The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2560

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:26:10

รายงานประจำปี 2560

รายงานประจำปี 2560

Keywords: รายงานประจำปี 2560

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

การพฒั นาระบบนาำ้ ดงั กลา่ ว ทาำ ใหเ้ กษตรกรสามารถทาำ การเกษตรไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง โดยแผนสง่ เสรมิ การเกษตร
หลังการพัฒนาระบบน้ำา เน้นให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนการปลูกพืชเชิงเด่ียวเป็นการทำาเกษตรแบบผสมผสาน
๘ โครงการ ๙ กิจกรรม มีเกษตรกรเข้าร่วม ๑๑๐ ครัวเรือน ปัจจุบันอยู่ระหว่างการดำาเนินงานติดตามผลผลิต
แต่ละโครงการ โดยมีนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยขอนแก่นประสานงานร่วมกับทีมปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีของสถาบัน
ปิดทองหลังพระฯ อย่างตอ่ เนอื่ ง

• โครงการข้าวโพดฝักสดดว้ ยนวัตกรรมพันธุ์พชื • โครงการธนาคารไกพ่ ื้นเมอื ง
มเี กษตรกรในพนื้ ที่โครงการ ๑๕ ราย มีเกษตรกรในพน้ื ทโี่ ครงการ ๖๑ ราย
รายได้รวม ๒๓,๐๐๐ บาท
• โครงการข้าวคณุ ลกั ษณะพเิ ศษเชงิ พาณชิ ย์ *อยใู่ นข้นั ตอนการเพาะเล้ยี ง
(ทำาเมล็ดพันธ ์ุ และปลูกรับประทานในครัวเรือน) • โครงการโคหลุมพรอ้ มเก็บดอกเบ้ยี รายเดอื น
มีเกษตรกรในพืน้ ท่ีโครงการ ๒๐ ครวั เรอื น มีเกษตรกรในพืน้ ท่โี ครงการ ๙ ราย

*อยใู่ นระหว่างเก็บเก่ียวผลผลติ *อยใู่ นขน้ั ตอนการเพาะเลย้ี ง
• โครงการดอกไมก้ ินไดใ้ นสงั คมผู้สงู วยั • โครงการแปรรูปผลิตภัณฑ์
มีเกษตรกรในพื้นทีโ่ ครงการ ๒๒ ราย มเี กษตรกรในพ้นื ทโี่ ครงการ ๑๓ ราย
• โครงการเพิ่มมูลคา่ สตั วน์ า้ำ
*อย่ใู นขัน้ ตอนการเพาะปลกู มเี กษตรกรในพนื้ ท่โี ครงการ ๑๔ ครัวเรือน
• โครงการออ้ ยที่เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม ๓ บอ่ สาธารณะ
มีเกษตรกรในพนื้ ทโ่ี ครงการ ๕ ราย
*อยูใ่ นข้ันตอนการเพาะเลย้ี ง
*อย่ใู นข้ันตอนการเพาะปลูก

50

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ
การพฒั นาพ้ืนทต่ี ้นแบบสามจงั หวดั ชายแดนใต้ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส เป็นความร่วมมือ
กับสถาบันการศึกษาในพ้ืนที่ คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพ่ือค้นหารูปแบบการพัฒนาที่เหมาะสมกับพื้นที่
ใน ๘ หมู่บ้าน คือ บ้านฮูแตทูวอ ตำาบลโคกเคียน อำาเภอเมือง บ้านโคกยามู ตำาบลไพรวัน อำาเภอตากใบ
จงั หวดั นราธิวาส บา้ นจำาปนู ตำาบลท่าธง อำาเภอรามัน บ้าน กม. ๒๖ ในตำาบลตาเนาะปูเตะ๊ อำาเภอบนั นงั สตา
จังหวัดยะลา บ้านสุเหร่า ตำาบลท่าน้ำา อำาเภอปะนาเระ บ้านแป้น ตำาบลแป้น อำาเภอสายบุรี บ้านละโพ๊ะ
ตำาบลปา่ ไร ่ อำาเภอแมล่ าน จงั หวดั ปัตตานี
การดำาเนนิ งานชว่ งแรกมกี ารขับเคล่ือนใน ๔ หมู่บา้ น คอื บา้ นฮแู ตทวู อ มีการทำาความเข้าใจและสาำ รวจ
ข้อมูลพื้นท่ี ส่งเสริมการเกษตร และพัฒนาระบบน้ำา ให้ราษฎรร่วมกันวางระบบนำ้าแปลงผัก ในพื้นที่ ๕ ไร่
มีราษฎรเข้าร่วม ๔๔ ครัวเรือน และรวมกลุ่มการผลิต เริ่มต้นจากกลุ่มเล้ียงแพะ เพื่อแลกเปล่ียนความรู้และ
พัฒนาให้มีการบริหารจัดการในลักษณะกองทุนต่อไป มีเกษตรกรเข้าร่วม ๖๗ ราย และตั้งกลุ่มร้านค้าสหกรณ์
มีผเู้ ขา้ รว่ ม ๑๐๐ ครวั เรือน

51

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

บ้านจำาปูน ตำาบลท่าธง อำาเภอรามัน จังหวัดยะลา มีการทำาความเข้าใจและสำารวจข้อมูลหมู่บ้าน

จดั หาและพฒั นาแหล่งน้ำาเพ่ือการเกษตร โดยการขุดบ่อบาดาล สูบน้ำาได ้ ๒๐,๐๐๐ ลติ ร กระจายเขา้ แปลงเกษตร
๔๐ แปลง พ้ืนท่ี ๒๒.๕ ไร่ พร้อมกับจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำา คิดค่านำ้าหน่วยละ ๓ บาท หลังจากพัฒนาแหล่งน้ำา
มีการส่งเสริมทางการเกษตรเพื่อลดรายจ่าย ได้แก่ เกษตรแปลงรวม ๒๒.๕ ไร่ มีสมาชิกเข้าร่วม ๔๘ ราย
๕๐ แปลง และแปลงปลูกหญ้าเนเปียเป็นอาหารสัตว์ ในพื้นท่ี ๑๖ ไร่ มีสมาชิกเข้าร่วม ๒๓ ราย ๒๓ แปลง
มีหน่วยงานรว่ มสนบั สนุนปัจจยั การผลิตในระบบกองทุน และองคค์ วามรู้ตา่ งๆ เช่น อาำ เภอเมืองรามัน สนับสนุน
งบประมาณค่าเมล็ดพันธุ์ และค่าวัสดุอุปกรณ์การเดินท่อทำาระบบน้ำาหยด เกษตรตำาบลสนับสนุนปุ๋ยหมัก
ต้นกล้าผัก และองค์ความรู้ในการทำาปุ๋ย เชื้อราไตรโคเดอร์มาร์ และการจัดทำาบัญชีคำานวณต้นทุน รายได้
กำาไร พัฒนาชุมชน ชว่ ยในการจดั ต้งั กล่มุ เกษตร พัฒนาท่ดี ินสนับสนนุ วสั ดุในการปรบั ปรุงดนิ และฟารม์ ตัวอย่าง
สนบั สนนุ องค์ความรู้
ในปี ๒๕๖๐ มกี ารปลกู ผกั ๒ รอบ คอื รอบท่ี ๑ เดอื นกมุ ภาพันธุ-์ พฤษภาคม ปลกู แตงโม ขา้ วโพด ฟกั ทอง
และพืชผักต่างๆ ๑๔ ชนิด รอบท่ี ๒ เดือนกรกฎาคม-ตุลาคม ปรับวิธีการปลูกและยกแปลงให้เหมาะสม
สามารถเกบ็ เก่ียวผลผลิตเพือ่ นำาไปบรโิ ภค และจำาหน่ายเพอื่ เพม่ิ รายได ้ เชน่ แตงกวา เฉล่ยี วันละ ๕๐-๑๐๐ กิโลกรมั
รวมผลผลติ ๑,๘๑๘ กโิ กกรัม เกษตรกร ๑๕ ราย รายไดร้ วม ๑๕,๗๐๓ บาท สว่ นผลผลิตผกั อ่ืนๆ อย่รู ะหวา่ ง
การเก็บเกย่ี ว

52

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

บา้ นสเุ หรา่ ตาำ บลทา่ นาำ้ อาำ เภอปะนาเระ จงั หวดั ปตั ตาน ี มกี ารสาำ รวจขอ้ มลู หมบู่ า้ น พฒั นาแหลง่ นาำ้

เพ่ือการเกษตร ร่วมกับการส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม ปัจจุบันอยู่ระหว่างการปรับปรุงซ่อมแซมฝายบาโจเพื่อให้
มนี ำา้ สาำ หรับการเกษตรในพื้นที่ ครวั เรือนเป้าหมายท่ีคาดว่าจะไดร้ ับประโยชน์ ๘๑๖ ครัวเรือน และมกี ารจดั ตง้ั กลมุ่
ปุ๋ย มเี กษตรกรเขา้ ร่วม ๑๕๐ ราย

บา้ นแปน้ ตาำ บลแปน้ อาำ เภอสายบรุ ี จงั หวดั ปตั ตานี พัฒนาระบบนา้ำ เพ่อื การอุปโภคบริโภค ควบคูก่ ับ

การส่งเสริมการเกษตรเพื่อลดรายจ่าย และสร้างอาชีพเสริมให้ราษฎร พัฒนาและปรับปรุงซ่อมแซม “ฝายหินจน”
แหล่งน้าำ เดมิ ในพน้ื ท ่ี ใชเ้ วลาก่อสรา้ ง ๑๗๘ วนั มรี าษฎรและหนว่ ยงาน ระดมแรงงานรว่ มกนั ๒,๖๗๐ คน สามารถ
ลดงบประมาณแรงงานไดถ้ ึง ๘๐๑,๐๐๐ บาท
การปรับปรุงซ่อมแซมแล้วเสร็จเดือนสิงหาคม ๒๕๖๐ มีพ้ืนที่รับประโยชน์ ๑๗๐ ไร่ ผู้รับประโยชน์
๑๔๑ ครัวเรอื น มนี ้าำ สาำ หรับอุปโภคบริโภคตลอดทงั้ ปี มกี ารจัดตั้งกลุ่มผู้ใช้น้ำาเพื่อบริหารจัดการนาำ้ ชมุ ชน พร้อมกับ
ส่งเสรมิ ปลูกพืชผักลดรายจา่ ยในครวั เรอื น

เกษตรหลงั บา้ น

ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ๗๕ ครวั เรอื น

เกษตรแปลงรวม

ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ ๒๓ ราย

กลุ่มปุย๋ ลดตน้ ทุน

ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ๓๗ ราย

53

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

หลงั จากนน้ั คณะทาำ งานระดบั จงั หวดั รว่ มกนั คดั เลอื กพน้ื ทต่ี น้ แบบเพม่ิ เตมิ จาำ นวน ๓ หมบู่ า้ น จาก ๓ จงั หวดั
เพื่อดำาเนินการตามกระบวนการยุทธศาสตร์ที่ ๑ การขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ในภาคการเกษตรและชนบท คือ บ้านโคกยามู ตำาบลไพรวัน อำาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส มีการสำารวจ
ข้อมูลเศรษฐกิจสังคม และกายภาพชุมชน โดยทีมปฏิบัติงานระดับอำาเภอ สร้างความเชื่อม่ันด้วยการพัฒนาพ้ืนท่ี
ทำาเกษตรตัวอย่างขนาด ๒ ไร ่ ปลกู ผกั ท้ังหมด ๒๕ ชนดิ มรี าษฎรสนใจเขา้ ร่วม ๒๐ ราย และพัฒนาระบบนา้ำ บาดาล
เพ่ือใชใ้ นแปลงตวั อย่าง โดยความรว่ มมอื ของราษฎรและหน่วยงานในพ้ืนท ่ี เชน่ ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาพิกลุ ทองฯ
สถานพี ัฒนาที่ดินจังหวดั นราธิวาส การไฟฟ้าภูมิภาคอำาเภอตากใบ
จากตน้ ทนุ การผลติ ๘,๓๗๗ บาท เมอื่ เกบ็ เกยี่ วผลผลติ แลว้ ผกั สว่ นทเ่ี หลอื จากการบรโิ ภค สามารถจาำ หนา่ ย
ได้ ๑๔,๗๔๑.๕ บาท

บ้าน กม.๒๖ ในตำาบลตาเนาะปเู ต๊ะ อำาเภอบนั นงั สตา จังหวดั ยะลา อยรู่ ะหว่างการจัดทำาข้อมูล

เศรษฐกิจสังคม ๑๙๓ ครัวเรือน และข้อมูลด้านกายภาพ ซึ่งจากการสำารวจข้อมูลชุมชน โดยทีมปฏิบัติงาน
ระดับพ้ืนท่ีพบว่า ในพื้นท่ีส่วนมากทำาสวนยางพารา สวนทุเรียน และปลูกผักรอบบริเวณบ้าน จึงมีการส่งเสริม
เพ่ือต่อยอดการปลูกผักเพื่อลดรายจ่ายในครัวเรือน และจัดเก็บข้อมูลการปลูกทุเรียนในพื้นท่ี ตามนโยบาย
การส่งเสริมทุเรียนคุณภาพของจังหวัด ด้วยการจับพิกัดแปลงปลูก จัดทำาข้อมูลทุเรียนรายต้น ติดป้ายข้อมูล
นับจำานวนช่อดอกหรือผล รวมถึงบันทึกข้อมูลโรคและแมลงท่ีเกิดขึ้น เก็บตัวอย่างดิน ฯลฯ มีเกษตรกรสนใจ
เข้ารว่ มโครงการทุเรยี น ๑๒๐ คน

บา้ นละโพะ๊ ตาำ บลปา่ ไร่ อาำ เภอแมล่ าน จงั หวดั ปตั ตานี ดาำ เนนิ การรว่ มกบั หนว่ ยงานในพนื้ ทซี่ อ่ มแซม

คูไส้ไก่เพ่ือส่งนำ้าเข้าพื้นที่เกษตร ให้สามารถทำาการเกษตรได้เต็มประสิทธิภาพ มีการรวมกลุ่มเพ่ือเล้ียงไก่ไข่และ
ผลิตอาหารลดตน้ ทุน และติดตามประสานงานร่วมกบั หน่วยงานด้านเกษตรดำาเนินงานโครงการ ๙๑๐๑ ในพน้ื ที่ให้
มีความตอ่ เน่ืองและเกิดความยงั่ ยนื

54

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

การจดั การความรู้

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ มีแผนงานท่ีจะจัดต้ังสถาบันอบรม เพ่ือสร้างความรู้
การพัฒนาตามแนวพระราชดาำ ร ิ ทีใ่ ชไ้ ด้ผลในเชิงพ้นื ที ่ และเสรมิ สร้างความสามารถ ความเชี่ยวชาญ ความเขา้ ใจ
ท่ีถูกต้อง ให้เกษตรกรและประชาชนทั่วไปนำาไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดำารงชีวิตให้มีความมั่นคง
และย่งั ยนื ได้
การดำาเนินการตามแผนงานดังกล่าว มีการสร้างวิทยากรต้นแบบในพ้ืนที่ ๒๐ คน จัดทำาชุดความรู้จาก
การปฏิบตั จิ รงิ ในพน้ื ทีต่ น้ แบบ ประกอบด้วย ความรเู้ ชงิ เทคนคิ ความรู้เชงิ จดั การ และความรู้การบรหิ ารงานพน้ื ท่ี
รวม ๔ ชุด นำาเสนอความรู้และขั้นตอนการดำาเนินงานตามกระบวนการ เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ๘ ข้ันตอน
ซงึ่ เกดิ จากประสบการณก์ ารทาำ งานจรงิ ในพน้ื ทตี่ น้ แบบจงั หวดั นา่ น เพอื่ เปน็ เอกสารประกอบการอบรมและฝกึ ปฏบิ ตั ิ
การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งแบบปดิ ทองหลังพระ สาำ หรับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
นอกจากน้ี ยังมีการจัดทำาหลักสูตรอบรม ๓ หลักสูตร คือ หลักสูตรอบรมและฝึกปฏิบัติการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาำ หรับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ หลกั สูตรที ่ ๑ เพ่อื ให้นายกองคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่น มีความเข้าใจในการประยุกต์ใช้ศาสตร์พระราชาเพื่อแก้ปัญหาของชุมชน สามารถดำาเนินงาน
ตามแนวทาง เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นาได ้ หลกั สตู รสาำ หรบั นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั ๒ หลกั สูตร/วิชา เพอื่ สนบั สนนุ
การนำาองค์ความรู้ของสถาบันการศึกษามาขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพัฒนาหลักสูตร
และรายวิชาในการจัดการเรียนการสอนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในสถาบันอุดมศึกษา ๒ แห่ง คือ
มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร ์

55

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

จากการท่ีสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ร่วมเป็นอนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
ในคณะอนกุ รรมการสง่ เสรมิ การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในภาคการเกษตรและชนบท
(ยุทธศาสตร์ท่ี ๑) จึงสนับสนุนการจัดทำาแนวคิดพื้นฐานในการขับเคลื่อนพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์ฯ โดยใน
ปี ๒๕๖๐ สถาบันฯ ได้สนับสนุนข้อมูลและประสบการณ์ความรู้ในการดำาเนินงาน ด้วยการจัดทำาแนวทางการ
ดำาเนินงานโครงการซ่อมแซมและพัฒนาแหล่งนำ้าขนาดเล็กอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ และโครงการแหล่งน้ำา
ขนาดเลก็ ทก่ี รมชลประทานถา่ ยโอนใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ โดยหารอื แนวทางรว่ มกบั ปลดั สาำ นกั นายกรฐั มนตร ี
ได้ข้อสรุปให้ดำาเนินการในพ้ืนท่ีเป้าหมาย ๒๒ จังหวัด ท่ีเป็นจังหวัดเป้าหมาย ภายใต้ความร่วมมือ (MOU)
ระหว่างสำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และกระทรวง
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม และจังหวัดทเ่ี ปน็ พ้นื ทต่ี น้ แบบของสถาบันฯ รวมแหล่งนา้ำ ๓,๓๘๘ โครงการ
รวมท้ังจัดเตรียมหลักสูตรอบรมผู้นำาการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ
คณะทำางานส่งเสริมการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการเกษตรและชนบท
(ยุทธศาสตร์ที ่ ๑) ประกอบดว้ ย ๒ หลกั สูตร คอื หลกั สตู รท่ี ๑ สำาหรบั ผูบ้ ริหารระดับจังหวดั /อำาเภอ เพอ่ื ปรบั
แนวคิดการพฒั นา มี ๑๓ รนุ่ ร่นุ ละ ๖๐-๘๐ คน จาก ๕-๖ จังหวดั อบรมรุน่ ละ ๓ วัน ผจู้ ดั อบรมคือ มูลนธิ ิ
กสกิ รรมธรรมชาติ ซึง่ อบรม ณ ศนู ย์กสิกรรมธรรมชาตมิ าบเอื้อง จังหวัดชลบรุ ี ปัจจุบันไดด้ ำาเนินการอบรมเสรจ็
ไปแล้ว ๑๒ รุ่น ยังเหลืออีก ๒ รุ่นที่อยู่ระหว่างรอการอบรม หลักสูตรท่ี ๒ สำาหรับผู้ปฏิบัติงานระดับอำาเภอ
เพื่อฝึกทักษะการสำารวจข้อมูลด้านระบบนำ้า ทำาผังน้ำาโดยใช้โปรแกรม QGIS ผู้จัดอบรม คือ สถาบันสารสนเทศ
ทรัพยากรน้ำาและการเกษตร (สสนก.) ม ี ๔ รุ่น รนุ่ ละ ๔ วัน จาก ๗๗ อาำ เภอ ซ่ึงอบรม ณ โรงแรมปทุมธานเี พลส
จงั หวัดปทมุ ธานี ปจั จบุ ันไดด้ าำ เนินการอบรมเสรจ็ ไปแลว้ ๓ รนุ่ ยงั เหลืออกี ๑ รนุ่ ทอ่ี ย่รู ะหว่างรอการอบรม
รว่ มกบั กรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย จดั เตรยี มหลกั สตู รอบรมและฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร
พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เพื่อให้ผู้บริหาร สมาชิก พนักงาน
องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และราษฎรในพืน้ ท ี่ มีความรูค้ วามเขา้ ใจทถ่ี ูกตอ้ งเกีย่ วกับศาสตร์พระราชา เกิดความ
เชื่อม่ันศรัทธาในการนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลจริง สร้างทีมงานท่ีสามารถทำางาน
ร่วมกันอย่างบูรณาการ สามารถพัฒนาโครงการที่สามารถแก้ไขปัญหา และตอบโจทย์การพัฒนาของชุมชน
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยมีเปา้ หมายหลักคอื อยรู่ อด พอเพียง และย่ังยืน โดยมีการอบรมรนุ่ แรก
เมื่อวันท ่ี ๓๐-๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๐

56

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ติดตามผลการประเมนิ

ในปี ๒๕๖๐ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ยังได้ทำาการติดตามประเมินผล
การดาำ เนนิ การตา่ งๆ ของสถาบนั ฯ รว่ มกบั หนว่ ยงานภาครฐั และสถาบนั การศกึ ษาหลายโครงการ ตงั้ แต ่ การประเมนิ
ผลโครงการซ่อมแซม ปรับปรุง เสริมฝาย อ่างเก็บน้ำา การส่งนำ้าด้วยระบบท่อฯ ของจังหวัดน่าน ท่ีดำาเนินการ
ในปี ๒๕๕๗–๒๕๕๘ จำานวน ๖๖๓ โครงการ โดยสถาบนั การศึกษาในพื้นท่ี ๓ แหง่ คือ วิทยาลยั น่าน มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏอุตรดิตถ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สำานักวิชาการทรัพยากรการเกษตร) และวิทยาลัยชุมชนน่าน
เพื่อวิเคราะห์ผลในด้านประโยชน์ท่ีชาวบ้านได้รับหลังจากมีระบบน้ำาทำาการเกษตรแล้ว ทั้งด้านผลผลิต ผลลัพธ์
ผลกระทบและนำาเสนอกรณีตัวอย่างชุมชนท่ีมีการบริหารจัดการน้ำาท่ีดี สำาหรับเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ชุมชนอ่ืนๆ
ท่ีมแี ผนจะดำาเนินโครงการในระยะต่อไป
รวมทั้งการติดตามประเมินผลโครงการพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดลองกองในพื้นท่ีจังหวัด
ชายแดนใต ้ รว่ มกบั กระทรวงมหาดไทย จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั นราธวิ าสราชนครนิ ทร ์ เพอื่ ศกึ ษา
ประเมินผลการดำาเนินงานของโครงการ วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรค และปัจจัยแห่งความสำาเร็จท่ีส่งผลต่อ
การดาำ เนินงาน เพอ่ื ใหม้ แี นวทางการดำาเนินงานทเ่ี หมาะสมและทาำ ให้เกดิ ความย่ังยนื ตอ่ ไปในอนาคต

57

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

ติดตามสนับสนุนการแก้ไขปัญหาจุดวางเครื่องสูบนำ้าด้วยระบบพลังงานแสงอาทิตย์ พ้ืนที่บ้านโป่งลึก-
บางกลอย จังหวดั เพชรบรุ ี โดยร่วมลงพืน้ ท่ีสาำ รวจบริเวณตำาแหน่งติดตงั้ เครื่องสูบนา้ำ ท่ไี ดเ้ ลือกไวแ้ ลว้ เพอ่ื คำานวณ
วัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในหน้างานจริง และการติดต้ังตู้ควบคุมระบบเคร่ืองสูบนำ้า กำาหนดจุดติดต้ังบนพ้ืนดิน
ดา้ นบนตลง่ิ ทพ่ี น้ จากระดบั วกิ ฤตนา้ำ และตดิ ตามประเมนิ ผลการสง่ เสรมิ การพฒั นาในพนื้ ท ี่ และวเิ คราะหส์ ถานการณ์
กลุ่มกองทนุ สถานการณก์ ารพัฒนาชุมชน ในพ้นื ทตี่ น้ แบบ ๕ จงั หวัด คือ จงั หวัดน่าน อดุ รธาน ี อุทยั ธาน ี เพชรบรุ ี
และกาฬสนิ ธ์ ุ รว่ มกบั สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย เพ่ือวิเคราะห์ผลลัพธ์ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยมเี จ้าหน้าทแ่ี ละอาสาสมคั รพัฒนา
หมบู่ า้ นในพน้ื ทโี่ ครงการฯ ผนู้ าำ ชมุ ชน และคณะกรรมการกลมุ่ รว่ มแลกเปลยี่ นประสบการณ ์ และวเิ คราะหก์ ลมุ่ กองทนุ
ต่างๆ รวมทงั้ หมด ๓๗ กลมุ่ /กองทนุ
สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ยงั เปดิ ใหป้ ระชาชนในพนื้ ทตี่ น้ แบบ ประเมนิ การทาำ งาน
ของปิดทองหลังพระฯ โดยร่วมกับศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำารวจและศึกษาการรับรู้
และความพึงพอใจของราษฎรในพ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดอุทัยธานี และจังหวัดขอนแก่น ซึ่งนอกจากจะเพื่อศึกษา
การรับรแู้ ละความพึงพอใจต่อโครงการของสถาบันฯ แล้ว ยังเพ่ือทราบถึงความหวงั และขอ้ เสนอแนะต่อโครงการฯ
ทั้ง ๒ โครงการ นำามาปรับปรุงการทำางานในอนาคต โดยกลุ่มเป้าหมายในการสำารวจข้อมูลคร้ังน้ี แบ่งออกเป็น
๓ กลุ่ม คือ กลุ่มตัวแทนภาครัฐท่ีเป็นคณะทำางาน กลุ่มผู้นำาท้องถ่ินและผู้นำาชุมชน กลุ่มผู้นำาความคิด และ
ตัวแทนกล่มุ เกษตรกร ในท้งั ๒ พน้ื ที่ จงั หวัดอุทัยธาน ี และจงั หวัดขอนแก่น โดยใช้วิธีการสัมภาษณก์ ง่ึ โครงสร้าง
และการเก็บขอ้ มูลจากแบบสอบถาม

58

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนในพ้ืนท่ีต้นแบบจังหวัดอุทัยธานี ท่ีให้คำาตอบมีการรับรู้และมีความพึงพอใจ
ตอ่ โครงการฯ โดยความเหน็ ว่าผลท่ีเกิดข้นึ จากการมีโครงการฯ เปน็ ไปตามทค่ี าดหวัง รอ้ ยละ ๔๒ มีความเชือ่ ม่นั
ตอ่ โครงการ ส่วนรอ้ ยละ ๕๖ มคี วามเชื่อมน่ั ต่อโครงการเท่าเดิม ดา้ นที่ประชาชนมคี วามพึงพอใจมาก คือ ความรู้
ในการประกอบอาชีพท่ีมีเพ่ิมขึ้น ส่วนด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปกติ
รายได้และรายจ่ายยังเหมือนเดิม ไม่มีการเปล่ียนแปลงมากนัก และพึงพอใจค่อนข้างมาก ในเรื่องการทำางาน
การแก้ปัญหาหรอื ตอบข้อสงสยั ของเจา้ หนา้ ทโ่ี ครงการฯ การประสานความร่วมมอื กับหน่วยงานตา่ งๆ รวมถึงข้อมูล
ในการดำาเนนิ โครงการฯ
ท้งั น้ ี ท้ังผู้เข้ารว่ มและไม่ไดเ้ ข้าร่วมโครงการฯ คาดหวงั วา่ เศรษฐกิจของครวั เรือนและภายในหมบู่ ้านจะดีขึ้น
และยั่งยนื เชน่ การสง่ เสริมการเกษตรที่เพมิ่ รายได้ การสนับสนุนดา้ นการตลาดและการบรหิ ารจัดการ การเพิ่มเตมิ
ความรู้ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่ออาชพี และอยากให้เยาวชนเข้าร่วมโครงการฯ มากขึน้
ขณะทปี่ ระชาชนในพน้ื ทตี่ น้ แบบจงั หวดั ขอนแกน่ ในภาพรวมมคี วามพงึ พอใจในระดบั มาก ตอ่ ผลการทาำ งาน
ที่เกิดขึ้นในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ส่วนใหญ่เห็นการเปล่ียนแปลงในทางที่ดีขึ้น ยกเว้น
การลดรายจ่ายที่ยังเห็นผลไม่ชัดเจน แต่มีแนวโน้มว่าจะดีขึ้น รวมทั้งการประสานความร่วมมือของหน่วยงาน
ในการทำางาน การแกป้ ัญหา และการใหข้ อ้ มูลขา่ วสารของโครงการฯ
ทั้งผู้ร่วมโครงการฯและไม่ได้เข้าร่วม คาดหวังว่านำ้าเพื่อการเกษตรจะดีข้ึน หมู่บ้านมีความเจริญขึ้น
ราษฎรมีความเป็นอยู่ท่ีดี มีความสามัคคีและพึ่งพาตนเองได้ และโครงการปิดทองหลังพระฯ จะเป็นพี่เลี้ยง
ในการทาำ งานนานๆ ช่วยเหลอื ในด้านต่างๆ เช่น การส่งเสริมการทาำ เกษตรผสมผสาน การรวมกลมุ่ เกษตรกร และ
อาชพี ที่หลากหลายนอกเหนือจากการเกษตร

59

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ในการส่งเสริมการรับรู้และเข้าใจแนวพระราชดำาริ ตลอดจนเผยแพร่แนวพระราชดำาริให้กว้างขวาง
ซึ่งเป็นพันธกิจหลัก สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้จัดงาน “สานต่องานพ่อสอน”
เปน็ โครงการพเิ ศษเพอื่ รว่ มราำ ลกึ การทรงราชยข์ องพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพติ ร
รว่ มกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สำานักนายก
รัฐมนตรี และสำานักงานส่งเสริมการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) เพื่อแสวงหาแนวทางยกระดับงาน
ด้านพัฒนาชนบทใหเ้ กิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากย่ิงข้นึ ในอนาคต
ผลท่ีตามมา คอื เกิดโครงการพัฒนาทีป่ ระยุกตต์ ามแนวพระราชดำาร ิ รวมทัง้ หมด ๕๑ โครงการ แบง่ เป็น
โครงการพัฒนาระบบนำ้า ๔๔ โครงการ และโครงการพัฒนาด้านการเกษตร ๗ โครงการ ใน ๑๐ จังหวัดที่ใช้
กระบวนการตามยุทธศาสตร์ที่ ๑ ในการขับเคลื่อนการพฒั นาในจังหวัด
ขณะที่กิจกรรม “ตลาดนัดความดี” ซึ่งมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ร่วมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย
เนชั่น มัลติมีเดีย กรุ๊ป และสำานักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) จัดขึ้น ให้เป็น
พื้นท่ีกลางสำาหรับผู้ดำาเนินการพัฒนาจากชุมชน สถาบันการศึกษา องค์กรพัฒนาเอกชน และภาคเอกชนท่ีสนใจ
เข้าร่วมเป็นหนุ้ สว่ นการพัฒนา มาพบปะหารือ จับครู่ ่วมกันพฒั นา
กิจกรรมน้ีมีการต่อยอดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เช่น ชุมชนราชทรัพย์ บางซ่ือ ชุมชนพัฒนาของสำานักงาน
ทรพั ย์สินส่วนพระมหากษัตริย ์ มีบรษิ ัทสยาม แม็คโคร สนใจการเพาะเหด็ ในเขตชมุ ชนเมือง และจะช่วยสนับสนุน
ด้านบรรจุภัณฑ์และการจัดจำาหน่าย สมาคมบริษัทจดทะเบียนสนใจสนับสนุนเลือกซ้ือผลิตภัณฑ์ของชุมชน
บา้ นบางติบ พังงา สาำ หรับเปน็ ของท่ีระลึกในเทศกาลปใี หม ่ เป็นต้น

60

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

สำาหรับกลุ่มเป้าหมายท่ีเป็นเยาวชน นสิ ิต นกั ศึกษา สถาบันส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลงั พระฯ
รว่ มกับที่ประชุมอธิการบดแี หง่ ประเทศไทย มูลนิธิรากแกว้ บรษิ ทั เนชัน่ มลั ติมเี ดีย กรุ๊ป จำากัด จัดทำารายการ
โทรทศั น์ “ปั้นฝนั เดอะ บัณฑิต” เปน็ ปที ่ี ๓ ออกอากาศทางสถานโี ทรทศั น์ชอ่ ง NOW๒๖ เพอื่ ใหน้ ิสติ นักศกึ ษา
ฝึกฝนประสบการณ์ ศึกษาปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนและร่วมกันหาวิธีแก้ไข โดยประยุกต์แนวพระราชดำาริผนวก
กบั ความร้จู ากสถาบันการศกึ ษาและภูมิปญั ญาท้องถิ่นมาปรับใช ้ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ับชุมชน สังคมและประเทศชาต ิ
ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ กาำ หนดประเดน็ หลักให้นกั ศกึ ษาทง้ั ๑๐ ทมี จาก ๑๐ มหาวทิ ยาลยั ทำาโครงการเรอื่ ง “นาำ้ ”
โดยลงพ้ืนที่เรียนรู้ในศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ และนำาความรู้ไปพัฒนาต่อยอด
การดำาเนนิ งานของทมี
สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้ประยุกต์งานวิจัยจากโครงการพัฒนาแนวทางการ
ขบั เคลือ่ นทฤษฎีใหมเ่ พือ่ การพัฒนาพนื้ ทใ่ี นขั้นท่ ี ๒ ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปสู่ชมุ ชนในพืน้ ทตี่ น้ แบบ
ปิดทองหลังพระฯ และพ้ืนที่ใกล้เคียง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจหลักการรวมกลุ่มให้เข้มแข็ง ให้ชุมชนสามารถ
นาำ ไปปฏบิ ตั ิได ้ ดว้ ยการจัดมหกรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรชู้ มุ ชนเข้มแข็งตามแนวพระราชดำาริร่วมกับสถาบนั การศกึ ษา
และส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง ให้ชุมชนได้พบปะแลกเปล่ียนประสบการณ์การพัฒนาและการสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับกลุ่ม ๒ ครั้ง และจัดเวทีขับเคล่ือนการพัฒนาชนบทเชิงพื้นพ้ืนที่ประยุกต์ตามพระราชดำาริ ๓ คร้ัง มีผู้นำา
และตวั แทนจากชมุ ชนต่างๆ เขา้ รว่ มมากกวา่ ๒,๘๐๐ คน
การจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ มีการขยายผลตอ่ ยอดโดยชุมชนดว้ ยกันเอง เช่น องค์การบรหิ ารสว่ นตาำ บล
บ้านในดง อำาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี ได้เชิญนายชูชาติ วรรณขำา ผู้ใหญ่บ้านน้ำาทรัพย์ อำาเภอแก่งกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี วิทยากรเรื่อง “แนวทางการเกษตรอินทรีย์สู่การพัฒนาที่ย่ังยืน” ไปขยายความรู้ให้กับราษฎร
ตาำ บลบ้านในดง ๖๐ คน ใหส้ ามารถนำาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ชต้ อ่ ไป

61

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

นอกจากนี้ ยงั มกี ารจัดนทิ รรศการเพื่อเผยแพร่แนวพระราชดำาร ิ และกิจกรรมอื่นๆ อีกมาก เชน่ งาน CSR
๓๖๐ องศา รวมใจ...นำาไทยยง่ั ยนื เพอื่ ส่งเสรมิ การพัฒนาตามแนวพระราชดาำ รใิ นภาคเอกชน เป็นต้น
การเผยแพร่แนวพระราชดำาริผ่านส่ือสารมวลชน มีการนำาคณะส่ือมวลชนส่วนกลางไปศึกษาดูงานโครงการ
พระราชดำาริ พื้นที่ต้นแบบปิดทองหลังพระฯ และชุมชนเข้มแข็งที่มีการนำาแนวพระราชดำาริไปประยุกต์ใช้
รวม ๑๑ ครง้ั
รวมทั้งการผลิตสื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ ทั้งทางหอกระจายข่าวประจำาหมู่บ้าน วิทยุชุมชน
สถานีวิทยุกระจายเสียง สถานีโทรทัศน์ ส่ือสิ่งพิมพ์ทั้งส่วนกลาง หนังสือพิมพ์ท้องถ่ิน จดหมายข่าวและผ่าน
โซเชยี ลมีเดีย
ผลิตสารคดีชุด “พระราชดำาริไร้พรมแดน” เพ่ือเผยแพร่การน้อมนำาแนวพระราชดำาริไปประยุกต์ใช้ใน
ประเทศต่างๆ จำานวน ๑๒ ตอน มีการออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่องต่างๆ รวม ๗ สถานี รวมท้ังผ่าน
ชอ่ งทางอื่นๆ เช่น application True id เวบ็ ไซตข์ องส่ือมวลชนต่างๆ หอ้ งสมุดอเิ ลก็ ทรอนิกสม์ ลู นธิ ิม่ันพัฒนา
รวมทั้งสถานีวิทยุ ในเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม ๒๕๖๐ และมีการออกอากาศซ้ำาอีกตลอดช่วงเดือนตุลาคม-
พฤศจกิ ายน ผ่านสถานีโทรทศั น์ รวม ๑๗ ชอ่ ง
การดำาเนินการทงั้ หมด สง่ ผลใหม้ กี ารเผยแพร่ข่าวสารและขอ้ มูล ผ่านสอื่ ต่างๆ ๗๒๖ ขา่ ว สร้างการรับรู้
ไปสู่ประชาชน เฉพาะผ่านสื่อสิง่ พิมพ์ สื่อโทรทัศน์และสอ่ื โซเชียลมีเดยี ๔๗ สอ่ื รวม ๗๙๙,๐๐๒,๗๑๓ คร้งั

LOREM LIOPRSUEMM INPSLUORMEMLELOIPNORLSROUEERMMMEWMDIPIOIPESPLSUSOUUMRMMSIDWTSOALMOERTSITNASo1.M1E:1T2:201411:1N2o:2. 014DOLOR SIT AMEDTOLOR SIT AMET DODLOORLOSRITSAITMAETMETLLOLLOLORLLOOLRLOOELRROOREOMRREEMRREERMEMMEEIMMEPIMMPIIMSIPPISIPUPIISPSUPISPMSUUPSSMUSUUSMMUUDMMUMDMOMDDMODDLODODLODOODOLOOLORLLOOOLRLOOLRSOLORORRSIORRTSIRSRSTSIAISSTIITSATSMIITATITMIATAETAMAAMMETAMAMEMTEMETMEETETLTETLEOTLTLOTLRLOOLORLOEORROERMRREEMREEMMEIMEMPMIMPISIPIPISUIPPSISPUSMSPUUSMUUSMUMDUMMDMOMDDODDLODOLOODOLOOLRLOOLORLOOLRSORROSRIRSTIRSSTISATISIITSATMITAITMAATMEAAMEMTAMETMEEMTETTETETTLLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOLLRMEOLRMELOOLRMEOLLOIRMEOLRIPRMEOOLIPRMEROLISPERMEORLSPRIMEOMUIRSMPEOEUIRSPMELURIPEMSMMTULRISPEMOMLISPMUELMLOOUIISMPELMRLOOUPIMSPDIMORIUMSPLDOMRPEISUPSDRMRLOOIPUESDMSREMORULIPUSOMEDEOMIPSLURULDMOMEOESUPLMDMMRMLOOOUSLEIDMMMOMORULSLOPDMEIOOUMRRMDLLIOPOOEDUILRSMDTMIPROLOOPLRMEDIDPSOOMRULLDROOMSPSEOIOSDLMRSURLSOOOPOEDLIRISMSUOMLROULODLPRITESUOISMOMLRDOULLRITOOPMESOILMSRMITSROOULMOOPLDEARITSMOSROMIRLUOARPIDSEOITMSRLMRAMROIUTSODPDELIRASMMIMTSROSODUPRDEMIITSOASMLMRSOOEUAMIPTDISEISRMOLMESAOIOTUTMIPTRDEISAMSMLITMLOOUTTISEPAMDTLIRMLSOTISOTAUAOMPEDILRITSMOLSTEAOMAUOPLITDEMIARMSMTORSOLAULIOTTEPMDOMRRSAMLSLTTEOUMOILOADMERRTSMESLTOOUASOIMLRTOEDEMRSSLATTMLOURTOEIEOIEDMMLRRSATLETTOOIROITEMDLMTEMRALTOLETOSTILRMOMEDOETERALTLLROSMOOMAITODELRRMAEOSLAOTOTOMMEIIDRELRARLMOTSTOIPORMMEEILMTRRLIPORMOSEATOLMEEIISPTORMELLREOSATIEOEISPMEMTMERRLPOSUAOITSMEEITRMTMRUISPMOATTRSLESIUMIEPTMRMRSEATULISPOIMLMEIEMRUTSIASPPLMLTIOEMIMEOUISPTMSATMRPLIOOMUISMPEDSMTLSTRUSPIDAOMRIMESETUULSATDORMRIPOIEUESDMIMTULPEMAOTORDUMEMIPMESEORTLMALOUDPMMSMOMELRETLDMAOUOSMMOEEMLIDURSMLOMOOTLEDPDUMEIMOOMRTLLRODUIEDPOOEMLIMLRRSTDOIPOOOMEPELRIDMOPRSTLOMOOULRESPISDOMOLRSTRLLOSUPSDEOOIRMLLRISMOSULDOOPUOEILRITSSUMDRMOLOEOOUPLRISTISRMOMORMURITOLSPEMMOOIDSRAIRTRLSMUPOEAITRLIDSSMMRSUOAMPROLITESIDDSMMOASMUITSRPOIDIEODASMMMITSRLPUTOOIEAMDIITRSSMMLOUTEAOMPOIRTSSDIMTEAMLAIUTLOOSPDTIEASMMTULISRLAOOTPOEAMDMIISTSMLRTOUEAOOMIPTMDMSTEALMRITOURSOTDEEAMSMTRLROUSOTEAMIDEMRLTTAEOUSMOTDSITMAERMLTOSOSTTIDEMMRILOOSATTEMIDITRLTEOSAOTTIDMETLROSATOETIDMAROLSTATOIAMERTLOSATOMIMERLMTOSATIMERLTOSATEIMERSTEOATIMETRTSATITMERTSTAIMETSATIMETSATIAMETATIAMEMTATAMEMTALMEMETLALMOELETOTLLOEMETOLTRLOEOTLRTRLOOELRETORLLROELLEOTMLRRELOOEOLORMEMROLOARMEEOMRLARMOERREAMRMMREOEIIRIMMEEMERPIPPMMEEIMERIPMMEMPEISEISSPMMPTEESPMIISMUUTUISPPISLMIITUISPUPPIPMUIPMSSMOUPUSPIMLSMSSUSUIPMISMRUOSPUMPUUDUSDMMUDUEDDSMRSMMMUODMODMMOUDMUOOEDMDLOOLDDDLMMOMDLLODOODOILOLDOOOOPOLDROOOLORILDROORSLLPLOODOLRRLOSOOUOLRSSOLROSOSRIOSRRLRMIUROSSTIRITRSLIOTSIRITMTRSSSAOTITSSIRADTSSAIITIAMIISRTSTATAMTIDITAOMASMTITIAMEMATMAATOALIEAMEMTATESAMOMEMMTELTEAMATMIEMETLAOTRTTEMMEEELLTEOTMELTERTLTOTOLTEESLORTOLALTLEOORRTTLISLOOELRMOTRLTLOLREOEIRMOLOLRORETEROMAERMELEOROREMEMRREOATMRMEMIERMRMEPEEIMMMIREMPEEIIPMMESMLIPPIMESMETISPPUMOIIIISSPMUTPPPPIUSISIMUPUISRPPISMSLSUSUIPMPISUSMSPELMOUUUUPSMDMSUOUUSMMDSMRMMMUDUODMUMDRMUOEDDMMOLODMEDODMMDLOIOODDDLDPMLOOOOLDDOOLROLOOODSOODILRLOLOOOLPIRULRLLOOOOSOLRPORSLOLOROSMIOLRRRSSLOSTOURISRRROSOTURISIRSMRISTSATIRISRTSMSTDAIIITSMSTSAATIITSIMDAOTTISSATIIAEMMDITTATAMIITOMELTAMATTOMEEAOMTALEAMMETATLEAMOMERTETMOMTEEMTRTEETTERETSETTSTITSITITT สื่อโทรทศั น์

ส่อื สงิ่ พมิ พ์ • จาำ นวนสอ่ื ๑๗ ส่ือ
การออกอากาศ ๓๖๘ ครั้ง
• จำานวนสื่อ ๒๕ สอ่ื การรบั ร ู้ ๒๑,๔๓๓,๖๘๘ ครัง้
การเผยแพร ่ ๒๙๗ คร้ัง
การรับรู ้ ๗๗๕,๙๐๐,๐๐๐ ครงั้

สอื่ โซเชยี ลมเี ดยี

• จำานวนส่ือ ๕ สื่อ
การเผยแพร่ ๖๑ ครั้ง
การรบั รู้ ๑,๖๖๙,๐๒๕ ครงั้

62

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

๗ งบการเงนิ ปี ๒๕๖๐

มูลนิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
งบการเงิน
วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

รายงานของผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต

เสนอคณะกรรมการของมลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ

ความเหน็

ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ งบการเงนิ ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ร ิ (มลู นธิ )ิ แสดงฐานะการเงนิ ของมลู นธิ ิ
ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ และผลการดำาเนินงานสำาหรับปีส้ินสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควร
ในสาระสำาคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาำ หรับกิจการท่ไี มม่ สี ว่ นได้เสยี สาธารณะ

งบการเงินทีต่ รวจสอบ

ข้าพเจา้ ไดต้ รวจสอบงบการเงินของมลู นธิ ิขา้ งต้นน ้ี ซึ่งประกอบดว้ ยงบแสดงฐานะการเงิน ณ วนั ท ี่ ๓๐ กนั ยายน
พ.ศ. ๒๕๖๐ งบแสดงรายได้และค่าใช้จ่ายและงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของทุนสำาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน
และหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ รวมถงึ หมายเหตสุ รปุ นโยบายการบญั ชที ่ีสาำ คญั

เกณฑ์ในการแสดงความเหน็

ขา้ พเจา้ ไดป้ ฏบิ ตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ช ี ความรบั ผดิ ชอบของขา้ พเจา้ ไดก้ ลา่ วไวใ้ นสว่ นของความ
รับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากมูลนิธิ
ตามข้อกำาหนดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงินที่กำาหนดโดย
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถมั ภ์ และข้าพเจ้าไดป้ ฏิบัตติ ามความรบั ผิดชอบดา้ นจรรยาบรรณอน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ ไป
ตามขอ้ กาำ หนดเหลา่ นี ้ ขา้ พเจา้ เช่ือวา่ หลกั ฐานการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสม เพือ่ ใชเ้ ปน็ เกณฑ์
ในการแสดงความเหน็ ของขา้ พเจ้า

63

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

ความรบั ผิดชอบของผบู้ รหิ ารต่องบการเงิน

ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำาและนำาเสนองบการเงินเหล่านี้ โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน
การรายงานทางการเงนิ สาำ หรบั กจิ การทไี่ มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ และรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การควบคมุ ภายในทผ่ี บู้ รหิ าร
พจิ ารณาวา่ จาำ เปน็ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั ทาำ งบการเงนิ ทปี่ ราศจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสาำ คญั
ไมว่ า่ จะเกดิ จากการทุจริตหรือข้อผดิ พลาด

ในการจัดทำางบการเงิน ผู้บริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของมูลนิธิในการดำาเนินงานต่อเนื่อง
เปิดเผยเร่ืองที่เก่ียวกับการดำาเนินงานต่อเนื่อง (ตามความเหมาะสม) และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำาหรับการ
ดำาเนินงานต่อเนื่อง เว้นแต่ผู้บริหารมีความต้ังใจท่ีจะเลิกมูลนิธิ หรือหยุดดำาเนินงาน หรือไม่สามารถดำาเนินงาน
ตอ่ เนอื่ งต่อไปได ้

ความรับผดิ ชอบของผ้สู อบบญั ชตี ่อการตรวจสอบงบการเงนิ

การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้ความเช่ือมั่นอย่างสมเหตุสมผล ว่างบการเงินโดยรวมปราศจาก
การแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำาคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด และ
เสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้าอยู่ด้วย ความเชื่อม่ันอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อม่ัน
ในระดับสงู แตไ่ ม่ไดเ้ ป็นการรับประกนั ว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชีจะสามารถตรวจพบ
ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำาคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือ
ข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำาคัญเม่ือคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการ
หรือทุกรายการรวมกันจะมีผลตอ่ การตดั สินใจทางเศรษฐกจิ ของผใู้ ช้งบการเงนิ เหล่านี้

ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าได้ใช้ดุลยพินิจเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพและ
การสังเกตและสงสยั เยยี่ งผู้ประกอบวิชาชพี ตลอดการตรวจสอบ การปฏิบัติงานของขา้ พเจา้ รวมถงึ

• ระบุและประเมนิ ความเสย่ี งจากการแสดงข้อมูลท่ขี ัดตอ่ ข้อเทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสาำ คัญในงบการเงิน ไมว่ ่า
จะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพ่ือตอบสนองต่อ
ความเสี่ยงเหล่าน้ัน และได้หลักฐานการสอบบัญชีที่เพียงพอและเหมาะสม เพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดง
ความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงท่ีไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำาคัญซ่ึงเป็นผลมาจาก
การทุจริตจะสูงกว่าความเส่ียงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เน่ืองจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด
การปลอมแปลงเอกสารหลกั ฐาน การตงั้ ใจละเวน้ การแสดงขอ้ มลู การแสดงขอ้ มลู ทไ่ี มต่ รงตามขอ้ เทจ็ จรงิ
หรอื การแทรกแซงการควบคุมภายใน

64

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

• ทำาความเข้าใจในระบบการควบคุมภายในท่ีเก่ียวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบ
ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของ
การควบคมุ ภายในของมลู นิธิ
• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีท่ีผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชแี ละการเปิดเผยข้อมูลทเี่ กย่ี วขอ้ งซึ่งจดั ทาำ ขน้ึ โดยผ้บู รหิ าร
• สรุปเก่ียวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีสำาหรับการดำาเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหารจาก
หลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับ และประเมินว่ามีความไม่แน่นอนท่ีมีสาระสำาคัญท่ีเกี่ยวกับเหตุการณ์
หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำาคัญต่อความสามารถของมูลนิธิในการ
ดาำ เนินงานต่อเนือ่ งหรือไม ่ ถ้าขา้ พเจา้ ไดข้ ้อสรปุ วา่ มีความไม่แนน่ อนท่ีมสี าระสาำ คญั ขา้ พเจา้ ต้องกล่าวไว้
ในรายงานของผ้สู อบบัญชีของข้าพเจ้า โดยใหข้ อ้ สงั เกตถึงการเปิดเผยขอ้ มลู ในงบการเงินที่เก่ยี วขอ้ ง หรอื
ถ้าการเปดิ เผยดังกล่าวไมเ่ พียงพอ ความเหน็ ของข้าพเจ้าจะเปลี่ยนแปลงไป ขอ้ สรุปของขา้ พเจา้ ข้นึ อยู่กบั
หลกั ฐานการสอบบัญชที ไี่ ด้รับจนถึงวันทใี่ นรายงานของผ้สู อบบัญชีของข้าพเจา้ อย่างไรกต็ าม เหตุการณ์
หรอื สถานการณ์ในอนาคตอาจเปน็ เหตใุ หม้ ูลนธิ ติ ้องหยดุ การดาำ เนนิ งานตอ่ เนอ่ื ง
• ประเมินการนำาเสนอโครงสร้างและเน้ือหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลว่างบการเงิน
แสดงรายการและเหตุการณใ์ นรปู แบบทท่ี าำ ใหม้ กี ารนำาเสนอขอ้ มูลโดยถูกต้องตามทค่ี วรหรือไม่

ข้าพเจ้าได้ส่ือสารกับผู้บริหารในเรื่องต่างๆ ท่ีสำาคัญ ซึ่งรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามท่ีได้
วางแผนไว้ ประเด็นท่ีมีนัยสำาคัญท่ีพบจากการตรวจสอบและข้อบกพร่องท่ีมีนัยสำาคัญในระบบการควบคุมภายใน
หากขา้ พเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบของขา้ พเจ้า

บริษัท ไพร้ซวอเตอร์เฮาสค์ ูเปอรส์ เอบเี อเอส จาำ กดั

สขุ ุมาภรณ์ วงศ์อริยาพร
ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขท ี่ ๔๘๔๓
กรุงเทพมหานคร
๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

65

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หมายเหตุ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

สนิ ทรพั ย์ ๓ ๒๐,๒๑๔,๘๓๔ ๓๑,๓๐๐,๓๕๕
๔ ๑,๐๓๘,๓๙๕,๖๔๒ ๙๗๗,๒๗๕,๕๕๖
สินทรพั ย์หมนุ เวียน ๕ ๓,๐๑๒,๑๗๒
๖ ๔,๕๙๓,๕๖๗ ๑,๕๕๐,๒๘๒
เงนิ สดและรายการเทยี บเท่าเงินสด ๒,๐๕๓,๐๘๙ ๒,๐๘๑,๖๕๕
เงินลงทนุ ชัว่ คราว ๒,๘๔๗,๓๘๔
ลูกหนี้อื่น ๑,๐๖๘,๒๖๙,๓๐๔
เงนิ สาำ รองจา่ ย ๑,๐๑๕,๐๕๕,๒๓๒
สนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี นอ่นื
๒,๖๒๔,๕๓๑ -
รวมสินทรัพย์หมนุ เวยี น ๗ ๕,๙๙๘,๘๕๔ ๗,๙๔๔,๒๖๘
๘ ๑๕๖,๖๖๗
สินทรัพยไ์ ม่หมุนเวียน ๑,๓๓๖,๒๘๘ ๓
๑,๔๔๘,๒๘๘
เงนิ กองทนุ พัฒนาหมูบ่ า้ น ๑๐,๑๑๖,๓๔๐
อุปกรณ์ - สทุ ธิ ๙,๓๙๒,๕๕๙
สินทรัพยไ์ มม่ ีตวั ตน - สทุ ธิ ๑,๐๗๘,๓๘๕,๖๔๔
เงนิ มดั จาำ ระยะยาว ๑,๐๒๔,๔๔๗,๗๙๑

รวมสนิ ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวยี น

รวมสินทรพั ย์

ประธานกรรมการมลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

ประธานกรรมการสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ในหนา้ ๗๐ ถงึ ๘๒ เป็นสว่ นหนงึ่ ของงบการเงินนี ้

66

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หมายเหตุ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

หน้สี ินและสว่ นของทนุ ๔,๙๗๐,๔๗๔
๗,๐๙๔,๕๔๒
หนี้สินหมนุ เวยี น
๙๐๗,๒๗๒
เจ้าหน้ ี ๓,๖๒๙,๑๗๘ ๑๒,๙๗๒,๒๘๘
ค่าใชจ้ ่ายค้างจา่ ย ๙ ๑๙,๕๑๐,๓๒๐ ๑๒,๙๗๒,๒๘๘
หนี้สินหมุนเวยี นอ่นื ๔๘๘,๕๙๘
๒๐๐,๐๐๐
รวมหน้ีสินหมนุ เวียน ๒๓,๖๒๘,๐๙๖ ๑,๐๐๙,๖๔๙,๙๖๘

รวมหนส้ี นิ ๒๓,๖๒๘,๐๙๖ ๑,๖๒๕,๕๓๕
๑,๐๑๑,๔๗๕,๕๐๓
ส่วนของทุน ๑,๐๒๔,๔๔๗,๗๙๑

ทุนจดทะเบยี น ๒๐๐,๐๐๐

รายได้สูงกว่าค่าใชจ้ า่ ยสะสม ๑,๐๕๔,๐๖๒,๔๖๘

กาำ ไร (ขาดทนุ ) ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ จากการวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย ๔๙๕,๐๘๐

รวมสว่ นของทุน ๑,๐๕๔,๗๕๗,๕๔๘

รวมหนส้ี ินและส่วนของทนุ ๑,๐๗๘,๓๘๕,๖๔๔

หมายเหตุประกอบงบการเงินในหนา้ ๗๐ ถึง ๘๒ เป็นส่วนหนึง่ ของงบการเงินน ้ี
67

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
งบแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย
สำาหรบั ปีส้ินสุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

หมายเหตุ พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

รายได้

เงินจดั สรรจากงบประมาณแผน่ ดนิ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐
รายรบั จากเงินบริจาค ๓,๒๒๘,๙๕๐ ๕,๙๓๑,๘๑๐
ดอกเบี้ยรบั ๑๗,๔๓๑,๑๕๗ ๑๕,๘๓๒,๙๗๐
กำาไรที่เกดิ ข้ึนจากการจาำ หน่ายเงนิ ลงทุนเผ่ือขาย ๒,๗๖๐,๖๑๔ ๑,๒๘๙,๓๑๓
รายได้อ่นื ๑๗๔,๘๔๗
๑๙๙,๕๑๕
๓๒๓,๒๒๘,๙๔๐
รวมรายได้ ๓๒๓,๖๒๐,๒๓๖
๔๔,๘๙๗,๒๖๓
ค่าใชจ้ ่าย ๔๘,๖๓๐,๓๘๐ ๓๖,๒๑๑,๑๖๓
ค่าใช้จ่ายบคุ ลากร ๔๖,๔๐๐,๙๒๔
ค่าตอบแทนบุคคลภายนอก ๑๒๑,๘๐๐ ๑๒๑,๘๐๐
ค่าธรรมเนียมวชิ าชีพ ๒๐,๘๗๙,๒๕๑ ๑๔,๘๐๒,๔๒๓
ค่าใช้จา่ ยการเดนิ ทาง ๗๘,๘๒๔,๕๘๘ ๕๑,๙๔๐,๗๖๔
ค่าวสั ดุส้นิ เปลอื ง ๕,๔๖๒,๗๗๓
คา่ เชา่ อาคารและอปุ กรณ ์ ๑,๘๒๗,๗๒๓ ๕,๐๖๕,๗๖๒
คา่ ซอ่ มแซมและบำารงุ รกั ษาอุปกรณ์ ๗ ๔,๕๑๗,๖๓๙ ๑,๖๘๔,๖๗๗
คา่ เสือ่ มราคา ๘ ๒๘,๓๓๙ ๔,๖๒๑,๖๔๓
ค่าตดั จำาหน่าย ๒,๔๔๙,๒๔๕
ค่าสาธารณปู โภค ๙,๔๙๑,๓๑๘ ๔,๑๘๕
คา่ รบั รอง ๒๖๔,๓๙๗ ๒,๐๒๗,๓๙๓
คา่ ประกันภัย ๔๗,๓๓๑,๘๑๔ ๘,๘๐๐,๐๐๖
คา่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละจดั นทิ รรศการ ๑๑,๖๐๐,๐๓๙
เงินอดุ หนุน ๒๕๒,๖๔๐ ๒๕๓,๔๓๗
ค่าขนสง่ ๑,๑๒๔,๘๖๖ ๓๗,๓๖๑,๙๓๖
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ๑๐,๔๖๗,๗๒๑

รวมคา่ ใช้จ่าย ๒๗๙,๒๐๗,๗๓๖ ๒๔๖,๓๕๙
๑,๒๙๐,๕๓๗
รายไดส้ ูงกว่าค่าใช้จา่ ยสทุ ธิสำาหรบั ปี ๔๔,๔๑๒,๕๐๐
๒๑๙,๗๙๗,๐๖๙

๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินในหนา้ ๗๐ ถงึ ๘๒ เป็นสว่ นหนง่ึ ของงบการเงนิ น้ี
68

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของทุน
สาำ หรบั ปสี น้ิ สุดวันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

ผลกาำ ไร (ขาดทนุ )

ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ

รายไดส้ งู กวา่ จากการวดั มลู คา่

ทนุ จดทะเบยี น คา่ ใชจ้ า่ ยสะสม เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย รวม
บาท
บาท บาท บาท
๒๐๐,๐๐๐
ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗ ๑๓๓,๖๑๙ ๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖
การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย - สทุ ธ ิ -
- ๑,๔๙๑,๙๑๖ ๑,๔๙๑,๙๑๖
รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ าำ หรบั ป ี -
๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑ - ๑๐๓,๔๓๑,๘๗๑

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๙,๖๔๙,๙๖๘ ๑,๖๒๕,๕๓๕ ๑,๐๑๑,๔๗๕,๕๐๓

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๙,๖๔๙,๙๖๘ ๑,๖๒๕,๕๓๕ ๑,๐๑๑,๔๗๕,๕๐๓
การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย - สทุ ธ ิ
- - (๑,๑๓๐,๔๕๕) (๑,๑๓๐,๔๕๕)
รายไดส้ งู กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ าำ หรบั ป ี
- ๔๔,๔๑๒,๕๐๐ - ๔๔,๔๑๒,๕๐๐

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๐๐,๐๐๐ ๑,๐๕๔,๐๖๒,๔๖๘ ๔๙๕,๐๘๐ ๑,๐๕๔,๗๕๗,๕๔๘

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินในหน้า ๗๐ ถึง ๘๒ เป็นสว่ นหน่ึงของงบการเงนิ นี ้
69

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำาหรับปีสิ้นสุดวันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๑ ข้อมูลทัว่ ไป

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ร ิ (“มลู นธิ ”ิ ) ไดจ้ ดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ ติ ามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณชิ ยต์ อ่ นายทะเบยี นมลู นธิ กิ รงุ เทพมหานคร เลขทะเบยี นลาำ ดบั ท ่ี กท ๑๙๑๙ เมอ่ื วนั ท ่ี ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมที อ่ี ยทู่ ไ่ี ดจ้ ดทะเบยี นดงั น้ี

สำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ทำาเนียบรัฐบาล เลขท่ี ๑ ถนนนครปฐม แขวงจิตรลดา เขตดุสิต
กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐

มลู นธิ เิ ปน็ องคก์ ารหรอื สถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการดาำ เนนิ งาน ดงั น้ี

๑) ให้จัดต้ังและสนับสนุนการดำาเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชดาำ ร ิ ซง่ึ เปน็ หนว่ ยปฏบิ ตั ขิ องมลู นธิ ิ ใหด้ าำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธผิ ล ประสทิ ธภิ าพ
สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณแ์ หง่ การจดั ตง้ั

๒) ใหส้ ถาบนั โดยมมี ลู นธิ ิ สนบั สนนุ ใหท้ นุ ดาำ เนนิ งาน มวี ตั ถปุ ระสงค ์ ดงั น้ี

ก) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กรชุมชน
ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ
ภาคธรุ กจิ ในการดาำ เนนิ งานทส่ี อดคลอ้ งกบั มติ กิ ารพฒั นาตามแนวพระราชดาำ ร ิ เพอ่ื ใหป้ ระชาชน
มชี วี ติ ความเปน็ อยทู ด่ี ขี น้ึ รวมถงึ สง่ ผลตอ่ การอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม

ข) สนับสนุนการจัดการความร้ตู ามแนวพระราชดำาริ โดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา
การพัฒนาโครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ
อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาำ ร ิ องคก์ รชมุ ชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ องคก์ ร
ภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คลงั ความร ู้ การยกระดบั
ความร ู้ การตอ่ ยอดขมุ ความรใู้ หม ่ การพฒั นาหลกั สตู ร การศกึ ษาในและนอกระบบ ตลอดจน
การขยายผลเชอ่ื มโยงสกู่ ารนาำ ไปปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ งขวาง

70

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำาหรับปีส้ินสดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๑ ข้อมูลทัว่ ไป (ตอ่ )

มลู นธิ เิ ปน็ องคก์ ารหรอื สถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการดาำ เนนิ งาน ดงั น ้ี (ตอ่ )
๒) ใหส้ ถาบนั โดยมมี ลู นธิ ิ สนบั สนนุ ใหท้ นุ ดาำ เนนิ งาน มวี ตั ถปุ ระสงค ์ ดงั น ้ี (ตอ่ )

ค) สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรู ณาการ ภารกจิ และกจิ กรรมของสถาบนั กบั แผนชมุ ชน แผนองคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาจงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง และนโยบายรฐั บาล

ง) สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำา และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่นิ องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่อื ให้น้อมนำา
แนวพระราชดำาริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับ
ของประเทศ

จ) สรา้ งการรบั ร ู้ ความเขา้ ใจ และความรว่ มมอื ดาำ เนนิ การตามแนวพระราชดาำ ร ิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๓) เพ่อื สนบั สนุนและสง่ เสรมิ การศึกษา และทัศนศึกษาทเ่ี กย่ี วกบั การนำาแนวพระราชดาำ รไิ ปประยุกต์ใช้
และขยายผลสชู่ มุ ชน
๔) เพอ่ื สง่ เสรมิ การประสานการดาำ เนนิ งานรว่ มกบั องคก์ รชมุ ชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ
องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่ือกิจกรรมพัฒนาและกิจกรรม
สาธารณประโยชน์
๕) ไมด่ าำ เนนิ การเกย่ี วขอ้ งกบั การเมอื งแตป่ ระการใด
งบการเงนิ นไ้ี ดร้ บั อนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการมลู นธิ ิ เมอ่ื วนั ท ่ี ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๐

71

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สาำ หรบั ปสี ิ้นสดุ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๒ นโยบายการบัญชี

นโยบายการบญั ชที ส่ี าำ คญั ซง่ึ ใชใ้ นการจดั ทาำ งบการเงนิ มดี งั ตอ่ ไปน้ี

๒.๑ เกณฑก์ ารจดั ทาำ งบการเงนิ
งบการเงนิ นจ้ี ดั ทาำ ขน้ึ ภายใตม้ าตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาำ หรบั กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ

ทอ่ี อกโดยสภาวชิ าชพี บญั ชี

งบการเงนิ ไดจ้ ดั ทาำ ขน้ึ โดยใชเ้ กณฑร์ าคาทนุ เดมิ ในการวดั มลู คา่ ขององคป์ ระกอบของงบการเงนิ ยกเวน้
เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขายทแ่ี สดงดว้ ยมลู คา่ ยตุ ธิ รรม

งบการเงนิ ฉบบั ภาษาองั กฤษจดั ทาำ ขน้ึ จากงบการเงนิ ตามกฎหมายทเ่ี ปน็ ภาษาไทย ในกรณที ม่ี เี นอ้ื ความ
ขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับภาษาไทย
เปน็ หลกั

๒.๒ เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด
เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สดรวมถงึ เงนิ สดในมอื เงนิ ฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื เมอ่ื ทวงถาม

เงนิ ลงทนุ ระยะสน้ั อน่ื ทม่ี สี ภาพคลอ่ งสงู ซง่ึ มอี ายไุ มเ่ กนิ สามเดอื นนบั จากวนั ทไ่ี ดม้ า

๒.๓ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว
เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว หมายรวมถงึ

เงนิ ฝากประจาำ
เงินฝากประจำาท่เี ป็นเงินลงทุนช่วั คราวคือ เงินฝากประจำาท่มี ีอายุต้งั แต่วันฝากจนถึงวันครบกำาหนด
อยรู่ ะหวา่ ง ๓ ถงึ ๑๒ เดอื น และเงนิ ฝากประจาำ ทม่ี อี ายตุ ง้ั แตว่ นั ฝากจนถงึ วนั ครบกาำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น แตจ่ ะครบกาำ หนดในอกี ๑๒ เดอื นขา้ งหนา้ สาำ หรบั เงนิ ฝากประจาำ ทจ่ี ะครบกาำ หนดมากกวา่
๑๒ เดอื น ณ วนั สน้ิ งวดจะแสดงเปน็ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว

เงนิ ฝากประจาำ วดั มลู คา่ ดว้ ยวธิ รี าคาทนุ

72

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สาำ หรบั ปีสนิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๓ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว (ตอ่ )
เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย คอื เงนิ ลงทนุ ทจ่ี ะถอื ไวโ้ ดยไมร่ ะบชุ ว่ งเวลาและอาจขายเพอ่ื เสรมิ สภาพคลอ่ ง หรอื

เมอ่ื อตั ราผลตอบแทนเปลย่ี นแปลง โดยไดแ้ สดงไวใ้ นสนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น ซง่ึ ฝา่ ยบรหิ ารแสดงเจตจาำ นง
ทจ่ี ะถอื ไวใ้ นชว่ งเวลานอ้ ยกวา่ ๑๒ เดอื นนบั แตว่ นั ทใ่ี นงบแสดงฐานะการเงนิ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขายแสดงใน
งบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรม รายการกำาไรและขาดทุนท่ยี ังไม่เกิดข้นึ จริงของเงินลงทุน
เผอ่ื ขายรบั รใู้ นสว่ นของทนุ จนกระทง่ั มลู นธิ จิ าำ หนา่ ยเงนิ ลงทนุ ดงั กลา่ ว จงึ บนั ทกึ การเปลย่ี นแปลงมลู คา่
นน้ั ในงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

๒.๔ เงนิ สาำ รองจา่ ย
เงินสำารองจ่ายเป็นเงินทดรองจ่ายให้แก่พนักงานและหน่วยงานต่างๆ เพ่อื ใช้สำาหรับการดำาเนินงาน

ในกจิ กรรมตา่ งๆ ของมลู นธิ ิ ซง่ึ รบั รเู้ รม่ิ แรกดว้ ยมลู คา่ ตามจาำ นวนเงนิ ทดรองทจ่ี า่ ยจรงิ และจะวดั มลู คา่
ตอ่ มาดว้ ยจาำ นวนเงนิ ทเ่ี หลอื หลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ ในระหวา่ งงวด

๒.๕ เงนิ กองทนุ พฒั นาหมบู่ า้ น
เงนิ กองทนุ พฒั นาหมบู่ า้ น คอื เงนิ ทม่ี ลู นธิ จิ ดั สรรแกป่ ระชาชนในพน้ื ทพ่ี ฒั นาเพอ่ื ใชใ้ นการจดั ตง้ั กองทนุ

ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ม่ี ลู นธิ กิ าำ หนด เงนิ กองทนุ ดงั กลา่ วจะตอ้ งนาำ มาคนื แกม่ ลู นธิ เิ มอ่ื บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์
มลู นธิ จิ ะรบั รเู้ งนิ กองทนุ พฒั นาหมบู่ า้ นเปน็ สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวยี นในงบการเงนิ โดยวดั มลู คา่ ดว้ ยจาำ นวน
ทม่ี ลู นธิ ใิ หไ้ ป หกั ดว้ ยคา่ เผอ่ื หนส้ี งสยั จะสญู (ถา้ ม)ี

๒.๖ อปุ กรณ์
อปุ กรณแ์ สดงดว้ ยราคาทนุ หกั ดว้ ยคา่ เสอ่ื มราคาสะสม และคา่ เผอ่ื การลดลงของมลู คา่ (ถา้ ม)ี

73

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มูลนิธปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สาำ หรบั ปสี ้นิ สดุ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๒ นโยบายการบัญชี (ตอ่ )

๒.๖ อปุ กรณ์ (ตอ่ )

ราคาทนุ ของอปุ กรณ์ รวมถงึ ราคาซอ้ื อากรขาเขา้ ภาษซี อ้ื ทเ่ี รยี กคนื ไมไ่ ด้ (หลงั หกั สว่ นลดการคา้
และจำานวนท่ไี ด้รับคืนจากผ้ขู าย) และต้นทุนทางตรงอ่นื ๆ ท่เี ก่ยี วข้องกับการจัดหาสินทรัพย์เพ่อื ให้
สนิ ทรพั ยน์ น้ั อยใู่ นสถานทแ่ี ละสภาพทพ่ี รอ้ มจะใชง้ านไดต้ ามความประสงคข์ องฝา่ ยบรหิ าร รวมทง้ั ตน้ ทนุ
ทป่ี ระมาณทด่ี ที ส่ี ดุ สาำ หรบั การรอ้ื การขนยา้ ย และการบรู ณะสถานทต่ี ง้ั ของสนิ ทรพั ย ์ ซง่ึ เปน็ ภาระผกู พนั
ของกจิ การทเ่ี กดิ ขน้ึ เมอ่ื กจิ การไดส้ นิ ทรพั ยน์ น้ั มาหรอื เปน็ ผลจากการใชส้ นิ ทรพั ยน์ น้ั ในชว่ งเวลาหนง่ึ

มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนในการเปล่ียนแทนส่วนประกอบของสินทรัพย์เป็นส่วนหน่ึงของมูลค่าตามบัญชี
ของสินทรัพย์ท่เี ก่ยี วข้องเม่อื ต้นทุนน้นั เกิดข้นึ และคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตแก่
มลู นธิ แิ ละจะตดั มลู คา่ ตามบญั ชขี องสว่ นประกอบทถ่ี กู เปลย่ี นแทนออกจากรายการสนิ ทรพั ย ์ สาำ หรบั
ค่าซ่อมแซมและบำารุงรักษาอ่นื ๆ มูลนิธิจะรับร้ตู ้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดงรายได้และ
คา่ ใชจ้ า่ ยเมอ่ื เกดิ ขน้ึ

ค่าเส่ือมราคาคำานวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอดอายุ
การใหป้ ระโยชนท์ ป่ี ระมาณการไวข้ องสนิ ทรพั ย ์ ดงั ตอ่ ไปน:้ี

เครอ่ื งตกแตง่ และตดิ ตง้ั ๕ ปี
ยานพาหนะ ๕ ปี
เครอ่ื งจกั ร ๑๐ ปี
อปุ กรณส์ าำ นกั งาน ๓-๕ ปี

มูลนิธิมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือ อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธีการคิดค่าเส่อื มราคา
อยา่ งสมาำ่ เสมอ

รายการกำาไรและขาดทุนจากการจำาหน่าย คำานวณโดยเปรียบเทียบจากส่งิ ตอบแทนท่ไี ด้รับกับราคา
ตามบญั ช ี และจะรวมไวใ้ นงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

ในกรณีท่มี ีข้อบ่งช้วี ่า อุปกรณ์มีมูลค่าลดลงอย่างถาวรและราคาตามบัญชีสูงกว่าราคาขายหักต้นทุน
ในการขาย ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับราคาขายหักต้นทุนในการขายทันที และจะรับรู้
ผลขาดทนุ จากการลดมลู คา่ ของอปุ กรณใ์ นงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ย

74

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นธิ ปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำาหรับปสี ิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๒ นโยบายการบญั ชี (ต่อ)

๒.๗ สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน
สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน ไดแ้ ก ่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์
สทิ ธกิ ารใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรโ์ ดยทซ่ี อ้ื มามลี กั ษณะเฉพาะบนั ทกึ เปน็ สนิ ทรพั ยโ์ ดยคาำ นวณจากตน้ ทนุ
ในการได้มาและการดำาเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์น้ันสามารถนำามาใช้งานได้ตามประสงค์
โดยจะตดั จาำ หนา่ ยตลอดอายปุ ระมาณการใหป้ ระโยชนภ์ ายในระยะเวลาไมเ่ กนิ ๓-๕ ปี
ตน้ ทนุ ทใ่ี ชใ้ นการพฒั นาและบาำ รงุ รกั ษาโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ หบ้ นั ทกึ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยเมอ่ื เกดิ ขน้ึ ตน้ ทนุ
โดยตรงในการจดั ทาำ โปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ลู นธิ เิ ปน็ ผดู้ แู ลและมลี กั ษณะเฉพาะเจาะจง ซง่ึ อาจให้
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจท่มี ากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหน่งึ ปีจึงจะบันทึกเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ตน้ ทนุ โดยตรงรวมถงึ ตน้ ทนุ พนกั งานทท่ี าำ งานในทมี พฒั นาโปรแกรมคอมพวิ เตอรแ์ ละคา่ ใชจ้ า่ ยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ในจาำ นวนเงนิ ทเ่ี หมาะสม

๒.๘ ประมาณการหนส้ี นิ
มูลนิธิจะบันทึกประมาณการหน้ีสินซ่ึงเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลง

ทจ่ี ดั ทาำ ไว ้ อนั เปน็ ผลสบื เนอ่ื งมาจากเหตกุ ารณใ์ นอดตี ซง่ึ การชาำ ระภาระผกู พนั นน้ั มคี วามเปน็ ไปได้
ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้มูลนิธิต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการท่นี ่าเช่อื ถือของ
จาำ นวนทต่ี อ้ งจา่ ย

๒.๙ การรบั รรู้ ายได้
เงนิ จดั สรรจากงบประมาณแผน่ ดนิ รายรบั จากเงนิ บรจิ าค และรายไดด้ อกเบย้ี รบั รเู้ ปน็ รายไดต้ ามเกณฑ์
คงคา้ ง

75

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สาำ หรบั ปีสิน้ สดุ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๓ เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด

พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

เงนิ สดในมอื ๒๘๗,๗๙๒ ๒๙๐,๙๐๔
เงนิ ฝากธนาคารประเภทจา่ ยคนื เมอ่ื ทวงถาม ๑๙,๙๒๗,๐๔๒ ๓๑,๐๐๙,๔๕๑
๒๐,๒๑๔,๘๓๔ ๓๑,๓๐๐,๓๕๕

เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเม่ือทวงถามมีอัตราดอกเบ้ียถัวเฉล่ียอยู่ท่ีร้อยละ ๐.๔๐-๐.๕๐ ต่อปี
(พ.ศ. ๒๕๕๙ : รอ้ ยละ ๐.๕๐ ตอ่ ป)ี

๔ เงนิ ลงทุนชัว่ คราว

เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราวมรี ายละเอยี ดดงั น้ี

พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

เงนิ ฝากประจาำ กบั ธนาคาร ๗๘๖,๖๒๖,๑๔๗ ๘๐๙,๑๘๙,๔๘๘
เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย ๒๕๑,๗๖๙,๔๙๕ ๑๖๘,๐๘๖,๐๖๘
รวม ๑,๐๓๘,๓๙๕,๖๔๒ ๙๗๗,๒๗๕,๕๕๖

ณ วนั ท ่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ เงนิ ฝากประจาำ กบั ธนาคารทจ่ี ะครบกาำ หนดภายใน ๑๒ เดอื น มอี ตั ราดอกเบย้ี
ระหวา่ งรอ้ ยละ ๑.๖๐ - ๑.๗๕ ตอ่ ป ี (พ.ศ. ๒๕๕๙ : รอ้ ยละ ๑.๖๐ - ๒.๐๐ ตอ่ ป)ี

76

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำาหรับปสี นิ้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๔ เงินลงทุนชัว่ คราว (ตอ่ )

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขายเปน็ เงนิ ลงทนุ ในกองทนุ เปดิ ธนชาตบรหิ ารเงนิ มลู นธิ วิ ดั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของเงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
โดยใชร้ าคาปดิ ณ วนั สน้ิ ป ี ของราคาหนว่ ยลงทนุ ของกองทนุ ดงั กลา่ ว ซง่ึ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี

เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
บาท

สาำ หรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑๖๘,๐๘๖,๐๖๘
ราคาตามบญั ชตี น้ งวด - สทุ ธ ิ ๓๓๒,๐๕๓,๒๖๘
(๒๔๘,๘๖๔,๙๒๑)
เพม่ิ ขน้ึ ระหวา่ งป ี ๔๙๕,๐๘๐
๒๕๑,๗๖๙,๔๙๕
ลดลงระหวา่ งป ี

การปรบั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของเงนิ ลงทนุ

ราคาตามบญั ชปี ลายงวด - สทุ ธ ิ

๕ ลูกหนอ้ี นื่

พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

ดอกเบย้ี คา้ งรบั ๓,๐๑๒,๑๗๒ ๑,๕๔๐,๒๘๒
อน่ื ๆ - ๑๐,๐๐๐

๓,๐๑๒,๑๗๒ ๑,๕๕๐,๒๘๒

77

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำาหรับปีส้นิ สดุ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๖ เงนิ สำารองจา่ ย พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท
เงนิ สาำ รองจา่ ยแกพ่ นกั งาน
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั กาฬสนิ ธ ์ุ ๑๘๐,๒๒๑ ๔๖๒,๓๒๐
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ขอนแกน่ ๑๒๙,๔๖๗ ๗๑๖,๑๖๕
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั นา่ น ๒๔๘,๑๗๕
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั เพชรบรุ ี ๘๑,๑๖๖ ๔๖,๔๙๔
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ชายแดนใต ้ ๓๔,๑๑๗
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อดุ รธาน ี -
เงนิ สาำ รองจา่ ยโครงการในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อทุ ยั ธาน ี ๑๙๕
๓๖๙,๔๐๑
๔,๐๑๔,๑๘๗ ๒๓๙,๑๐๐
๑๑๒,๑๔๓
๔๒,๐๗๒ -
๒,๐๘๑,๖๕๕
๔,๕๙๓,๕๖๗

78

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำาหรับปีส้ินสดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๗ อปุ กรณ์ - สุทธิ

เครอ่ื งตกแตง่ ยานพาหนะ เครอ่ื งจกั ร อปุ กรณ์ รวม
และตดิ ตง้ั บาท บาท สาำ นกั งาน บาท
บาท
บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๙๓๕,๓๑๐ ๑,๐๙๓,๕๙๔ ๑๐,๕๐๘,๔๕๔ ๓๖,๑๓๐,๖๗๖

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๑๐,๓๙๒,๐๔๖) (๑๐,๑๓๗,๗๙๐) (๒๓๙,๗๓๘) (๗,๔๑๖,๘๓๔) (๒๘,๑๘๖,๔๐๘)

ราคาตามบญั ช ี - สทุ ธ ิ ๑,๒๐๑,๒๗๒ ๒,๗๙๗,๕๒๐ ๘๕๓,๘๕๖ ๓,๐๙๑,๖๒๐ ๗,๙๔๔,๒๖๘

สาำ หรบั ปสี น้ิ สดุ

วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายนพ.ศ. ๒๕๖๐

ราคาตามบญั ชตี น้ ป ี - สทุ ธ ิ ๑,๒๐๑,๒๗๒ ๒,๗๙๗,๕๒๐ ๘๕๓,๘๕๖ ๓,๐๙๑,๖๒๐ ๗,๙๔๔,๒๖๘

ซอ้ื สนิ ทรพั ย ์ - - ๔๖,๑๓๗ ๒,๖๒๘,๕๗๑ ๒,๖๗๔,๗๐๘

จาำ หนา่ ยสนิ ทรพั ย ์ - สทุ ธ ิ - (๒) (๕,๑๔๔) (๙๗,๓๓๘) (๑๐๒,๔๘๔)

คา่ เสอ่ื มราคา (๘๓๓,๙๘๐) (๑,๘๗๑,๓๑๑) (๑๑๑,๘๔๕) (๑,๗๐๐,๕๐๒) (๔,๕๑๗,๖๓๘)

ราคาตามบญั ชปี ลายป ี - สทุ ธ ิ ๓๖๗,๒๙๒ ๙๒๖,๒๐๗ ๗๘๓,๐๐๔ ๓,๙๒๒,๓๕๑ ๕,๙๙๘,๘๕๔

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๘๘๑,๓๑๐ ๑,๑๓๓,๘๓๑ ๑๒,๐๗๒,๓๖๙ ๓๗,๖๘๐,๘๒๘

หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๑๑,๒๒๖,๐๒๖) (๑๑,๙๕๕,๑๐๓) (๓๕๐,๘๒๗) (๘,๑๕๐,๐๑๘) (๓๑,๖๘๑,๙๗๔)

ราคาตามบญั ช ี - สทุ ธ ิ ๓๖๗,๒๙๒ ๙๒๖,๒๐๗ ๗๘๓,๐๐๔ ๓,๙๒๒,๓๕๑ ๕,๙๙๘,๘๕๔

79

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สาำ หรบั ปสี ้ินสุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๘ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน - สทุ ธิ

บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑๗๔,๙๐๐
ราคาทนุ (๑๗๔,๘๙๗)

หกั คา่ ตดั จาำ หนา่ ยสะสม

ราคาตามบญั ช ี - สทุ ธ ิ

สาำ หรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

ราคาตามบญั ชตี น้ ป ี - สทุ ธ ิ ๓

ซอ้ื สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ตี วั ตน ๑๘๕,๐๐๓

คา่ ตดั จาำ หนา่ ย (๒๘,๓๓๙)

ราคาตามบญั ชปี ลายป ี - สทุ ธ ิ ๑๕๖,๖๖๗

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓๕๙,๙๐๓
ราคาทนุ (๒๐๓,๒๓๖)
๑๕๖,๖๖๗
หกั คา่ ตดั จาำ หนา่ ยสะสม

ราคาตามบญั ช ี - สทุ ธ ิ

80

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำาหรบั ปสี ้นิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๙ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท
คา่ ตอบแทนบคุ คลภายนอก
คา่ วสั ดสุ น้ิ เปลอื ง ๗,๕๗๙,๗๐๐ ๑๕๘,๓๐๕
คา่ ประชาสมั พนั ธแ์ ละจดั นทิ รรศการ ๓,๗๘๕,๑๓๐ -
เงนิ อดุ หนนุ ๕,๐๙๔,๖๙๑
คา่ ใชจ้ า่ ยคา้ งจา่ ยอน่ื ๆ ๒,๗๙๙,๘๔๒ ๑,๑๗๔,๗๔๔
๕,๖๓๕,๘๒๔
๒๕๐,๙๕๗
๑๙,๕๑๐,๓๒๐ ๑๒๕,๖๖๙
๗,๐๙๔,๕๔๒

81

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สาำ หรบั ปสี ิ้นสดุ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๐

๑๐ ภาระผกู พัน

มูลนิธิได้ทำาสัญญาเช่าอาคาร ยานพาหนะและอุปกรณ์ สัญญาน้ถี ือเป็นสัญญาเช่าดำาเนินงานท่ยี กเลิกไม่ได้
ยอดรวมของจาำ นวนเงนิ ขน้ั ตาำ่ ทต่ี อ้ งจา่ ยในอนาคตตามสญั ญาเชา่ ดาำ เนนิ งานทไ่ี มส่ ามารถยกเลกิ ไดม้ ดี งั น้ี

พ.ศ. ๒๕๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๙
บาท บาท

ภายใน ๑ ป ี ๕,๗๐๕,๕๐๙ ๕,๖๒๔,๐๒๐
เกนิ กวา่ ๑ ป ี แตไ่ มเ่ กนิ ๕ ป ี ๓,๙๓๔,๙๕๒ ๘,๓๒๕,๐๖๙
๙,๖๔๐,๔๖๑ ๑๓,๙๔๙,๐๘๙

82

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนการดาำ เนนิ งาน ปงี บประมาณ ๒๕๖๑

ในปงี บประมาณ ๒๕๖๑ สถาบนั สง่ เสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ยงั คงมงุ่ มนั่ พฒั นาพน้ื ทต่ี น้ แบบ
และสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคล่ือนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อสืบสานแนวพระราชดำาริ ด้านการจัดการความรู้ และส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริอย่างเป็น
ระบบกว้างขวาง ซึ่งสอดรับกับนโยบายการประยุกต์ใช้แนวพระราชดำาริในการขับเคลื่อนงานพัฒนาที่ย่ังยืน
เชิงพื้นที่ของรัฐบาล ด้วยการส่งเสริมประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานด้านการผลิต เช่น การปรับปรุงแหล่งน้ำา
การปรับปรงุ ดิน การอนรุ ักษฟ์ ื้นฟูป่า ฯลฯ สง่ เสริมการผลติ การแปรรปู และการตลาด แบบกลมุ่ ธรุ กิจ (Cluster)
เช่น การพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร การท่องเท่ียวชุมชน ฯลฯ ส่งเสริมการพัฒนาให้ชุมชนบริหารจัดการ
ได้ด้วยตนเอง ในลักษณะกลุ่ม/กองทุน และพัฒนาสู่รูปแบบกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise) และส่งเสริม
การสร้างนวตั กรรมดา้ นการพัฒนาทสี่ อดคลอ้ งกบั ลักษณะภมู ิสงั คม
ตลอดจนบริหารจัดการในพื้นท่ีต้นแบบ ให้มีรูปแบบการพัฒนาที่หลากหลายตามลักษณะภูมิสังคม เป็น
ต้นแบบในการขยายผล ก้าวไปสชู่ มุ ชนพง่ึ พาตนเองได ้ ในระดบั อย่รู อด พอเพยี งและย่ังยืน ใหค้ รัวเรอื นในพนื้ ที่
เป้าหมาย มีการลดตน้ ทนุ การผลติ มรี ายได ้ และสามารถรวมกล่มุ ในการบรหิ ารจัดการตนเองได้
การส่งเสรมิ และสนับสนุนการประยกุ ต์ใชแ้ นวพระราชดาำ ริในพืน้ ท่ีขยายผล จะสนับสนนุ การนำากระบวนการ
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา มาขับเคลื่อนการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุนการทำางานของ
คณะกรรมการระดบั จังหวัด อาำ เภอ ท้ังการจดั ทำาแผนการปฏบิ ตั งิ านขบั เคล่ือนการพฒั นาตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงในหมู่บ้านเป้าหมายตามแผนยุทธศาสตร์ฯ และติดตามผลในพื้นที่เป้าหมาย สนับสนุนการแก้ไขปัญหา
ที่พบระหว่างการปฏบิ ตั ิงานในพื้นท่ ี (Quick Win) เพ่ือสรา้ งความเชอ่ื มน่ั ในการนาำ แนวพระราชดาำ ริไปประยกุ ตใ์ ช้
ในพื้นท่ี และสนับสนุนองค์ความรู้ แนวคิด และกระบวนการเข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ในการขับเคล่ือนการพัฒนา
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ควบคู่กับการจัดต้ังสถาบันอบรม และการจัดการความรู้ ที่จะเตรียมบุคลากร และหลักสูตรให้ครอบคลุม
ความตอ้ งการของประเทศและภมู สิ งั คม เสรมิ สรา้ งความชำานาญของบคุ ลากร และเทคนคิ การประสานความรว่ มมอื
กับหน่วยงาน ตลอดจนพัฒนาชุดความรู้ของเกษตรกรยุคใหม่ และเตรียมความพร้อมอย่างต่อเนื่อง เพ่ือพัฒนา
ความร ู้ ทกั ษะ ดา้ นการเพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิต และการเปน็ ผู้ประกอบการให้เกษตรกร
สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของเกษตรกรท่ีนำาความรู้จากสถาบันอบรมไปประยุกต์ใช้ และสามารถถ่ายทอด
ให้แก่ผู้อ่ืนได้ ตลอดจนถอดบทเรียนสร้างความรู้ใหม่จากการประยุกต์ใช้ของเกษตรกร และพัฒนาให้ผู้นำาชุมชน/
เกษตรกร มที กั ษะความสามารถในการเปน็ วิทยากร เพ่ือสร้างชมุ ชนเขม้ แขง็ ม่นั คง ยง่ั ยืนต่อไป

83

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏิบตั งิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจาำ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

แผนงาน งบประมาณ
หนว่ ย บาท

๑. การพัฒนาพนื้ ที่ต้นแบบ และสนับสนนุ การขบั เคล่อื นยุทธศาสตร์การบูรณาการการขับเคลื่อนการ
และดา้ นการสง่ เสริมการพฒั นาตามแนวพระราชดำารอิ ยา่ งเป็นระบบกวา้ งขวาง จนกระท่งั เปน็
ในการขบั เคลอ่ื นงานพัฒนาทย่ี ่งั ยนื เชงิ พน้ื ท่ี (Area - Based Sustainable Development)

๑.๑ สง่ เสรมิ การพัฒนาพื้นทตี่ ้นแบบบูรณาการ ๗ พ้ืนท ี่ ๗๐,๐๐๐,๐๐๐

แกไ้ ขปญั หาและพัฒนาเชิงพื้นท่ี ๙ จงั หวดั

๑) ส่งเสริมประสิทธิภาพโครงสรา้ งพื้นฐาน

ดา้ นการผลิต เชน่ การปรับปรงุ แหลง่ น้ำา

การปรับปรงุ ดิน การอนุรักษ์ฟน้ื ฟปู ่า ฯลฯ

๒) สง่ เสริมการผลติ การแปรรปู และการตลาด

แบบกลุม่ ธรุ กจิ (Cluster) เชน่ การพัฒนา

ผลผลติ ทางการเกษตร การท่องเทย่ี วชมุ ชน ฯลฯ

๓) สง่ เสริมการพัฒนาให้ชุมชนบริหารจดั การได้

ดว้ ยตนเอง ในลกั ษณะกล่มุ /กองทนุ

และพัฒนาสู่รูปแบบกจิ การเพื่อสังคม

(Social Enterprise)

๔) ส่งเสรมิ การสร้างนวัตกรรมด้านการพัฒนา

ท่ีสอดคล้องกับลักษณะภมู ิสังคม

๕) การทบทวนการประยุกต์ใชแ้ นวพระราชดำาริ

๖ มิต ิ หลักการทรงงาน ๒๓ ข้อ

และยทุ ธศาสตร์พระราชทาน เขา้ ใจ เข้าถงึ พัฒนา

ในพ้ืนท่ีต้นแบบ

๖) การบรหิ ารจัดการในพืน้ ท่ตี น้ แบบ

84

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

กลมุ่ เป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ ผลผลติ

พัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อสบื สานแนวพระราชดาำ ริ ดา้ นการจัดการความรู้
แนวทางการพฒั นาหลกั ของประเทศ ซ่ึงสอดรบั กบั นโยบายของรัฐบาล (การประยกุ ตใ์ ช้แนวพระราชดำาริ

ครวั เรอื น / ชุมชน พน้ื ทีต่ ้นแบบ ๑) เพอ่ื ใหม้ รี ปู แบบการพัฒนา ๑) มีรปู แบบการพฒั นา

๗ พืน้ ท ่ี ได้แก ่ จังหวัดน่าน ท่ีหลากหลายตามลักษณะ ท่เี หมาะสมกับภมู ิสงั คม

จังหวดั อดุ รธาน ี จงั หวดั เพชรบุร ี ภมู ิสังคม ส่งผลให้ประชาชนมคี ุณภาพ

จงั หวดั อุทยั ธานี และจังหวดั กาฬสินธ ์ุ ๒) เพอ่ื เปน็ ตน้ แบบในการขยายผล ชวี ิตทด่ี ีขึน้

จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดชายแดน กา้ วไปสชู่ มุ ชนพง่ึ พาตนเองได้ ๒) เกดิ แหลง่ เรยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั ิ

ภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธวิ าส) ในระดับ อย่รู อด พอเพยี ง เพ่ือเปน็ แนวทางในการ

และยง่ั ยืน ขยายผล

๓) เพ่อื ให้ครวั เรือนในพนื้ ที่ ๓) มีการรวมกลุม่ ของหม่บู า้ น

เปา้ หมาย มกี ารลดต้นทุน ในระดบั พอเพียง และ

การผลิต มีรายได้ และ สามารถพง่ึ พาตนเองได้อย่าง

สามารถรวมกลุม่ ในการบริหาร ยง่ั ยนื ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม

จัดการตนเองของชาวบา้ นได้ ส่ิงแวดล้อมและความสขุ

เพ่มิ ขึ้น

85

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏบิ ัตงิ านและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำาริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ บาท
หน่วย ๕๐,๐๐๐,๐๐๐
๑.๒ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การประยกุ ต์ใชแ้ นวพระราชดำาริ
ในพน้ื ท่ีขยายผล ๗ พ้นื ที ่
๑) สนบั สนุนการนาำ กระบวนการเขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา ๙ จงั หวัด
มาขบั เคลอื่ นการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
๒) สนับสนนุ การทาำ งานของคณะกรรมการระดบั
จังหวดั อาำ เภอ ทง้ั การจดั ทำาแผน การปฏิบตั งิ าน
และติดตามผลในพื้นที่เป้าหมาย
๓) สนบั สนนุ การแก้ไขปัญหาท่ีพบระหว่างการ
ปฏบิ ัตงิ านในพืน้ ท ี่ (Quick Win) เพอ่ื สร้างความ
เชอ่ื มนั่ ในการนาำ แนวพระราชดำารไิ ปประยกุ ต์ใช้
ในพน้ื ที่

รวมงบประมาณ ๑๒๐,๐๐๐,๐๐๐

๒. การจัดต้ังสถาบันอบรม (Training) และการจดั การความร ู้ (การเตรยี มบคุ ลากรและหลกั สูตร
ประสานความร่วมมือกบั หนว่ ยงาน)

๒.๑ พัฒนาชุดความรขู้ องเกษตรกรยคุ ใหม่ ๓ หลกั สตู ร ๗,๐๐๐,๐๐๐

และเตรยี มความพรอ้ ม (ต่อเนอ่ื ง)

86

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

กลุ่มเปา้ หมาย วัตถปุ ระสงค์ ผลผลติ

พื้นทีเ่ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ เพ่ือสนับสนุนองคค์ วามรู้ แนวคดิ ๑) เกิดการสนับสนุนการทำางาน

การขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรัชญา และกระบวนการเข้าใจ เข้าถึง ของคณะกรรมการระดับ

ของเศรษฐกจิ พอเพียงในพ้ืนที่ พฒั นา ในการขับเคลอื่ นการพัฒนา จังหวัด/ระดับอาำ เภอ

ตน้ แบบ หรอื พืน้ ท่ที ่ีมคี วามพร้อม ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณะทำางานระดับตาำ บล/

และประชาชนเสนอความต้องการ หม่บู ้าน ในการขบั เคล่ือน

การพัฒนาตามปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง

๒) มแี ผนการขับเคลอ่ื นการ

พฒั นาตามปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งในหมบู่ ้าน

เปา้ หมายตามแผน

ยุทธศาสตร์ฯ

๓) เกดิ กจิ กรรมการแกไ้ ขปญั หา

ของพน้ื ท่ีทีพ่ บระหวา่ ง

การสนับสนนุ การทำางาน

(Quick Win)

ครอบคลมุ ความตอ้ งการของประเทศและภูมสิ ังคม ความชาำ นาญของบคุ ลากร เทคนิคการ

๑) เกษตรกรในหมู่บ้านต้นแบบ เพือ่ พฒั นาความรู้ ทักษะ ๑) ได้หลกั สตู รพัฒนาความ
๒) อาสาสมคั รพัฒนาหมบู่ ้าน
๓) เยาวชนในสถาบันการศึกษา ด้านการเพิม่ ประสทิ ธิภาพการผลิต เช่ยี วชาญในการเกษตรแบบ
และทจี่ บการศกึ ษาแลว้
และการเป็นผปู้ ระกอบการ ผสมผสานของเกษตรกร

ใหเ้ กษตรกร และการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ

๒) ได้วิทยากรต้นแบบของชมุ ชน

87

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นธิ ิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ
หน่วย บาท
๒.๒ จัดการฝึกอบรมและพัฒนาบคุ ลากร
ผูถ้ า่ ยทอดความร้แู นวพระราชดำาร ิ ๒ ครงั้ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
(จากหลกั สตู รที่จัดทาำ ไวแ้ ลว้ ๖ หลักสูตร)
๒๐ คน ๒,๐๐๐,๐๐๐
๑) สาำ รวจ คน้ หา ผนู้ าำ ชมุ ชน/เกษตรกรทม่ี ปี ระสบการณ ์ พนื้ ทีต่ ้นแบบ ๕,๐๐๐,๐๐๐
ความรจู้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ
๒)  จัดการฝกึ อบรมและการศึกษาดงู าน
๓)  จดั กิจกรรมแลกเปล่ยี นประสบการณ์
ระหวา่ งผนู้ ำาชมุ ชน และเกษตรกรที่ปฏบิ ตั จิ ริง
๔)  การวางแผนและฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ ในพืน้ ที ่
โดยมที มี เจ้าหนา้ ทตี่ ิดตามสนับสนนุ ใหค้ าำ แนะนาำ
๕)  การติดตามผลการฝึกอบรม และถอดบทเรยี น
การประยกุ ต์ใชค้ วามรู้

๒.๓ การสรา้ งเครอื ข่ายการเรียนร้ขู องเกษตรกรทน่ี าำ ความรู้
จากสถาบนั อบรมไปประยกุ ต์ใช้ และสามารถถ่ายทอด
ใหแ้ ก่ผูอ้ ื่นได้
๒.๔ การติดตามประเมนิ ผลและถอดบทเรียนการพัฒนา
พนื้ ท่ีตน้ แบบ

88

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

กลุ่มเป้าหมาย วัตถปุ ระสงค์ ผลผลิต

ผูน้ าำ ชมุ ชน เกษตรกร นกั พฒั นา ๑) เพอ่ื พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ ๑) มีผู้เข้ารว่ มการฝึกอบรม
และเจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐ
ชมุ ชนตามแนวพระราชดาำ ริ ท่สี ามารถนำาความรูไ้ ปใช้

โดยการฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ปฏิบัตจิ ริง

๒) เพ่ือถอดบทเรียนสรา้ งความรู้ ๒) มวี ทิ ยากรมคี วามเชี่ยวชาญ

ใหมจ่ ากการประยุกต์ใช้ ดา้ นการพัฒนาชมุ ชนตาม

ของเกษตรกร แนวพระราชดำาริ

๓) เพื่อพฒั นาให้ผู้นำาชุมชน/ ๓) เครือขา่ ยความรว่ มมือกบั

เกษตรกร มที ักษะความ ทกุ ภาคสว่ นด้านการพัฒนา

สามารถในการเป็นวิทยากร

เกษตรกรในหมู่บ้านต้นแบบ เพอื่ ขยายผลความรตู้ ามแนว ไดเ้ ครือขา่ ยวิทยากรต้นแบบ
หมู่บา้ นในพื้นที่ตน้ แบบ
พระราชดำาริ โดยเครือข่ายวทิ ยากร ท่ีมคี วามเช่ียวชาญในงานพฒั นา

ต้นแบบ ๖ มิต ิ จำานวน ๒๐ คน

๑) เพื่อประเมินผลการพฒั นา ๑) ไดท้ ราบผลการพฒั นาการ

พนื้ ทต่ี น้ แบบ ประยุกต์ใชแ้ นวพระราชดาำ ร ิ

๒) เพื่อถอดบทเรยี นและสรา้ ง ปัญหา อุปสรรค

ความรู้ใหม่จากการปฏบิ ัติจริง และแนวทางแก้ไข

ของชุมชน ๒) ได้รปู แบบการพฒั นาใน

พน้ื ที่ต้นแบบ ข้อเสนอแนะ

และแนวทางในการปรบั ปรงุ

การพัฒนาใหช้ ุมชนสามารถ

พึง่ พาตนเองได ้

(กรณศี กึ ษา ๑ พนื้ ที่)

89

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ

๒.๕ การจดั กจิ กรรมเผยแพรค่ วามร้แู ละสรา้ งความรูใ้ หม่ หนว่ ย บาท
๑) การจดั สมั มนาทางวชิ าการ ๖,๐๐๐,๐๐๐
๒) การผลติ สอ่ื และเอกสารชุดความรู้ ๑ ครงั้
๓) การสนบั สนุนทุนวิจยั เพือ่ ขยายผล ๒ เร่ือง
และสร้างความรู้ใหม่ ๒ เรื่อง

รวมงบประมาณ ๕ ครง้ั ๓๐,๐๐๐,๐๐๐
๕ ครั้ง ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
๓. การสง่ เสรมิ การรับรูแ้ ละเข้าใจแนวพระราชดำาริ ๒ คร้ัง
๒๐,๐๐๐,๐๐๐
๑. โครงการเผยแพร่แนวพระราชดำาริ ในรูปแบบการสาน
เสวนา การจดั นิทรรศการ ฯลฯ โดยรว่ มกับหน่วยงาน ๑๐,๐๐๐,๐๐๐
ตา่ งๆ เช่น มูลนธิ ชิ ัยพัฒนา มูลนิธสิ ่งเสรมิ ศิลปาชีพฯ
สาำ นกั งาน กปร. มลู นธิ ิม่นั พฒั นา กระทรวง กรม ๔๐,๐๐๐,๐๐๐
ภาคเอกชนและมหาวทิ ยาลยั ต่างๆ เพ่อื สร้างการมี
ส่วนร่วมของภาคี
๒. โครงการผลิตสื่อประชาสัมพนั ธ์ เพื่อเป็นเคร่อื งมอื สอ่ื สาร
ไปยังกลมุ่ เปา้ หมาย ตามช่องทางตา่ งๆ โดยสรา้ งความ
ร่วมมือในการส่ือสารร่วมกับภาคีภาคสว่ นต่างๆ เชน่
การผลติ และออกอากาศรายการโทรทัศน ์ การผลิต
เอกสารประสัมพนั ธ์ จดหมายข่าว รายงานประจำาปี
รายการทางวิทย ุ เปน็ ตน้
๓. โครงการสือ่ สารเรือ่ งราวชนบท รว่ มกบั สื่อมวลชน
ในการเผยแพรเ่ ร่อื งราวการพัฒนาชนบท มเี ป้าหมาย
เพอ่ื ลดช่องว่างในการรับร้ขู า่ วสารระหวา่ งเมืองกบั ชนบท
และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ดตี ่อกนั ระหว่าง
คนเมืองกบั ชนบทผา่ นกจิ กรรมตา่ งๆ ทกี่ อ่ ให้เกิดการ
แลกเปลีย่ นเรียนร้ซู ึ่งกันและกนั
รวมงบประมาณ

90

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

กล่มุ เป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลติ
พ้ืนท่ตี น้ แบบ
๑) เพ่ือเผยแพร่ความร้ทู เี่ กดิ ข้นึ ๑) มีหนว่ ยงานภาคที เ่ี ก่ยี วข้อง
จากการพัฒนาพ้นื ท่ีต้นแบบ นกั พัฒนา และผู้นาำ ชุมชน
๒) เพือ่ หาแนวทางการขยายผล มารว่ มแลกเปลยี่ น
ไปส่กู ารทาำ งานในระบบปกติ ประสบการณ์ ประมาณ
๑๐๐ คน
๒) มวี ิจัยท่ไี ดร้ ับการสนบั สนุน
จำานวน ๒ เร่อื ง

ประชาชนท่วั ไป หน่วยงานสืบสาน ๑) กลุม่ เป้าหมายเกดิ การรับร้ ู ๑) มีการรบั รู้ เรยี นรู้เพม่ิ ขนึ้
แนวพระราชดำาริ ภาครฐั เอกชน
องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน สถาบนั กจิ กรรมการพัฒนาตามแนว มคี วามตระหนกั ถึงความ
การศึกษา ส่อื มวลชน ภาคเอกชน
พระราชดาำ ริ สำาคญั ในการพฒั นาตนเอง

๒) กลมุ่ เปา้ หมายเกดิ ความศรทั ธา ๒) เกิดการพฒั นาตามแนวทาง

ในแนวทางแกไ้ ขปญั หา พระราชดำาร ิ เพ่ิมขึ้น

และพัฒนาตามแนว ทั่วประเทศ

พระราชดาำ ริ

๓) กลมุ่ เป้าหมายนาำ ความรู้

จากการจัดกจิ กรรม/โครงการ

และองค์ความรตู้ ามแนว

พระราชดำาร ิ ไปปรบั ใช้พฒั นา

ต่อยอด

91

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ
หน่วย บาท
๔. การสอ่ื สารสาธารณะและภาคสี มั พันธ์ ๕ ครง้ั ๑๐,๐๐๐,๐๐๐

๑. โครงการประชมุ เชิงปฏิบตั กิ าร การประชมุ เพอ่ื ๕ คร้ัง ๕,๐๐๐,๐๐๐
แลกเปลย่ี นความรแู้ ละประสบการณ์การพัฒนาชุมชน
ตามแนวพระราชดาำ ร ิ โดยจะรว่ มกับฝา่ ยจดั การความรู้ ๙ คร้ัง ๙,๐๐๐,๐๐๐
เพือ่ คดั เลือกชุมชนท่ีมศี ักยภาพมาถ่ายทอดประสบการณ์
แกก่ ล่มุ เป้าหมาย
๒. โครงการนาำ ส่ือมวลชนศกึ ษาเรยี นรู้ เพื่อให้กลุ่ม
เป้าหมายมคี วามเข้าใจ มีความร้เู กีย่ วกับการประยุกต์ใช้
แนวพระราชดาำ ริ จนสามารถบอกต่อ ถ่ายทอดเร่อื งราว
ความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปส่สู งั คมวงกวา้ งจนกระท่ังเกดิ การปฏบิ ตั ิ
๓. โครงการประชาสัมพันธ์ในพนื้ ทต่ี น้ แบบ เพอ่ื สร้างความ
เขา้ ใจ ใหค้ วามร ู้ ประชาสมั พนั ธข์ า่ วสาร ผลการดาำ เนนิ งาน
แกป่ ระชาชนในพน้ื ทแี่ ละโดยรอบโครงการ

๔. โครงการประเมินผลการประชาสัมพันธ์ การรบั รู้ ๑ คร้ัง ๕,๐๐๐,๐๐๐
และความพึงพอใจต่อโครงการ เพื่อศึกษาถงึ การรบั รู้ ๑ ครง้ั
และความพงึ พอใจต่อการดำาเนนิ งานโครงการของ ๑,๐๐๐,๐๐๐
สถาบนั สง่ เสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐
เพอ่ื ทราบถึงความคาดหวงั และขอ้ เสนอแนะตอ่ โครงการ
และการปฏบิ ตั งิ านเพ่ือนาำ มาปรบั ปรุงการทำางาน
ในอนาคต
๕. การเผยแพรผ่ ลการดำาเนินงานของสถาบันฯ
รวมงบประมาณ

92

รายงานประจำาปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

กลุม่ เปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ

ประชาชนในพื้นท่ีตน้ แบบและ ๑) เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์ผลสำาเรจ็ / ๑) ผลสำาเร็จ/กิจกรรมที่เกิดข้ึน
พืน้ ทโี่ ดยรอบ เยาวชน สอื่ มวลชน
ประชาชนท่วั ไป กิจกรรมท่เี กดิ ขน้ึ จากพฒั นา จากการพฒั นาตามแนว

ตามแนวทางพระราชดาำ ริ พระราชดำาริเปน็ ทรี่ ู้จกั

๒) เพอ่ื สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้ ๒) ประชาชนในพน้ื ทีเ่ ปา้ หมาย

ประชาชนในพื้นทต่ี ้นแบบ เกดิ ความต่นื ตัวและมี

และพื้นทโ่ี ดยรอบมสี ว่ นรว่ มใน ส่วนรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ

การพฒั นาชุมชนรว่ มกับ ร่วมกับโครงการ

โครงการ ๓) พน้ื ท่ีต้นแบบเปน็ แหล่งเรยี นร ู้

๓) เพื่อสร้างความเช่อื มั่น ศรัทธา ศึกษา ฝกึ ปฏบิ ัติแกผ่ ้ทู ี่

ในการพัฒนาชุมชนตามแนว ประสงคจ์ ะพฒั นาชมุ ชน

พระราชดำาร ิ สามารถแก้ไข ตามแนวพระราชดำาริ

ปญั หาของชมุ ชนได้ ๔) เกดิ การขยายผลโครงการ

ในพนื้ ท่ีใกลเ้ คยี ง

93

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏบิ ัติงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาำ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑
ของมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ
หนว่ ย บาท
๕. การบริหารจดั การ
๑๒ เดอื น ๖๖,๐๐๐,๐๐๐
๕.๑ คา่ ใช้จา่ ยบุคลากร เงนิ เดือน ค่าจา้ ง คา่ ตอบแทน ๑๒ เดอื น ๑๓,๕๐๐,๐๐๐
ค่าบริการวิชาชีพ และการพัฒนาบุคลากร
๕.๒ ค่าใชจ้ า่ ยสาำ นกั งาน คา่ ครภุ ัณฑ ์ ค่าวสั ดุอุปกรณ ์ ๑ คร้ัง ๕๐๐,๐๐๐
คา่ ซ่อมแซมบำารงุ รักษา ค่าระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (สาำ หรับกจิ กรรมตาม
คา่ สาธารณปู โภค (นำา้ ไฟ โทรศัพท์) ค่าวัสดสุ นิ้ เปลือง ขอ้ ๕.๓-๕.๗)
๕.๓ การจดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเพ่ือทำาแผนยทุ ธศาสตร ์
แผนบริหารความเสีย่ ง และการจดั ทำาระบบตรวจสอบ ๑ ครง้ั
และควบคุมภายใน ๑ ครง้ั
๕.๔ การทำาตัวชีว้ ัดผลการปฏบิ ัตงิ านของสถาบนั ฯ
๕.๕ การวดั พึงพอใจตอ่ การดำาเนินงานของสถาบนั ฯ ๖ ครั้ง
(ทำาเปรยี บเทยี บทุกปี ดูแบบสำารวจปีท่ีแลว้ )
๕.๖ การพฒั นาบคุ ลากรของสถาบนั ให้มคี วามรคู้ วาม ๑ ครัง้
เชีย่ วชาญที่สามารถปฏบิ ัติภารกิจของสถาบนั ฯ
อยา่ งไดผ้ ลดี
๕.๗ การปรับปรุงกระบวนงานของสถาบนั ฯ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ
และนาำ ไปสู่ผลลัพธข์ องงานท่มี คี ุณภาพ

รวมงบประมาณ ๘๐,๐๐๐,๐๐๐

รวม ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

หมายเหตุ: การใช้จ่ายงบประมาณทั้ง ๕ แผนงานดงั กล่าว สถาบันส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลงั พระฯ

จะได้ดำาเนนิ การใช้จ่ายทกุ รายการถวั จา่ ยกันได้ และใหเ้ ป็นไปตามระเบียบสถาบนั ส่งเสริม

และพฒั นากิจกรรมปิดทองหลงั พระฯ ว่าดว้ ยการบรหิ ารการเงิน ทรพั ยส์ ิน และพสั ด ุ พ.ศ. ๒๕๕๓

94

รายงานประจาำ ปี ๒๕๖๐ ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

กลุ่มเปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลติ

พนักงาน ลูกจา้ ง กรรมการ ที่ปรึกษา ๑) เพอ่ื เปน็ ค่าตอบแทนการปฏิบตั ิ ๑) บคุ ลากรมขี วญั กาำ ลังใจใน

ภาคเี ครอื ข่าย ผูใ้ ชบ้ ริการสำานักงาน งานของมลู นิธฯิ /สถาบันฯ การปฏิบัตงิ าน

ประชาชนทวั่ ไป หน่วยงานทต่ี ิดตอ่ ๒) เพื่อเพิม่ ศกั ยภาพบคุ ลากรให้ ๒) บคุ ลากรมีการพัฒนา

ประสานงาน สอดคลอ้ งกบั การพฒั นาองคก์ ร ศักยภาพ

๓) เพอ่ื เกดิ ความคลอ่ งตวั รวดเรว็ ๓) มแี ผนบริหารความเส่ียง

ในการปฏบิ ัติงาน และการควบคุมภายใน

๔) เพื่อปรับปรุงระบบส่อื สาร เป็นเครือ่ งป้องกันและแก้ไข

ให้มีความทนั สมัย ความเสย่ี งที่เกดิ ขน้ึ

และมปี ระสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ ๔) มรี ะบบและวสั ดุอปุ กรณท์ ี่

๕) เพื่อสนับสนนุ ภารกจิ การ พรอ้ มสนบั สนุนตอ่ การใช้งาน

ดำาเนนิ งานของมูลนิธิฯ/ ๕) มรี ะบบเคร่ืองมือ และระบบ

สถาบนั ฯ สือ่ สาร ในการปฏิบตั ิงาน

ในการส่อื สารทงั้ ภายใน

องคก์ ร และภายนอกองคก์ ร

ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๖) หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ ง/บุคคล

ทั่วไป ไดร้ บั การบรกิ ารทีด่ ี

95




Click to View FlipBook Version