The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ronnayut06979, 2022-09-06 10:44:12

คู่มือ km

คู่มือ km





คำนำ
คู่มือการจัดการความรู้ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ จัดทำขึ้นเพื่อใช้
ดำเนินงาน การจัดการความรู้ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ซึ่งสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑ มุ่งเน้นให้สำนัก/หน่วยงานจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานในกระบวนการท่ี
สำคญั เพอ่ื นำไปใช้ในการ ขบั เคลอ่ื นสูก่ ารปฏบิ ัตงิ าน
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มอื การจัดการความรู้จะ
เป็นประโยชน์แก่ บุคลากรผู้ปฏิบัติงานและผู้ที่เกี่ยวข้องให้สามารถดำเนินงานการจัดการความรู้ได้อย่างถูกต้อง
ครบถ้วน มวี ธิ กี ารรวบรวมและถา่ ยทอดความรู้ของบคุ ลากรและความรู้ท่ีเก่ยี วข้องเพ่ือใชใ้ นการสร้างนวัตกรรมและ
กระบวนการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์เกิดการเรียนรู้ระดับองค์การ เครือข่าย ผู้ส่งมอบ พันธมิตรและผู้ให้ ความ
ร่วมมือ แบ่งปันและนำวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศไปดำเนินการ เพื่อให้การเรียนรู้ฝังลึกลงไปในวิธีปฏิบัติงาน เป็นการ
จัดการและเพิ่มพูนสินทรัพย์ทางความรู้และวิธีการเรียนรู้ ทำให้เกิดความรู้ความเข้าใจแนวทาง ปฏิบัติงานการ
ดำเนินงานการจัดการความรู้นำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างแท้จริงและเป็น ประโยชน์สำหรับการ
ขับเคลื่อนภารกิจหนว่ ยงานและพฒั นาองค์การในอนาคต

สำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษานครพนม เขต ๑

สารบญั ข

คำนำ หนา้
สารบญั ก
๑. ทฤษฎีและหลักการการจัดการความรู้ในองค์กร ข
1
๑.๑ ทีม่ าและความสำคัญของการจดั การความรูใ้ นองคก์ ร 1
๑.๒ องค์ประกอบในการจัดการความรู้ 2
๑.๓ ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อความสำเรจ็ (Key Success Factors) ของการจดั การความรู้ 5
๑.๔ ขอบเขตการจัดการความรู้ (KM Focus Area) 7
๑.๕ เป้าหมาย 7
๒. ขนั้ ตอนการจดั ทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan) 8
ขนั้ ตอนที่ ๑ : กำหนดโครงสร้างทีมงานการจดั การความรู้ 8
ขน้ั ตอนท่ี ๒ : กำหนดแผนกลยุทธก์ ารดำเนนิ งาน KM ตามกระบวนการจดั การความรู้ 8
ขนั้ ตอนที่ ๓ : จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารการจดั การความรู้ 8
ข้นั ตอนท่ี ๔ : รายงานผลการจัดการความรู้ 8

1

การจดั การความรู้
(Knowledge Management หรอื KM)

๑. ทฤษฎีและหลกั การการจัดการความรู้ในองค์กร
๑.๑ ที่มาและความสำคัญของการจัดการความรู้ในองค์กร (Knowledge Management หรือ KM)

เป็นกระบวนการรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้
เป็นระบบ เพื่อให้บุคลากรทุกคน สามารถเข้าถึง ความรู้พัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้และนำความรู้ไปใช้ในการ
ปฏิบัติงานและพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เกิดการพัฒนาฐานความรู้หรือทุนปัญญาขององค์กรอย่าง
ต่อเนื่อง ส่งผลให้องค์กรเป็นองค์การแห่ง การเรียนรู้ (Learning Organization หรือ LO) ที่สามารถเพิ่มขีด
สมรรถนะในเชิงแข่งขันไดส้ งู สดุ ท้ังนี้องคค์ วามรใู้ นองค์กรมี ๒ ประเภท ไดแ้ ก่

๑. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit หรือ Codified Knowledge) คือความรู้ที่สามารถรวบรวม
ถา่ ยทอดได้ ดว้ ยวิธตี ่างๆ เชน่ การบนั ทกึ ทฤษฎี แนวปฏบิ ตั ิคู่มอื ตา่ งๆ

๒. ความรู้ที่ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์ หรือ
สัญชาตญาณของแต่ละบุคคล ซึ่งยากต่อการเล่าหรือเขียนออกมาให้ผู้อื่นทราบหรือเข้าใจ จ ำเป็นต้องอาศัย
กระบวนการต่างๆ เปลี่ยนให้เป็นความรู้ที่ชัดแจ้งซึ่งสามารถแลกเปลี่ยนกันได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการท ำงาน
งานฝมี อื การคดิ เชงิ วเิ คราะห์

2

๑.๒ องคป์ ระกอบในการจดั การความรู้
๑) คน (man)
ในการจัดการความรู้ คนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุด เนื่องจากคนเกี่ยวข้องกับการจัดการ

ความรสู้ ่วนบคุ คล
๒) เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology-IT)
ในเรื่องของการจัดการความรู้นั้นมีงานวิจัยเป็นจำนวนมาก ที่พยายามอธิบายความสัมพันธ์และ

บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการความรู้ ดังที่ปรากฏว่าเป็นเรื่องราวจำนวนมากที่แสดงถึงการ
จัดการความรู้ขององค์กรผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศแม้วา่ กระบวนการจัดการความรูเ้ ป็นกระบวนการที่ไม่ใช่
เทคโนโลยี แต่เทคโนโลยกี เ็ ปน็ ท่ถี ูกคาดหมายวา่ เปน็ เคร่ืองมือสำคญั อย่างหนงึ่ ทีจ่ ะช่วยใหก้ ารจดั การความรู้ประสพ
ความสำเร็จ

๓) กระบวนการจดั การความร้(ู Knowledge Management Process)
เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้เกิดพัฒนาของความรู้หรือการจัดการ ความรู้ที่จะเกิดขึ้นภายใน

องคก์ ร
๓.๑) กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process) สามารถ

จำแนกออกเปน็ ๗ ขัน้ ตอนดังน้ี

3

ทม่ี า ขั้นตอน (Process) คำอธบิ าย
เราตอ้ งมีความร้เู ร่ืองอะไร?
เรามคี วามรเู้ ร่ืองน้ันหรือยงั ? ๑. การบ่งชค้ี วามรู้ (Knowledge เปน็ การพิจารณาองค์ความรู้ท่ี

ความร้อู ย่ทู ี่ใคร? Identification) หรือ กำหนด จำเป็นตอ่ การบรรลวุ ิสยั ทัศน/์
อยใู่ นรปู แบบอะไร?
จะเอามาเก็บรวมกันได้อย่างไร? ประเดน็ ความรู้ พันธกิจ/เปา้ หมายขององค์กร และ

จะแบง่ ประเภทหวั ข้ออย่างไร? พิจารณาว่า องค์กรมอี งคค์ วามรู้นี้

จะทำให้เขา้ ใจง่ายและสมบูรณ์ หรอื ยงั อยู่ในรปู แบบใด หรอื อยทู่ ่ี
ได้อยา่ งไร?
บุคคลใด
เรานำความรมู้ าใชง้ านได้ง่าย
หรือไม?่ ๒. การสรา้ งและ แสวงหาความรู้ เป็นการสร้างองค์ความร้ใู หม่ หรือ

มีการแบ่งบนความรูใ้ ห้กนั (Knowledge Creation แสวงหาความรู้จากภายนอก หาก
หรือไม?่
and Acquisition) องค์ความรทู้ ่จี ำเปน็ ต่อองค์กรนน้ั

ยงั ไมม่ ีหรือมีไมเ่ พยี งพอ รวมถงึ

การรักษา ความรเู้ กา่ และการ

กำจดั ความรู้ที่ใช้ไม่ได้แลว้

๓. การจัดความรใู้ ห้ เปน็ ระบบ เป็นการวางโครงสร้างความรู้

(Knowledge Organization) เพ่อื เตรยี มพร้อมสำหรับการเกบ็

ความรอู้ ยา่ งเป็น ระบบในอนาคต

๔. การประมวลและกลน่ั กรอง เป็นการปรบั ปรุงรูปแบบ เนื้อหา

ความรู้ (Knowledge เอกสารหรอื องค์ความร้ใู ห้เป็น

Codification and Refinement) สมบูรณ์ มมี าตรฐาน และใช้ ภาษา

เดียวกนั

๕. การเขา้ ถงึ ความรู้ (Knowledge เป็นการทำใหผ้ ูใ้ ช้ความรู้สามารถ

Access) เขา้ ถงึ องค์ความรู้ท่ตี ้องการได้งา่ ย

สะดวก โดยอาจใช้ระบบ

เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT),

Web board หรือบอร์ด

ประชาสัมพันธม์ าชว่ ยเพ่ือ

อำนวยความสะดวก

๖. การแบ่งปันแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ทำได้หลายวิธีการ ดงั นี้

(Knowledge Sharing)

ความรู้นัน้ ทำใหเ้ กดิ ๗. การเรียนร(ู้ Learning) 4
ประโยชนก์ บั องค์กรหรือไม่?
๑. กรณีเป็นความรูท้ ช่ี ัดแจ้งอาจ
จัดทำเปน็ เอกสาร,ฐานความรู้,หรอื
เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ ต้น
๒.กรณีเปน็ ความรูท้ ฝี่ งั ลึกในบุคคล
อาจจัดทำเปน็ ระบบ ทีมข้ามสาย
งาน (Cross-functional Team),
กิจกรรมกลุ่มคณุ ภาพ และ
นวตั กรรม (Innovation &
Quality Circles : IQCs), ชมุ ชน
แหง่ การเรียนรู้หรอื ชุมชน
นักปฏิบัติ (Communities of
Practice: CoP), ระบบพ่ีเลย้ี ง
เปน็ การนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
ในการตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหาและ
ปรับปรุงองค์กร

๓.๒) กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change Management Process)
เป็นกรอบความคิดแบบหนึ่งเพื่อให้ องค์กรที่ต้องการจัดการความรู้ภายในองค์กร ได้มุ่งเน้นถึง
ปจั จยั แวดล้อมภายในองคก์ ร ท่ีจะมีผลกระทบตอการจัดการความร้ปู ระกอบด้วย ๖ องค์ประกอบ ดงั นี้

5

๑) การเตรียมการและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น กิจกรรมการมีส่วนร่วมและสนับสนุนจาก
ผู้บริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น), โครงสร้างพื้นฐานขององค์กร, ทีม/ หน่วยงานที่รับผิดชอบ, มีระบบการติดตามและ
ประเมินผล , กำหนดปัจจัยแหง่ ความสำเร็จชัดเจน

๒) การส่ือสาร เช่น กิจกรรมท่ที ำใหท้ ุกคนเขา้ ใจถงึ สิ่งท่ีองค์กรจะทำ, ประโยชน์ที่จะเกิดขึน้ กบั ทุก
คน , แต่ละคนจะมสี ว่ นร่วมไดอ้ ย่างไร

๓) กระบวนการและเครื่องมือ เพื่อช่วยให้การค้นหา เข้าถึง ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนความรู้
สะดวกรวดเร็วขึ้น โดยการเลือกใช้กระบวนการและเครื่องมือ ขึ้นกับชนิดของความรู้, ลักษณะขององค์กร (ขนาด,
สถานท่ีตง้ั ฯลฯ), ลกั ษณะการทำงาน, วฒั นธรรมองค์กร, ทรพั ยากร

๔) การเรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญและหลักการของการจัดการ
ความรูโ้ ดยการเรียนรตู้ อ้ งพจิ ารณาถึง เนือ้ หา , กลุ่มเปา้ หมาย, วิธีการ, การประเมนิ ผลและปรับปรุง

๕) การวัดผล เพอื่ ใหท้ ราบว่าการดำเนนิ การได้บรรลุเป้าหมายท่ตี ั้งไวห้ รอื ไม่, มีการนำผลของการ
วัดมาใช้ในการปรับปรุงแผนและการดำเนินการให้ดีขึ้น, มีการนำผลการวัดมาใช้ในการสื่อสารกับบุคลากรในทุก
ระดับให้เห็นประโยชน์ของการจัดการความรู้และการวัดผลต้องพิจารณาด้วยว่าจะวัดผลทุกขั้นตอนไหนได้แก่วัด
ระบบ (System), วัดทผ่ี ลลพั ธ(์ Output) หรือวดั ที่ประโยชน์ท่จี ะไดร้ ับ (Outcome)

๖) การยกย่องชมเชยและให้รางวัล เพื่อสร้างแรงจงใจให้เกิดการรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมี
ส่วนร่วมของบุคลากรในทุกกระดับ โดยข้อควรพิจารณาได้แก่ ค้นหา ความต้องการของบุคลากร , แรงจูงใจระยะ
สั้นและระยะยาว, บูรณาการกบั ระบบท่มี อี ยู่ ปรบั เปลี่ยนให้เขา้ กบั กิจกรรมทท่ี ำในแตล่ ะชว่ งเวลา

๑.๓ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ (Key Success Factors) ของการจัดการความรู้ปัจจัยแห่ง
ความสำเร็จ ในการดำเนินการจัดการความรู้ตามเป้าหมายที่วางไว้ สามารถนำไปปฏิบัติหรือประยุกต์ใช้ให้เหมาะ
กับบริบทของหน่วยงาน ดงั ต่อไปนี้

๑) ผู้บริหาร : การจัดการความรู้ในองค์กร ผู้บริหารควรมีบทบาทหน้าที่ในการกำหนดนโยบาย
สนับสนุน และมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ เช่น
กจิ กรรมระดมสมองผ้บู ริหาร หรือการประชุมจดั ทำแผนพัฒนาบคุ ลากร

๒) จิตอาสา : การดำเนินการจัดการความรู้ในองค์กร องค์กรควรส่งเสริมและพัฒนาการทำงาน
แบบจิตอาสา โดยเปดิ โอกาสใหบ้ ุคลากรทมี่ ีความต้งั ใจและสนใจในการการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
เขา้ มามบี ทบาทในการดำเนินงานจดั การความรู้

๓) สร้างทีมขับเคลื่อน : เพื่อให้การดำเนินการจัดการความรู้ในองค์กรมีการขับเคลื่อนไป
ข้างหน้าได้อย่างต่อเนื่อง องค์กรควรจัดกิจกรรมฝึกอบรม เพื่อปูพื้นฐานการจัดการความรู้ในองค์กร และพัฒนา

6

บุคลากรใหเ้ ปน็ ผทู้ สี่ ามารถดำเนนิ การการจัดการความรู้ไดเ้ ช่น การอบรมบคุ ลากรเพื่อ ทำหน้าที่เปน็ ผูอ้ ำนวยความ
สะดวกและกระตุ้นการดำเนินการจดั การความรู้ เป็นตน้ ซ่ึงจะทำให้องค์กร เกิดการกา้ วกระโดดจนถึงระดับการนำ
องคก์ รไปสอู่ งค์กรแหง่ การเรยี นรู้ได้

๔) กระบวนการคุณภาพ PDCA (Plan Do Check Act) : เพ่อื ใหก้ ารดำเนนิ การจดั การความรู้
ในองค์กรเกิดการดำเนินการอย่างต่อเนื่องและพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ควรทำหลักการ PDCA (Plan Do Check
Act) มาใช้ในการดำเนินการกิจกรรมต่างๆ ของการจัดการความรู้ในองค์กรเริ่มตั้งแต่มีกระบวนการวางแผนการ
จัดการความรู้มีการปฏิบัติการตามแผน มีการนำองค์ความรู้สู่การปฏิบัตมิ ีการวิเคราะห์ปรับปรุงการดำเนินงาน มี
คณะทำงานติดตามอย่างจริงจัง มีการรายงานต่อผู้บริหารและบุคลากรทุกระดับอย่างทั่วถึง และมีคณะกรรมการ
ประสานงาน เพ่ือแก้ไขปัญหา

๕) การเปิดหู เปิดตาบุคลากรในองค์กร : เพื่อสร้างความเข้าใจถึงความสำคัญของการจัดการ
ความรู้ในองค์กรของบุคลากรในองค์กร ซึ่งอาจดำเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น การจัดกิจกรรมการประชุมชี้แจง
แก่บคุ ลากร เป็นต้น

๖) การเปิดใจยอมรับ : เพื่อให้บุคลากรเปิดใจยอมรับการดำเนินการจัดการความรู้ ในองค์กร
และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์กรอาจดำเนินการได้โดยการทำกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ การสอดแทรกกิจกรรมการ
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เช่น Before Action Review (BAR) และ After Action Review (AAR) เป็น
ตน้

๗) การมีส่วนร่วม : เพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการความรู้จากหน่วยงานต่างๆ ภายใน
องคก์ ร และหนว่ ยงานภายนอก องคก์ รควรจัดกจิ กรรมเปิดโอกาสให้หนว่ ยงานที่สนใจเข้ามาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รวมท้ังเปดิ รบั ฟงั ความคดิ เหน็

๘) การสรา้ งบรรยากาศ : การดำเนินการกจิ กรรมการจัดการความรู้ควรมีการสร้างบรรยากาศท่ี
เหมาะสมต่อกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การยอมรับความคิดเห็นของบุคลากร ซึ่งอาจทำได้ในรูปแบบต่างๆ
เช่น กิจกรรมสภากาแฟ การเปลี่ยนสถานที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำเทคนิค Edutainment มาใช้ในการ
แลกเปล่ียนเรยี นรู้ หรือการเสริมสร้างบรรยากาศใหม่ใหเ้ ร้าใจ เป็นตน้

๙) การจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้: ในการจัดการความรู้องค์กรควรส่งเสริมสนับสนุนให้เกิด
เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ (Knowledge Forum) เพื่อสกัดขุมความรู้ออกมาจากกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ
บันทึกไว้ใช้งานต่อ และเกิดการตื่นตัวในการเรียนรู้ซึ่งสามารถดำเนินการได้หลายรูปแบบ เช่น ชุมชนแห่งการ
เรียนรู้หรือ ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice : CoP) การเล่าเรื่องแบบ SST ( Success Story
Telling ) กระบวนการสุนทรียสนทนา (Dialogue) หรือ กระบวนการสภากาแฟโลก (World Café) เปน็ ต้น

7

๑๐) การใหร้ างวัล ยกยอ่ งชมเชย : เปน็ การสรา้ งแรงจงู ใจให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและ
การมสี ว่ นร่วมของบุคลากรในทกุ ระดับ โดยขอ้ ควรพิจารณาได้แก่ ค้นหาความตอ้ งการของบคุ ลากร, แรงจูงใจระยะ
สั้นและระยะยาว, บูรณาการกับระบบที่มีอยู่, ปรับเปลี่ยนให้เข้ากับกิจกรรมที่ทำในแต่ละช่วงเวลา การให้รางวัล
ยกย่องชมเชย อาจทำได้โดยการประเมินผลพนักงานการประกวดเรื่องเล่าเร้าพลัง การประกวด CoP ดีเด่น การ
มอบโลร่ างวัลหรือเกยี รตบิ ัตร หรือจดั ใหม้ เี งินรางวลั พเิ ศษ เป็นตน้

๑๑) การจัดเอกสารประกันคุณภาพ (QA Document) : เพื่อให้การดำเนินงานการจัดการ
ความรู้ในองค์กร สามารถตรวจสอบและประกันคุณภาพได้ องค์กรควรเก็บรวมรวมเอกสาร ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็น
ระบบ เช่น จดหมายเวยี น ประกาศใช้ แผนดำเนินงาน การถอดบทเรยี น คู่มอื การจัดการความรู้การจัดเก็บเอกสาร
ท่เี ปน็ คลังความรู้ ท้ังน้อี าจใช้ ซอฟท์แวรม์ าช่วยในการบรหิ ารจดั การ

๑๒) การส่อื สารภายในองค์กร : เพอ่ื ให้บคุ ลากรในองคก์ รทกุ คน ทกุ ระดบั สามารถตดิ ตามข้อมูล
ข่าวสาร การดำเนินการจัดการความรู้ในหน่วยงานได้อย่างต่อเนื่อง ควรทำการสื่อสารกับบุคลากร ซึ่งอาจ
ดำเนินการได้โดยการจดั ทำวารสาร/จลุ สารการจัดการความรู้การจัดทำเว็บไซต์การจัดการความรู้ การจัดทำบันทึก
บทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์หรือ web blog ซึ่งมีเครื่องมือหรือซอฟท์แวร์ที่ใช้ในการ
เขียน Blog ได้มากมาย เชน่ WordPress หรือ Movable Type เป็นตน้

๑.๔ ขอบเขตการจดั การความรู้ (KM Focus Area)
ขอบเขตของการจัดการความรู้ภายในองค์กร ท่จี ะสนับสนนุ ยทุ ธศาสตร์การบริหารจัดการอย่างมี

ประสิทธิภาพ โดยเน้นในเรื่องของการจัดการและการพัฒนาองค์ความรู้ของครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบดว้ ย

๑. การวิเคราะหอ์ งค์ความรู้ท่ีจำเปน็ ตอ้ งใช้ในการปฏบิ ตั งิ านสำหรบั ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๒. กำหนดองค์ความรแู้ ละสมรรถนะเฉพาะของแตล่ ะกล่มุ เปา้ หมาย
๓. สร้างเครือข่ายและวิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มงาน/สำนักงาน/สถานศึกษา/ กลุ่มเครือข่าย
โรงเรยี น
๑.๕ เป้าหมาย

๑) เพ่อื ให้ความรู้ดา้ นการจดั การความรูแ้ ก่ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
๒) ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสามารถปฏิบตั ิงานให้งานมีคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพย่งิ ขึ้น
๓) พฒั นาให้บุคลากรในองค์กรมกี ารปฏิสัมพนั ธก์ ัน สร้างความเออื้ อาทรระหว่างกนั ในองค์กร
๔) สามารถรวบรวมความรปู้ ระสบการณ์ทเี่ ป็น Tacit Knowledge ในตวั ครแู ละบุคลากรทางการ
ศกึ ษาในสงั กัด และความรู้ท่ีเป็น Explicit Knowledge ทีม่ ีอยทู่ ั้งจากแหล่งความรู้ภายในและภายนอกองค์กร

8

๕) ใชเ้ ทคโนโลยใี นเพ่ือสร้างระบบการจดั เกบ็ และให้มีการเขา้ ถึงโดยสะดวก
๖) บคุ ลากรภายในหนว่ ยงานสามารถสร้างเครือข่าย เพื่อการติดต่อแลกเปลี่ยนความรู้และเข้าถึง
ข้อมูลซึ่งกันและกัน ดังนั้น การจัดการความรู้เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถ น ำ
ความรู้ที่มีอยู่หรือความรู้ที่ได้จากการแสวงหาจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาพัฒนาคุณภาพของงานและพัฒนา
นวตั กรรมใหมๆ่ ให้ดียง่ิ ข้นึ การจัดการความรจู้ งึ เปน็ เครอื่ งมือท่ีมคี วามสำคัญและเป็นประโยชน์
ต่อองค์กรอยา่ งมาก
๒. ข้ันตอนการจัดทำแผนการจดั การความรู้ (KM Action Plan)
แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) เป็นแผนงานที่แสดงถึงรายละเอียดการดำเนินงานของ
กจิ กรรมตา่ งๆ เพื่อใหอ้ งค์กรบรรลุผลตามเปา้ หมาย KM (Desired State) ที่กำหนด
ขั้นตอนท่ี ๑ : กำหนดโครงสรา้ งทีมงานการจัดการความรู้ (แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินงาน)
ขั้นตอนที่ ๒ : กำหนดแผนกลยุทธ์การดำเนนิ งาน KM ตามกระบวนการจดั การความรู้
(Knowledge Management Process)
ข้ันตอนท่ี ๓ : จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารการจดั การความรู้ (ตามปงี บประมาณ) โดยตอ้ งกำหนดขอบเขต
KM (KM Focus Areas) ทีจ่ ะดำเนนิ การแล้ว ข้นั ตอนต่อมาคือจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารการจัดการความร้(ู ตาม
ปงี บประมาณ) ซึง่ ระบเุ ปา้ หมาย KM (Desired State) ตวั ชี้วดั (ทวี่ ดั ผลได้เป็นรปู ธรรม) วธิ กี ารสู่ความสำเรจ็
ระยะเวลาทีจ่ ะดำเนนิ การผ้รู บั ผดิ ชอบรวมถงึ งบประมาณดำเนนิ การ
ขั้นตอนท่ี ๔ : รายงานผลการจดั การความรู้ (Knowledge Management : KM) เม่ือจัดทำ
แผนปฏบิ ัตกิ ารการจัดการความรู้ และดำเนนิ การตามแผนทก่ี ำหนดไว้ ให้รายงานผลการดำเนินงานใน
ปงี บประมาณปจั จบุ นั ตามแบบรายงานท่ีกำหนด

9

แบบรายงานผลการดำเนนิ งานการจัดการความร้ปู ระจำปงี บประมาณ ๒๕๖๕ ของ
(หนว่ ยงาน).....................................................................................

ในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ (หน่วยงาน)…………..……………………………………………………..
ได้ดำเนินกจิ กรรมการจัดการความรู้ โดยไดแ้ ต่งตง้ั คณะกรรมการเพอ่ื ดำเนินกิจกรรมการจัดความรู้
(Knowledge Management : KM) ของ (ระบุหนว่ ยงาน)………………………………………………ซ่งึ มหี นา้ ทด่ี ังนี้

๑) กำหนดประเด็นความรแู้ ละเป้าหมายของการจดั การความรทู้ ่สี อดคล้องกับนโยบายการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาและกลยุทธ์ตามแผนปฏบิ ตั ิการสำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษานครพนม เขต ๑

๒) กำหนดบคุ ลากรกลุม่ เป้าหมายทีจ่ ะพฒั นาความร้แู ละทกั ษะอย่างชดั เจนตามประเด็นความรู้ที่
กำหนด

๓) ให้ขอ้ เสนอแนะการแลกเปลย่ี นความรู้ เพอ่ื คน้ หาแนวปฏบิ ัติทีด่ ีตามประเด็นความรตู้ ามท่กี ำหนด
๔) รวบรวมความรตู้ ามประเด็นความรูต้ ามท่กี ำหนด ทงั้ ท่มี ีอย่ใู นตัวบคุ คลและแหลง่ เรยี นรู้ทเี่ ปน็ แนว
ปฏิบัติท่ดี ีมาพฒั นาและจัดเกบ็ อยา่ งเปน็ ระบบโดยเผยแพรอ่ อกมาเปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร
๕) พจิ ารณาใหข้ อ้ เสนอแนะแผนการจดั การความรู้ของหนว่ ยงาน
๖) ดำเนนิ งานการจดั การความรูใ้ นระดับสถานศกึ ษา/ระดบั กลมุ่ เครือขา่ ย/ระดบั อำเภอ/ระดับ
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษา ให้เปน็ ไปด้วยความเรยี บร้อย
ในการน้คี ณะกรรมการดำเนนิ งานตามคำส่ัง............................................................................................
ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ไดก้ ำหนประเดน็ ความรู้ดังนี้
ประเด็น : เรอื่ ง…………………………………………………………………………………..………………………………..……...................
เปา้ หมายการจัดการความรู้(KM) : ...........................................................................................................................
ตวั บง่ ช้ี : …………………………………………………………………………………………………………………………………....................
บคุ ลากรกลุม่ เป้าหมาย : ………………………………………………………………………………………………………….....................
สนับสนุนประเดน็ จุดเน้นนโยบาย สพป.นครพนม เขต ๑ : .....................................................................................
สนบั สนุนกลยทุ ธ์ สพป.นครพนม เขต ๑ : ………………………………………………………………………….……..…................
รปู แบบการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ : ………………………………………………………………………………………………..….................
องคค์ วามรทู้ ไี่ ด้ : ……………………………………………………………………………………………………………………..…................
การรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้ : ….................... (ช่องทางการเขา้ ถึงองคค์ วามร้เู ว็บไซต์ หรือ QR Code)
การนำความรู้ไปปรบั ใช้ : ………………………………………………………………………………..…............................................
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ : ……………………………………………………………………………..….................................................
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนนิ งาน : ....…………………………………………………………………………………….................
แนวทางการแก้ไข : ......………………………………………………………………………………………………………….…...................

10


Click to View FlipBook Version