การจดั การ การศึกษาแบบกา้ วหนา้ (แนวอไจล)์ เพอื่ เพม่ิ ทางเลือกการศึกษาไทย
รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 มาตรา 49(3) รบั รองการ
จัดการศกึ ษาทางเลอื กของประชาชนใหไ ดร ับการคุมครองและสงเสริมทเ่ี หมาะสมจากรฐั
แลว จนนําไปสกู ารพัฒนาผูเรียนในการปฏริ ปู การศึกษารอบท2ี่ (พ.ศ.2552-2561)
การศึกษา ท่มี งุ พฒั นาทักษะแหง อนาคตใหแกผูเรียนอยางแทจรงิ จึงมีความจําเปนท่ี
จะตอ งพัฒนาแนวคดิ และแนวปฏิบตั กิ ารบรหิ ารจดั การศึกษา ในระดบั ตา งๆ ใหเปน
เหมอื นการประกอบการในภาคธุรกิจ ทจี่ ะตอ งปรบั ทิศทางและแนวคดิ ในการจัดการศกึ ษา
ใหส อดรับกับบรบิ ทของสังคมปจจุบนั (Social knowledge)
แนวโนมการจัดการศึกษาแบบกาวหนาในสถานการณเปล่ียนผา น สิง่ ทผี่ บู รหิ าร
มืออาชีพมักจะกระทาํ เปนอันดับแรกคอื การสํารวจเขาไปภายในตนเอง เริม่ ตั้งคําถามกับ
ตนเองถึงสิ่งที่กําลังปฏบิ ตั ิ(Self-value) ทบทวน ปรบั เปลย่ี นมุมมองหรอื แนวคิด ถึงวธิ กี าร
ทก่ี ําลงั ดําเนนิ อยู คํานึงถึงเปาหมายทีแ่ ทจ รงิ ในเน้ือหาของงานคือการจัดการศึกษา เพราะ
เน่อื งจากผูประกอบกิจการโรงเรยี น มีความจําเปน ที่จะตองมีคุณลกั ษณะ เหมือนกบั การ
เปน ผปู ระกอบกิจการในภาคธุรกิจ และโรงเรยี นกต็ องมีลักษณะทีด่ ี เปรยี บเหมอื นกับสถาน
ประกอบการ ผลติ ชิ้นงานทล่ี ํา้ คา คือการพฒั นาคนหรอื ผูเรยี นใหใ หม ีทักษะที่จําเปน ตอการ
ดาํ รงชวี ิตดวยตนเองไดอ ยางแทจ ริงและสงเสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ิตใหแ กผ เู รยี น
คุณลกั ษณะของผปู ระกอบการจากภาคธรุ กจิ จะมคี วามแตกตา งบา งเล็กนอ ยกบั ผูบริหารในโรงเรียน
โดยเฉพาะเร่ืองความกระตอื รอื รน และวิธีการทจี่ ะบรรลุเปาหมาย โดยไรก ฎเกณฑใดๆ ไปจํากัดแนวคดิ
เนื่องจากการเปนผูป ระกอบการในภาคเอกชน จะตอ งบริหารจัดการทรพั ยากรในองคก ารของตนใหเกิดความ
คมุ คาสูงสดุ การศึกษา และวเิ คราะหถ งึ คุณลกั ษณะของผปู ระกอบการในภาคธุรกจิ และลกั ษณะของสถาน
ประกอบการ ซงึ่ จะสงผลตอการจัดการศึกษาแบบกาวหนา แนวอไจล เปน การเพม่ิ ทางเลอื กใหมใ หกบั ผูสนใจ
เปน ผปู ระกอบการในโรงเรียนและลักษณะของโรงเรียนท่ดี ี และผูประกอบการเอง ก็ตองใชก ารตดั สินใจเชงิ กล
ยุทธ ในการพฒั นาโรงเรียนของตนเองใหเ หมาะกบั คุณลกั ษณะของการเปน ผบู ริหารการศกึ ษาในยคุ ปฏริ ูป
การศกึ ษา
1
การจดั การ การศึกษาแบบกา้ วหนา้ (แนวอไจล)์ เพอ่ื เพม่ิ ทางเลือกการศึกษาไทย
วฒั นธรรมการทํางานแนวอไจล จากคาํ แถลงการณของกลมุ นกั พฒั นาซอฟแวร หลายองคการไดเ ร่ิม
ประยุกตใ ชแนวคิด “อไจล” ไปใชใ นองคก ารของตนเอง ซ่ึงมีกลาวไวด งั นี้ “เราคน พบวธิ ีท่ดี ีกวาในการพฒั นา
ซอฟทแวร จากการลงมือทาํ จรงิ และชวยเหลอื ผอู น่ื นัน่ คอื เราใหค วามสาํ คัญกับ
1.คนและการมปี ฏสิ ัมพนั ธก นั มากกวา การทาํ ตามขน้ั ตอนและเครื่องมอื
2.ซอฟตแ วรท น่ี าํ ไปใชงานไดจริง มากกวา เอกสารที่ครบถว นสมบรู ณ
3.รวมมือทาํ งานกบั ลูกคา มากกวาการตอรองใหเปน ไปตามสญั ญา
4.การตอบรับกับการเปลี่ยนแปลง มากกวา การทาํ ตามแผนทวี่ างไว
ท้ังน้ี แมเ ราจะเหน็ ความสําคัญในสิง่ ทกี่ ลาวไวทางดานขวา แตเ ราใหค วามสาํ คญั กับสง่ิ ที่กลา วไวท าง
ดานซา ยมากกวา” คณุ ลกั ษณะของผบู ริหารโรงเรียนแนวอไจล เหมาะสําหรับยุคเปลยี่ นผา นการปฏิรปู
การศึกษามงุ ใหเกดิ คุณภาพทั้งในดา นผลผลิต กระบวนการจดั การ และปจ จัยตา งๆ โดยมุง หวงั ใหการจดั
การศึกษา พฒั นาทั้งระบบ ( Whole School Approach : WSA) “ผบู รหิ ารมอื อาชีพ” จงึ จะเหมาะสมกบั
สภาพการณป จ จุบันทีจ่ ะทาํ หนา ทส่ี าํ คัญใหไปสูเปา หมายท่พี ึงประสงคโ ดยการกาํ หนดเปน ยทุ ธศาสตรก ารจัด
การศกึ ษาสูก ารปฏิบัตทิ แ่ี สดงใหเห็นศักยภาพ คุณภาพ เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ ในการบริหารจดั การศึกษา
ภายในโรงเรยี นนั้นๆ
อไจล หมายถึง วัฒนธรรมการทํางานทมี่ คี วามคลองตวั สงู เพอื่ การบรรลุเปาหมาย โดยเนนการมปี ฏสิ มั พนั ธ
กับคนเปน หลกั และพรอ มรบั การเปลีย่ นแปลง
ทาํ ไมตองเปนอไจล
แนวคดิ ในการสรางองคก าร ของทมี งานมอื อาชพี แนวอไจล เรม่ิ มาจากการรับรู และศกึ ษาวัฒนธรรม
การทํางานของนกั พัฒนาซอฟตแ วรท ี่เปน พนกั งานระดับแถวลา ง แทบไมม ีบทบาทในการเสนอความคิดเหน็
ใดๆ จนกระทัง่ เกิดการรวมตัวกนั ของกลมุ คนเหลาน้ี และมีคําแถลงการณ ขอตกลงรว มกันเกดิ ขึ้น เพ่อื ใหม ี
ความคลองตัวในการทาํ งานและผลติ ซอฟแวรไ ดตรงตามความตอ งการของลูกคา ในเวลาอนั รวดเร็วดงั คํา
แถลงการณด งั นี้
หลกั การเบอ้ื งหลงั คาํ แถลงอดุ มการณแหง อไจล
พวกเราทําตามหลักการเหลา น:ี้
1. ความสําคญั สูงสุดของพวกเราคือความพึงพอใจของลกู คา ทีม่ ตี อการสงมอบซอฟทแ วรที่มี
คาตอ ลกู คา ต้งั แตต นอยา งตอเนอื่ ง
2
การจดั การ การศึกษาแบบกา้ วหนา้ (แนวอไจล)์ เพอื่ เพม่ิ ทางเลือกการศึกษาไทย
2. ยอมรบั การเปล่ยี นแปลงความตอ งการของลกู คา แมใ นชวงทายของการพฒั นาเพราะอไจล
สามารถแปรเอาความเปล่ยี นแปลงมาเปน ความไดเ ปรียบในการแขงขันของลกู คา
3. สง มอบซอฟทแวรท ีใ่ ชง านไดจ ริงอยางสม่ําเสมออาจเปนทุกสองถงึ สามสปั ดาหหรอื ทกุ สอง
ถงึ สามเดือนโดยควรทําใหระยะเวลาระหวางการสง มอบนน้ั สนั้ ทีส่ ุดเทาทเี่ ปน ไปได
4. ตวั แทนจากฝา ยธรุ กิจและนกั พฒั นาจะตองทาํ งานรว มกนั เปน ประจาํ ทกุ วนั ตลอดโครงการ
ทําใหแนใ จวา สมาชกิ โครงการเขา ใจและมจี ดุ มุงหมายของโครงการรว มกนั
5. สรา งสภาวะแวดลอมและใหก ารสนับสนนุ ในสิง่ ที่พวกเขาตอ งการ และใหความไวว างใจแก
พวกเขาในการทจ่ี ะทาํ งานใหบรรลุเปาหมายนนั้
6. วิธที ีม่ ปี ระสิทธิภาพและประสิทธผิ ลสงู สดุ ในการถา ยทอดขอ มูลตา งๆไปสทู มี พัฒนาและ
ภายในทมี พัฒนาเองคือการพดู คุยแบบซ่ึงหนา
7. ซอฟทแ วรท ่ีใชงานไดจรงิ เปนตวั หลักในการวดั ความกาวหนาของโครงการกระบวนการอ
ไจลส นับสนนุ ใหเกิดการพัฒนาแบบยง่ั ยนื
8. กลา วคือผูสนับสนุนนกั พัฒนาและตวั แทนผูใชค วรจะสามารถรักษาอตั ราเร็วในการทํางาน
รว มกันใหค งทไ่ี ดตลอดไป
9. การใสใจในความเปน เลิศทางเทคนิคและงานออกแบบที่ดีอยางตอ เน่ืองจะชว ยเพ่มิ ความ
เปนอไจล
10. ความเรียบงาย หรือศลิ ปะในการทาํ งานอยางพอเพียง นัน้ สาํ คัญยิ่ง
11. สถาปตยกรรมซอฟตแวร ความตอ งการของลูกคา และงานออกแบบทด่ี ที ่สี ุดเกิดจากทมี
ทีบ่ ริหารจดั การตวั เองได
12. ทกุ ชว งเวลาหน่งึ เปน ประจาํ ทีมจะตองยอนกลบั ไปตรองดสู งิ่ ที่ผา นมาเพ่อื หาทางท่ีจะ
พฒั นาความมีประสทิ ธิผลของทมี แลว นาํ สิ่งเหลา น้นั มาปรบั ปรงุ และเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของทีม
3