์โดย
ใช้ DLTV
กลยุทธท์ ่ี 3 N : New Discover คือ การศึกษาคน้ คว้าความรู้ งานวิจัยใหม่
การบริหารจดั การให้ครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 6
ดำเนินการจัดทำวจิ ยั ในชัน้ เรียนในสาระการเรียนร้ตู ่าง ๆ ท่ีจดั การเรียนการสอนโดยใช้สือ่ DLTV เพือ่
แกป้ ญั หาผเู้ รียน และนำผลไปใช้ในการวางแผนพฒั นาผเู้ รียนตอ่ ไป
กลยุทธท์ ี่ 4 K : Key Performance Indicator คอื ปัจจัยสำคญั ในการขับเคลื่อนไปสู่
ความสำเรจ็
ดำเนนิ การบริหารจดั การท่ี เปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝา่ ยที่เกย่ี วข้องไดม้ สี ่วนร่วมในการดำเนนิ งาน
โดยใช้เทคนคิ 5 ร ประกอบด้วย รว่ มคิด ร่วมทำ รว่ มแก้ปัญหา ร่วมรับผดิ ชอบ และร่วมภาคภูมิใจ
กลยทุ ธ์ที่ 5 U : Upper Human Resource คอื ยกระดับทรพั ยากรมนษุ ย์
ดา้ นครผู ูส้ อน
1. การจดั การเรียนการสอนแบบประจำชัน้
2. มกี ารอบรมพฒั นาครผู ู้สอนในเร่อื งของการจัดการเรียนรูด้ ้วย DLTV
3. มีการนเิ ทศกำกับติดตามการดำเนนิ การจดั การเรียนรู้ดว้ ย DLTV
4. มกี ารเสรมิ กำลงั ใจในการเชดิ ชูเกียรติในการพฒั นาผเู้ รียน
ดา้ นผู้เรยี น
1. จดั ให้มรี ะบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
2. ระบบคดั กรอง ดำเนนิ การคัดกรองนกั เรยี นกลมุ่ ที่มีพฒั นาการปกติและนักเรียนที่มีความ
บกพร่องทางการเรียนรู้ประเภทตา่ ง ๆ เพ่ือพัฒนาตามศักยภาพแต่ละบุคคล
3. นักเรยี นกล่มุ ที่มีพัฒนาการปกติ จัดใหเ้ ข้าเรยี นในหอ้ งเรียนที่จดั การเรียนการสอนโดยใช้
สื่อ DLTV โดยมีคณุ ครปู ระจำชัน้ ดำเนนิ การจดั การเรียนรู้
4. นกั เรียนทม่ี ีความบกพร่องทางการเรยี นร้ปู ระเภทตา่ ง ๆ จัดให้เข้าเรยี นในห้องนักเรยี น
เรยี นรวม จดั การเรยี นการสอนโดยคณุ ครูเฉพาะทางจากศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ องค์การบรหิ ารส่วนจังหวดั สุ
ราษฎรธ์ านี และมีการบรู ณาการใช้สื่อ DLTV ในเร่ืองทเ่ี หมาะสมกับความสามารถของนกั เรยี นตามศกั ยภาพ
กลยุทธ์ท่ี 6 L : Last Feedback คือ การสะท้อนผลการปฏิบตั ิครง้ั สดุ ท้าย
เป็นการสะท้อนการกระทำที่ผปู้ ฏบิ ตั สิ ามารถมองเห็นตนเองภายใตบ้ รบิ ทจากประสบการณข์ อง
ตนเองดว้ ยวิธกี ารเผชญิ เข้าใจ และแก้ไขปัญหาจากการปฏิบตั ิงานของตนเองท้ังทีต่ ้องการและจากการปฏบิ ตั ิ
จริง จากการใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนทุ่ง
กุลาประชารฐั โดยใชก้ ลยทุ ธ์ TUNKULA MODEL โดยการดำเนนิ การดงั นี้
1. ประชุมครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ผปู้ กครองนักเรยี น การประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษา
เพอื่ สะท้อนประสบการณใ์ นปีการศึกษาที่ผา่ นมาเพ่ือถอดบทเรยี น
2. SWOT จดุ ออ่ น จุดแขง็ โอกาส และอุปสรรคในการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนท่งุ กลุ าประชารัฐ
3. วางแผนจัดทำโครงการ/กิจกรรม ที่ใชใ้ นการพฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ต่อไป
กลยุทธท์ ่ี 7 A : Application & Activities กิจกรรมการเรียนการสอนเวบ็ ไซต์ DLTV
1. การบรหิ ารจัดการด้านการจัดการเรียนการสอนได้ใช้สือ่ DLTV ในการจัดการเรียนรู้ทุกชน้ั เรียน
2. ใช้แผนการจัดการเรยี นรู้ DLTV ดาวนโ์ หลดเอกสารการสอนจากเว็บไซต์ DLTV โดยครูมีการ
เตรยี มการสอนลว่ งหนา้
3. การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้ Application DLTV ทั้งในส่วนของ Web site และ Application
บนมอื ถือ รวมท้ังการเรยี นแบบ ON-AIR
ข้นั ตรวจสอบ (C : Check)
ดำเนนิ การตรวจสอบ (Check) เปน็ การประเมนิ ผลและตรวจสอบการใช้ DLTV ในการพัฒนา
ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ของโรงเรียนทุง่ กลุ าประชารฐั โดยใชก้ ลยุทธ์
TUNKULA MODEL ตามเปา้ หมายของผลสำเร็จไว้ และนำผลการตรวจสอบไปใช้ในขัน้ ตอนปรบั ปรงุ แกไ้ ข
(Action)
ข้ันปรบั ปรงุ แกไ้ ข (A : Action)
ดำเนินการปรับปรุงแก้ไข (Action) และเผยแพร่ขยายผลการดำเนินงานสู่โรงเรียนและหนว่ ยงานอนื่ ๆ
เพ่อื ความย่ังยนื ต่อไป
8. ผลการดำเนนิ งาน/ผลสมั ฤทธ์/ิ ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับ
จากการบริหารจัดการสถานศึกษาเพือ่ พฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นท่งุ กุลาประชารัฐ โดยใช้
รปู แบบ TUNKULA Model สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ ดงั ตอ่ ไปนี้
8.1 ผลทีเ่ กิดกบั ผู้เรียน
1) นกั เรยี นผา่ นกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 ระดบั ดีขึ้นไป
คดิ เป็นร้อยละ 75.00 (รายงานการจัดการศกึ ษา ประจำปี 2564)
2) นกั เรยี นผ่านการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ระดับดี
ข้ึนไป คิดเปน็ ร้อยละ 100
3) นกั เรียนผ่านการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขียนระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6
ระดบั ดขี ้ึนไป คดิ เป็นร้อยละ 93.75
4) นักเรียนผา่ นการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียนระดับดีขึน้ ไป คิดเปน็ ร้อยละ 100
5) ผลการประมินระดบั ชาติ O-Net กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ของนักเรยี นชนั้
ประถมศึกษาปที ี่ 6 ปีการศึกษา 2564 คะแนนเฉลี่ย 35.31 สูงกว่าระดับประเทศ คะแนนเฉล่ีย 34.31
9. ปจั จยั แห่งความสำเร็จ
ความสำเร็จของการใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ของโรงเรียนทงุ่ กลุ าประชารฐั โดยใชก้ ลยทุ ธ์ TUNKULA MODEL ดังนี้
9.1 สถานศกึ ษามีการสะท้อนข้อมลู จากผทู้ ่มี สี ว่ นเกยี่ วข้อง เพอ่ื นำขอ้ มูลมาใช้ในการการวเิ คราะห์
บริบทของโรงเรยี นดว้ ยวิธี SWOT
9.2 ผู้เกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการสรา้ งวสิ ยั ทัศน์ในการกำหนดทิศทางส่เู ปา้ หมายการ บริหาร
โรงเรยี นให้ไดม้ าตรฐานและมีคณุ ภาพ
9.3 สถานศกึ ษามีการกำหนดเป้าหมายท่ชี ดั เจนโดยการจดั ทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปี พรอ้ มดำเนินงานมุ่งไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
9.4 ครแู ละบคุ ลากรในโรงเรียน มกี ารปฏิบัตงิ านตามท่ีไดร้ ับมอบหมายด้านการจัดการเรียนการสอน
กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์แบบมีส่วนรว่ ม มคี วามมพนั ธอ์ นั ดรี ะหว่างกัน โดยการร่วมคิด ร่วมวางแผน
การรว่ มปฏิบตั ิ ร่วมรบั ผิดชอบ และร่วมภาคภมู ิใจ
9.5 การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้ DLTV โดยใช้กลยุทธ์ TUNKULA MODEL มีกระบวนการ
ดำเนินงานอย่างชัดเจนและสามารถปฏบิ ัติได้จริงอย่างเปน็ ข้นั ตอน ทำใหเ้ กิดประสิทธผิ ลในการดำเนินการตาม
เป้าหมายที่ไดก้ ำหนดไว้
10. บทเรียนที่ไดร้ บั (Lesson Learned)
การดำเนินงานการใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
ของโรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั โดยใช้กลยุทธ์ TUNKULA MODEL ทาํ ให้เกิดการเปลยี่ นแปลงขน้ึ ในโรงเรยี น
ทงุ่ กลุ าประชารฐั โดยคณะกรรมการสถานศึกษา ผบู้ ริหาร ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มีการพัฒนางาน
รว่ มกันด้วยความจริงจังในการปฏิบัตงิ าน การทาํ งานเปน็ ทีม รว่ มคิด รว่ มวางแผน รว่ มทำ ร่วมรับผดิ ชอบ
และร่วมภาคภูมใิ จ ส่งผลให้งานประสบผลสําเรจ็ ตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้
11. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรบั /รางวลั ทไี่ ดร้ ับ
จากการดำเนนิ งานการใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรข์ องโรงเรยี นทุ่งกุลาประชารฐั โดยใช้กลยทุ ธ์ TUNKULA MODEL ไดม้ ีการนำเสนอผลการจดั
กิจกรรมในโรงเรยี นทุ่งกุลาประชารัฐ โดยโรงเรยี นในศูนย์เครือข่ายฯ กลุ่มเครือขา่ ย ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ
ออนไลน์ตา่ ง ๆ
บทความแรงบนั ดาลใจ
การนำหลกั สูตรสถานศึกษาสูก่ ารจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทปี่ ระสบผลสำเรจ็
ประจำปีการศึกษา 2565 ครูผู้สอนยอดเย่ียม กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย
เรื่อง การใช้ DLTV ในการพัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นกล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
ของโรงเรียนทุ่งกลุ าประชารัฐ สพป.ร้อยเอด็ เขต 2 โดยใชก้ ลยุทธ์ TUNKULA MODEL
***************
ข้าพเจ้า ครขู วญั ชยั สมสขุ ครูโรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั ตำบลดงครั่งน้อย
อำเภอเกษตรวสิ ัย จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด ที่ซมึ ซับกระบวนการการจัดการเรยี นรู้ โดยการนำ
หลักสตู รสถานศกึ ษาสู่การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทปี่ ระสบผลสำเร็จ และได้
นำมาปรับใชใ้ นการเรยี นการสอนนักเรียนเพ่ือใหเ้ กิดการพัฒนาการเรียนรูอ้ ยา่ งมี
ประสิทธภิ าพ กลน่ั กระบวนการของหลักสตู รสถานศึกษาสู่นวัตกรรมการเรยี นการสอน
เพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ระดับชัน้
ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั
ขา้ พเจา้ ได้รบั มอบหมายให้สอนในวชิ าวิทยาศาสตร์ ในชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4
- 6 ตั้งแตป่ ีการศึกษา 2563 เป็นต้นมา ได้มี
โอกาสเขา้ รับการพัฒนาในการจัดการเรยี น
การสอนวทิ ยาศาสตร์ในหลายหลักสูตร
ประกอบกับการจัดการเรยี นการสอนในชว่ งน้ี
อยู่ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ ทำให้มีการ
ปรบั เปล่ยี นรปู แบบการจัดการเรียนการสอนบ่อยครง้ั ประกอบกับ
ข้าพเจ้าสำเร็จการศึกษาในวชิ าเอกคอมพิวเตอร์ ทำให้ความรู้ในวิชา
วทิ ยาศาสตร์ยงั ไม่แม่นยำชัดเจนพอ แต่ข้าพเจา้ มีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งความรู้ต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องได้
เปน็ อย่างดี ประกอบกบั นโยบายให้นำการจัดการเรียนทางไกลเข้ามาใช้ เม่อื ปีการศึกษา 2563 มีการจดั การ
เรยี นการสอนโดยใช้ DLTV เตม็ รูปแบบ พบว่า ผลการทดสอบ O-NET วิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่ิมสูงขนึ้ ทำให้
ข้าพเจา้ มคี วามมนั่ ใจท่ีจะนำ DLTV มาใชใ้ นปกี ารศกึ ษา 2564 ตอ่ ไป จากการใช้ DLTV พบวา่ ส่งิ ท่ีไดร้ ับมานน้ั
เป็นองค์ความร้ชู ั้นดี ทน่ี ำมาเน้นการพฒั นานักเรยี นเปน็ อย่างมาก มีการสร้างแรงบนั ดาลใจ กล้าแสดงออก
กล้าเสนอความคิดและคดิ ค้นนวัตกรรมเพ่ือแก้ปญั หาการจัดการเรียนการสอน และในท้ายสุดไดเ้ กิดเป็นผลงาน
นวัตกรรม นนั่ คือผลงาน การใช้ DLTV ในการพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์
ของโรงเรียนทุ่งกลุ าประชารฐั สพป.ร้อยเอด็ เขต 2 โดยใชก้ ลยุทธ์ TUNKULA MODEL
ส่ิงท่ีได้สมั ผสั และซึมซบั จากการจดั การเรียนการ
สอนโดยใช้ DLTV ดังกลา่ วข้างตน้ น้นั จึงไดจ้ ดุ ประกายใหม้ ี
ความคิด ท่ีจะปรบั ปรงุ และพัฒนาการเรยี นการสอนของ
โรงเรยี นทุ่งกุลาประชารัฐ โดยไดค้ ดิ ปญั หาและการวเิ คราะห์
เหตแุ ละผลมาใช้ ประกอบกับการนำองคค์ วามรู้ทีไ่ ดร้ ับการ
พัฒนาของศาสตร์ทง้ั หลายทีม่ ีความเชื่อมโยงกัน จนเกิดเปน็
นวตั กรรมการเรียน การใช้ DLTV ในการพัฒนาผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ของโรงเรียนทุ่งกุลาประชารฐั สพป.ร้อยเอ็ด เขต 2 โดยใชก้ ล
ยทุ ธ์ TUNKULA MODEL
ภาคผนวก