The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สังคมแห่งการเรียนรู้
ผศ.ดร.มิ่งขวัญ คงเจริญ
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

โครงการวิจัย :
การพัฒนาการเรียนรู้และศักยภาพของคนจนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาด้วยตนเอง
งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกลุ่ม Basic Research Fund ปีงบประมาณ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phuvagrid, 2022-12-29 02:10:02

สังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society)

สังคมแห่งการเรียนรู้
ผศ.ดร.มิ่งขวัญ คงเจริญ
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

โครงการวิจัย :
การพัฒนาการเรียนรู้และศักยภาพของคนจนกลุ่มเป้าหมายเพื่อแก้ปัญหาด้วยตนเอง
งบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกลุ่ม Basic Research Fund ปีงบประมาณ 2564

Keywords: เปลี่ยนเกษียณเป็นพลัง

ชุดการเรียนรู้ :

สงั คมแหง่ การเรียนรู้ (LEARNING SOCIETY)

ผศ.ดร.มิ่งขวญั คงเจริญ
คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ

โครงการวิจยั :

การพฒั นาการเรียนรแู้ ละศกั ยภาพของคนจนกลุ่มเป้าหมายเพ่อื แกป้ ัญหาดว้ ยตนเอง
งบประมาณดา้ นวทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรมกลุม่ Basic Research Fund ปี งบประมาณ 2564

สงั คมแหง่ การเรียนรู้

ความหมาย

หลกั การ ความสาคญั
คุณลกั ษณะ

องคป์ ระกอบ

หนา้ 1

สงั คมแห่งการเรียนรู้

ความหมาย

กระบวนการทางสังคมที่เก้ ือหนุนส่งเสริมให้
บุคคลหรือสมาชิกในชุมชน/สงั คมเกิดการเรียนรูโ้ ดย
ผ่านสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ แหล่งการเรียนรู้ องคค์ วามรู้
ต่างๆ จนสามารถสรา้ งความรู้ สรา้ งทกั ษะ มีระบบการจดั การ
ความรูแ้ ละระบบการเรียนรูท้ ี่ดี มีการถ่ายทอดความรูแ้ ละ
แลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ่วมกบั ทุกภาคส่วนในสงั คม (ดร.อนันท์
งามสะอาด)

ความหมาย

สังคมแห่งการเรียนรู้เป็ นสังคมแห่งภูมิปั ญญา
ตระหนักถึงความสาคญั ความจาเป็ นของการเรียนรูท้ ี่ทุกคน
และทุกส่วนในสังคม มีความใฝ่ รูแ้ ละพรอ้ มท่ีจะเรียนรูอ้ ยู่
เสมอ การเรียนรูต้ ลอดชีวิตเป็ นเร่ืองที่เกิดข้ ึนและมีความ
ต่อเนื่องเป็ นปกติวิสัยในชีวิตประจาวนั ของคนทุก เป็ นการ
เรียนรทู้ ี่เกิดข้ ึนไดใ้ นทุกเวลา ทุกสถานที่ ของคนทุกคนในทุก
สภาพแวดลอ้ ม (Mrs.Ratsmee Snorsiang)

หนา้ 2

สงั คมแหง่ การเรยี นรู้

ความสาคญั

คนจะพัฒนาตนเองได้ต้องแสวงหาความรู้อยู่
เสมอ ถ้ามีแหล่งความรู้ให้ศึกษาค้นควา้ มีระบบ
เ ท ค โ น โ ล ยี ส า ร ส น เ ท ศ เ พื่ อ ส่ ง ท อ ด ค ว า ม รู้
มีเครือข่ายคอมพิวเตอรใ์ หเ้ ขา้ ถึงความรูแ้ ละคนรูจ้ กั
วิธีแสวงหาความรูย้ ่ิงสามารถเรียนรูส้ ่ิงใหม่ ๆ ได้
มากข้ ึน เม่ือเรียนรูไ้ ดม้ ากข้ ึนก็สามารถสรา้ งความรู้
ใหม่ไดม้ ากข้ ึน เม่อื นามาบรู ณาการระหวา่ งความรูเ้ ก่า
กบั ความรูใ้ หม่ก็จะเกิดความรูใ้ หม่ข้ ึนมาอีก สามารถ
นาไปใชป้ ระโยชน์ไดม้ ากข้ ึน เป็ นวงจรที่ต่อเนื่องไม่

ส้ ินสุดที่เรียกวา่ วงจรแหง่ การเรยี นรู้

หนา้ 3

สงั คมแหง่ การเรยี นรู้

หลกั การ

• การศึกษาและการเรียนรูเ้ ป็ นกลไกสาคญั ต่อการ
แกป้ ัญหาและการพฒั นา

• การมสี ่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคสว่ นใน
สงั คม

• ชุมชนเป็ นฐานของการพฒั นากระบวนการเรียนรู้
โดยใชศ้ กั ยภาพและทรพั ยากรในชุมชนเป็ นหลกั

• การบรู ณาการ การเรียนรู้ การดารงชีวติ และการ
ประกอบอาชีพอยา่ งผสมกลมกลืน

หนา้ 4

สงั คมแหง่ การเรยี นรู้

คณุ ลกั ษณะ

• ไมจ่ ากดั ขนาดและสถานที่ต้งั
• เนน้ การจดั การเรียนรูเ้ ป็ นปัจจยั หลกั
• ประชาชนไดร้ บั โอกาสการพฒั นา
• สถาบนั ทางสงั คมในพ้ ืนท่ีเป็ นตวั หลกั ในการริเร่ิม/

ดาเนินการ
• มีกลุม่ ภาคประชาชนเป็ นแกนกลาง เพื่อรวมตวั กนั จดั

กิจกรรมพฒั นาชุมชน
• มีการพฒั นานวตั กรรมและระบบการเรียนรู้
• มีภาคีเครือขา่ ยท่ีร่วมดาเนินการอยา่ งต่อเนื่อง
• การริเริ่ม/การเปลี่ยนแปลงมีอยตู่ ลอดเวลา
• สถานศึกษาเป็ นส่วนหน่ึงของชุมชนแหง่ การเรียนรู้
• ความรบั ผิดชอบเป็ นหนา้ ท่ีของบุคคลและชุมชน

ร่วมกนั
• ทุกคนเป็ นครแู ละผเู้ รียน

ขอ้ มลู จาก ดร.อนันท์ งามสะอาด หนา้ 5

การจดั การความรู้องคป์ ระกอบทส่ี าคญั ของสงั คมแห่งการเรียนรู้
การจดั การความรู้
การจดั การความรู้
องคค์ วามรู้

บุคคลแห่งการเรยี นรู้
การเรียนรูต้ ลอดชีวิต
แหลง่ การเรียนรู้
การจดั การความรู้

หน้า 6

บุคคลแห่งการเรยี นรู้

• ตระหนักถึงความสาคญั ความจาเป็ นของการเรียนรู้
• มีทกั ษะและกระบวนการในการคิด การวเิ คราะห์ และ
การแกป้ ัญหา
• มีความใฝ่ รสู้ ามารถสรา้ งกระบวนการเรียนรดู้ ว้ ย
ตนเองและสามารถใชค้ วามรไู้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
เหมาะสม
• มโี อกาสและสามารถเลือกท่ีจะเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่อง
ตลอดช่วงอายุแต่ละวยั ดว้ ยรปู แบบที่หลากหลาย
ยดื หยุน่ และมีคุณภาพตามความตอ้ งการ ความสนใจ
และความถนัด

หนา้ 7

แหลง่ การเรยี นรู้

มแี หล่งเรียนรูอ้ ยา่ งเพียงพอ มีระบบขอ้ มูล สารสนเทศ
หลากหลาย ทวั่ ถึง แหล่งการเรียนรูท้ ุกประเภท

มีการจดั ระบบเครือขา่ ย
เชื่อมโยงแหลง่ การเรียนรู้

มีการพฒั นาทรพั ยากร
การเรียนรูท้ ี่มอี ยูใ่ นสงั คม
ใหเ้ ป็ นแหล่งการเรียนรู้

หนา้ 8

องคค์ วามรู้

มรี ะบบการจดั หา มกี ารพฒั นาระบบสารสนเทศ
และรวบรวมความรู้ เพอื่ การจดั เก็บและคน้ ควา้
องคค์ วามรูไ้ ดอ้ ยา่ งรวดเร็ว

มกี ารสรา้ งสรรค์ มีการสรา้ งองคค์ วามรู้
องคค์ วามรใู้ หมๆ่ หรือเน้ ือหาการเรียนรู้
ท่ีสอดคลอ้ งกบั กระแส ที่สอดคลอ้ งเหมาะสม
การเปล่ียนแปลงของ กบั ศกั ยภาพและความ
สงั คมโลกและบริบท ตอ้ งการการเรียนรขู้ อง
ของสงั คมไทย บุคคลกลุ่มหรือชุมชน

หนา้ 9

การจดั การความรู้

 พฒั นารปู แบบการเรียนรทู้ ่ีหลากหลาย
 พฒั นาบุคคล องคก์ ร ผูด้ าเนินงานในการ

จดั การความรู้
 พฒั นากลไก กระบวนการถ่ายทอดความรู้
 การสรา้ งบรรยากาศเพื่อเอ้ ือต่อการเรียนรู้
 มีการบรู ณาการใชค้ วามรเู้ ป็ นฐานในการ

แกป้ ัญหาและการพฒั นาที่เหมาะสมกบั สภาพ
ของชุมชน

หนา้ 10

องคป์ ระกอบการเสรมิ สรา้ ง

ความยงั ่ ยนื ของชุมชนแห่งการเรยี นรู้

• การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน โดยการเป็ นสมาชิก
และมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมของกลุ่ม

• การนาแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งมาสู่การปฏบิ ตั ิในชุมชน
• ระบบคุณธรรม จริยธรรม ในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ

ผ่านขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชนตามเทศกาลต่างๆ
และวฒั นธรรมทอ้ งถิ่นที่เกิดจากกระบวนการถ่ายทอดและ
กระบวนเรียนรูข้ องชุมชน
• การพัฒนาระบบเศรษฐกิจมีลักษณะอาชีพ รายได้ของ
ครวั เรือน เป็ นการพึ่งตนเอง และจดั ระบบตลาดในชุมชน
เพื่อการแลกเปลี่ยนผลผลิตระหว่างชุมชนต่อชุมชน และ
ระหวา่ งผผู้ ลิตกบั ผบู้ ริโภค
• ระบบการเรียนรู้ โดยมีภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเป็ นแกนกลาง
ผ่านการศึกษานอกระบบ

ขอ้ มลู จาก ผศ.ดร.ม่ิงขวญั คงเจริญ หน้า 11

องคป์ ระกอบการเสริมสรา้ ง

ความยงั ่ ยนื ของชุมชนแห่งการเรียนรู้ (ตอ่ )

• ก า ร พัฒ น า อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ ฟ้ ื น ฟู ร ะ บ บ นิ เ ว ศ แ ล ะ
สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ ือต่อวิถีชีวิต ไดแ้ ก่ การอนุรักษ์ดิน
แหล่งน้า ป่ าไม้ ภูเขา การปลูกป่ าทดแทน การกาจดั ของเสีย
และการไมใ่ ชย้ าฆา่ แมลง หรือสารพิษต่างๆ

• ระบบทุ นของชุ มชน ที่ มีรูปแบบและวิธี การทาง
วัฒนธรรมเขา้ มามีบทบาท ในดา้ นการระดมทุน การ
บริหารจัดการ ไดแ้ ก่ กลุ่มออมทรัพย์ กองทุนหมู่บา้ น
นอกจากน้ ียงั มีการทาบญั ชีครวั เรือน

• ความเสมอภาคความยุติธรรมในการจดั การของชุมชน
แสองออกในรูปแบบของหลักประชาธิปไตย และระบบ
การไกล่เกลี่ยภายในชุมชนแบบเป็ นทางการและไม่เป็ น
ทางการ

• การสรา้ งหลกั ประกนั ความมนั่ คงในการดารงชีวิตร่วมกนั
ผ่านระบบการออม และการมีธนาคารชุมชน

ขอ้ มลู จาก ผศ.ดร.มิ่งขวญั คงเจรญิ หน้า 12

คาถาม...ชวนคิด

บุคคลแหง่ การเรียนรู้
องคก์ รแหง่ การเรียนรู้

ชุมชนแหง่ การเรียนรู้

สงั คมแหง่ การเรียนรู้

หน้า 13

บคุ คลแห่งการเรยี นรู้

• ผู้ ที่ มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ นิ สั ย ใ ฝ่ รู้
ใฝ่ เรียน

• มีพฤติกรรมที่แสดงออกถึงความ
กระตือรือรน้ สนใจเสาะแสวงหา
ความรูอ้ ยเู่ สมอ

• มุ่งมัน่ ที่จะเพ่ิมประสิทธิภาพใน
ก า ร เ รี ย น รู้แ ล ะ ส า ม า ร ถ น า
ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้อย่าง
เหมาะสม

• การเรียนรูอ้ าจทาไดห้ ลายวิธี เช่น อ่านหนังสือหรือวารสารท่ี
มีประโยชน์ ดูรายการโทรทัศน์หรือฟังวิทยุที่มีสาระ คน้ ควา้ หา
ความรูโ้ ดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ซกั ถามขอ้ มูลจากผูร้ ู้
รวมท้งั สามารถจบั ใจความสาคญั เพื่อแยกแยะและเลือกสาระ
ขอ้ มูลท่ีไดม้ าอยา่ งมีเหตุผล

• ทกั ษะพ้ ืนฐานสาคญั ต่อการเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ไดแ้ ก่
การฟัง การคิด การอา่ น การถาม การเขียน การลงมือทา

หนา้ 14

องคก์ รแห่งการเรียนรู้

 องค์กรที่ยกระดับคุณภาพด้วยการจัดการความรู้
มีการพัฒนาปรับปรุงให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ ท้ังด้าน
ผลิตภัณฑ์/บริการ/กระบวนการทางาน เพื่อเพ่ิม
ประสิทธิผลในการดาเนินการใหบ้ รรลุเป้าหมาย

 ลกั ษณะสาคญั ขององคก์ รแห่งการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ มีการ
แกป้ ัญหาอย่างเป็ นระบบ การทดลองปฏิบตั ิ การเรียนรู้
จากบทเรียนในอดีต การบันทึกขอ้ มูลเป็ นกรณีศึกษา
และมกี ารเรียนรจู้ ากผอู้ ื่น

 แนวทาง 5 ประการในการสรา้ งองค์การแห่งการ
เรียนรู้ ไดแ้ ก่ การเรียนรขู้ องสมาชิกในองคก์ ร ความเช่ือ
และทัศนคติ การมีวิสัยทัศน์ ร่วมกันของคนใน
องคก์ าร การเรียนรูเ้ ป็ นทีม และระบบการคิดของคน
ในองคก์ าร

หนา้ 15

ชุมชนแห่งการเรียนรู้

• ชุมชนที่มีการดาเนินชีวิตเพ่ือส่วนรวมอันเกิดจากความคิด และการ
ปฏิบตั ิร่วมกนั เป็ นชุมชนท่ีทางานไปพรอ้ มๆ กบั การเรียนรู้ การสงั่ สม
ความรู้ และการ สรา้ งความรูใ้ หม่เพ่ือนาไปพฒั นางานและชีวิต ซึ่งมี
ความเก่ยี วขอ้ งกบั การเรยี นรู้ การปฏิบตั ิ การทบทวนและประเมินตนเองอยู่
ตลอดเวลา

• องคป์ ระกอบการเสริมสรา้ งความยงั่ ยืนของชุมชนแหง่ การเรยี นรู้ ไดแ้ ก่

1. การมสี ่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
2. การนาแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งมาสกู่ ารปฏิบตั ิในชุมชน
3. ระบบคุณธรรมจริยธรรมในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ และกระบวนการถ่ายทอด
เรียนรขู้ องชุมชน
4. การพฒั นาระบบเศรษฐกิจเพ่อื การพึ่งตนเอง
5. ระบบการเรียนรโู้ ดยมีภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินเป็ นแกนกลาง
6. การพฒั นาอนุรกั ษ์และฟ้ ื นฟูระบบนิเวศและสภาพแวดลอ้ มที่เอ้ ือต่อวิถีชีวติ
7. ระบบทุนของชุมชนท่ีมรี ูปแบบและวธิ ีการทางวฒั นธรรม
8. ความเสมอภาคความยุติธรรมในการจดั การของชุมชน
9. การสรา้ งหลกั ประกนั ความมนั่ คงในการดารงชีวติ ร่วมกนั

หน้า 16

สงั คมแห่งการเรยี นรู้

• กระบวนการทางสงั คมท่ีเก้ ือหนุน ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคล และสมาชิกใน
ชุมชน สังคม ให้เกิดการเรียนรู้โดยผ่านทางส่ือ เทคโนโลยี
สารสนเทศแหล่งการเรียนรูต้ ่าง ๆ จนสามารถสรา้ งความรู้ ทักษะ
ระบบการจัดการความรูแ้ ละระบบการเรียนรูท้ ่ีดี มีการถ่ายทอด
ความรู้ แลกเปลี่ยนความรูร้ ่วมกนั ทุกภาคส่วนในสงั คมทาใหเ้ กิด
พลงั สรา้ งสรรค์ และเกิดภูมิปัญญา ตระหนักถึงความสาคัญ ความ
จาเป็ นของการเรียนรูท้ ี่ทุกคนและทุกส่วนในสงั คมมีความใฝ่ รูแ้ ละ
พรอ้ มท่ีจะเรียนรูอ้ ยเู่ สมอตลอดชีวติ จนส้ ินอายุขยั เป็ นการเรียนรูท้ ่ี
เ กิ ด ข้ ึ น ไ ด้ใ น ทุ ก เ ว ล า ทุ ก ส ถ า น ที่ ข อ ง ค น ทุ ก ค น ใ น ทุ ก
สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม เป็ นการเรียนรูเ้ พื่อใหบ้ ุคคลในสังคม
เกิดการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ สังคม และ
สติปัญญาไปในทางที่ดีข้ ึน
• องค์ประกอบที่สาคัญของสังคมแห่งการ
เรียนรู้ คือ บุคคลแห่งการเรยี นรู้ แหล่งการ
เรยี นรู้ องคค์ วามรู้ และการจดั การความรู้

หนา้ 17

สงั คมแหง่ การเรยี นรู้...คือ

คำตอบของกำรพฒั นำอยำ่ งย่งั ยนื ...

หน้า 18


Click to View FlipBook Version