The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2558

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:28:59

รายงานประจำปี 2558

รายงานประจำปี 2558

Keywords: รายงานประจำปี 2558

จึงอยากให้เด็กเก่งและเสียสละเป็น ร่วมกันขนท่อ ฝังท่อที่บ่อดักตะกอน ทำาแปลงผักบ้าน
บางกลอย เรยี นรูว้ ิธกี ารเกีย่ วข้าว ฝัดข้าว ปลูกพชื หลังนา รวมทง้ั นักศึกษายงั มโี ครงการต่อยอด
จากท่ีมาลงศึกษา กลับมาจัดโครงการสอนหนังสือให้กับนักเรียนโรงเรียนตระเวนชายแดน
บ้านโปง่ ลึก

จัดทำาโครงการปรับปรุงดินให้เหมาะสมกับการเพาะปลูกและการทำานาขั้นบันได โดยภาค
วิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ นำาเด็กท่ีมีจิตอาสาข้ึนไปทำากิจกรรมร่วมกับชุมชน เช่น
การทาำ เกษตร ปลกู ขา้ วในพืน้ ทโ่ี ซน D (บ้านโป่งลึก) ตงั้ แตก่ ารเตรยี มดิน ทำาปยุ๋ ฉีดปุ๋ยนาำ้ หมัก
E.M. หยอดข้าว เกยี่ วข้าว นบั ผลผลิต เรยี นรชู้ ุมชน และใช้งบส่วนตวั ในการพัฒนากงั หนั นา้ำ
เพ่อื ผนั นา้ำ ข้ึนไปสระ ๑,๘๐๐ ลกู บาศก์เมตร บา้ นบางกลอยสาำ เร็จ

นอกจากนี้ ยังมีโครงการจัดทำาแผนแม่บทพัฒนาแหล่งนำ้าในพื้นท่ีบ้านบางกลอย-โป่งลึก
โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นการแนะนำาแนวทางเสริมประสิทธิภาพระบบเก็บกักน้ำาเดิมให้มี
ประสิทธิภาพ คำานวณปริมาณการใช้น้ำาที่เหมาะสมด้านการเกษตร (สมดุลน้ำา) เสนอแนวทาง
พัฒนาด้านการเกษตรท่ีเหมาะสมกับปริมาณนำ้า และแนวทางการบริหารจัดการน้ำาโดยชุมชน
และโครงการจัดทำาแผนที่และระบบภูมิสารสนเทศเพ่ือการบริหารจัดการโครงการพัฒนาพื้นที่
บ้านบางกลอย-โป่งลึก

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 51
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ในปี ๒๕๕๘–๒๕๖๐ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ยังจะจดั ทาำ โครงการพัฒนาแปลงนาสาธติ
เพื่อเป็นต้นแบบการเพ่ิมผลผลิตข้าว โดยภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ โครงการ
พัฒนาระบบสุขาภิบาลและการผลิตปศุสัตว์ (สุกร+เป็ด) โดยสำานักวิชาทรัพยากรการเกษตร
ภาควิชาสูตศิ าสตร์ ธนุเวชวิทยา และวิทยาการสบื พันธ์ุ คณะสัตวแพทยศาสตร์ โครงการศึกษา
ความเป็นไปได้ในการเพิ่มมูลค่ากล้วย โครงการนำาร่องสืบสานบ้านชาวกะหร่าง และโครงการ
แปลงป่า ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง (สวนป่าชุมชน) โดยภาควิชาสถาปัตยกรรมศาสตร์
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ โครงการศึกษาประเพณีและศิลปวัฒนธรรมชุมชนกะหร่าง
เพือ่ การท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม โดยภาควชิ านาฏยศลิ ป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ และโครงการ
โรงเรียนตำารวจตระเวนชายแดนต้นแบบ โดยภาควิชานโยบายการจัดการและความเป็นผู้นำา
ทางการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์

พ้ืนท่ีต้นแบบบ้านโป่งลึก-บางกลอย ยังได้รับความร่วมมือจากมหาวิทยาลัยมหิดล ใน
การออกหน่วยเจาะเลือดตรวจหาเช้ือมาลาเรียให้กับชาวบ้านโดยคณะเวชศาสตร์เขตร้อน
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ชมรมมหาวทิ ยาลยั ชาวบา้ น นาำ นสิ ติ มาออกคา่ ยจติ อาสาทาำ กจิ กรรม
รว่ มกบั ชาวบา้ น เชน่ ปรบั พน้ื ท่แี ปลงนา ทาำ ป๋ยุ หมักเพ่อื ปรบั ปรุงบาำ รุงดิน เรียนรู้ชมุ ชน เปน็ ตน้

52 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี นำานักศึกษาเข้ามาเก็บข้อมูลเบื้องต้น
และตัวอย่างข้าวพันธุ์นาเจิง และกิซู้ เพ่ือทำาการศึกษาถึงความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
ข้าวไร่ ความเหมือนหรือแตกต่างกันของข้าวไร่ หาสารท่ีช่วยในการต้านอนุมูลอิสระในข้าวไร่
กลุ่มชาติพนั ธ์ุ เนือ่ งจากปจั จบุ นั คนสว่ นใหญห่ นั มาใสใ่ จดา้ นสขุ ภาพมากขึ้น หลงั จากนกั ศกึ ษา
ทำาวิจัยได้ผลออกมาแล้ว จะนาำ มาขยายผลสูช่ มุ ชนที่บางกลอย-โป่งลึก

มหาวิทยาลัยศิลปากร ทำาการศึกษาและทำาวิจัยส่งเสริมปลูกพืชสมุนไพรในพื้นที่โครงการ
โดยคณะเภสชั ศาสตร์ เพอื่ หาแนวทางเบอ้ื งตน้ ใหช้ าวบา้ นในการหาพนั ธส์ุ มนุ ไพรในพน้ื ทเี่ พอื่ ปลกู
และทาำ ทางเดนิ ศกึ ษาธรรมชาตสิ มนุ ไพร ซงึ่ อยรู่ ะหวา่ งการสาำ รวจเสน้ ทางทเ่ี หมาะสมและสาำ รวจ
พันธุ์สมนุ ไพรท่ีจะนำามาปลกู

พื้นท่ตี ้นแบบบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม จังหวดั อุดรธานี ไดร้ บั ความร่วมมือจากมหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏอุดรธานีมาต้ังแต่ปี ๒๕๕๕ จนถึงปี ๒๕๕๘ โดยหลากหลายสาขาวิชา เช่น สาขา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่งเสริมสนับสนุนเกษตรกรให้ทำาปุ๋ยชีวภาพใช้เอง เพ่ือลดต้นทุน
สง่ เสรมิ และใหค้ วามรกู้ ารเกบ็ ตวั อยา่ งดนิ เพอื่ ใหเ้ กษตรกรรจู้ กั การปรบั ปรงุ บาำ รงุ ดนิ และเสรมิ ธาตุ
อาหารใหด้ ินในพ้ืนท่ขี องตนเอง สนบั สนนุ เครือ่ งปัน้ ปุ๋ยให้กับกองทนุ ปยุ๋ บ้านโคกล่าม-แสงอรา่ ม
สนับสนุนเครื่องหยอดเมล็ดพันธ์ุข้าวและข้าวโพด สนับสนุนเครื่องตัดท่อนมันสำาปะหลังให้กับ
เกษตรกรผู้ปลกู พืชไร่

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 53
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

สาขาเกษตรและเทคโนโลยี ส่งเสริมสนับสนุนให้ความรู้กับอาสาสมัครพัฒนาปิดทอง
หลังพระฯ เรียนรู้การวิเคราะห์ดินในห้องแล็บเพ่ือหาค่าของดิน เรียนรู้การใช้เครื่องมือและ
อ่านค่าของผลตรวจเพ่ือใช้ตรวจวิเคราะห์ดินเบ้ืองต้นให้กับเกษตรกรในพ้ืนที่ได้ ส่งเสริมและ
สนับสนุนการตรวจวิเคราะห์เก็บตัวอย่างดินสำาหรับผู้ปลูกพืชไร่สวนยางพารา มันสำาปะหลัง
และออ้ ย ทดลองและวิจัยขา้ วพันธพ์ุ ืน้ เมือง ๓๒ สายพนั ธ์ุ (แปลงสาธิต) สนับสนนุ ให้ความรู้
การแปรรูป การคำานวณต้นทุนการผลิต พร้อมกับการบรรจุภัณฑ์เพื่อเป็นสินค้าและของฝาก
เก็บข้อมูลเศรษฐกิจสังคมบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม ปี ๒๕๕๖ ส่งเสริมและสนับสนุนการแปรรูป
ผลติ ภณั ฑ์จากการเกษตร เชน่ ฟักทอง กล้วย มันเทศ (กล้วยอบเนย ฟกั ทองกรอบ มนั บารบ์ ีควิ )
สง่ เสริมและสนบั สนุนการทำานำ้าหมกั ชวี ภาพและสารไลแ่ มลง และมหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี
วิทยาเขตบึงกาฬ ทำาการเกบ็ ขอ้ มูลเศรษฐกิจสังคมบา้ นโคกล่าม-แสงอรา่ ม ในปี ๒๕๕๗

54 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

วทิ ยาลยั สารพดั ชา่ งอดุ รธานี สง่ เสรมิ และใหค้ วามรกู้ ารแปรรปู ผลติ ภณั ฑจ์ ากหมู เชน่ แหนม
ไสก้ รอก ไสอ้ ว่ั สาคู มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ โดยสาำ นกั งานสขุ ภาวะและพฒั นาสงั คม ทาำ โครงการ
วิจัยและพัฒนาเรื่องการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และความเข้มแข็งของชุมชนสู่คุณธรรม
จริยธรรมและเศรษฐกิจพอเพยี ง

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 55
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

สภาพเศรษฐกจิ ในพ้ืนที่ต้นแบบ

ผลการดำาเนินงานโดยความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคม และสถาบันการศึกษา ทำาให้สภาพเศรษฐกิจสังคมของประชาชนในพ้ืนที่
ตน้ แบบดขี นึ้ โดยลาำ ดบั เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั กอ่ นดาำ เนนิ การพฒั นา เชน่ พนื้ ทต่ี น้ แบบ ๒๐ หมบู่ า้ น
๓ อาำ เภอของจงั หวดั นา่ น ๑,๗๒๒ ครวั เรอื น ๗,๐๙๔ คน ในปี ๒๕๕๗ มรี ายไดร้ วม ๒๒๐,๑๙๙,๑๙๒
บาท เฉลย่ี ครัวเรอื นละ ๑๒๗,๘๐๐ บาท

รายได้

ปศสุ ตั ว์ และอืน่ ๆ
การเกษตรในพ้นื ที่

รายได้ส่วนใหญ่มาจากการเกษตรในพ้ืนท่ี คิดเป็นร้อยละ ๗๐ ของรายได้ท้ังหมด รองลงมาคือรายได้
จากปศุสัตว์ และรายได้อ่ืนๆ เพ่ิมข้ึนจากปี ๒๕๕๒ เฉล่ียปีละ ๑๘,๒๒๒ บาทต่อครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ
๓๓.๑๘ ต่อปี

รายจา่ ย ค่าพาหนะ
ค่าการศึกษา
คา่ ใช้จา่ ยในครวั เรือน ค่าลงทนุ ปลกู พืช
และอ่ืนๆ

ค่าวตั ถดุ ิบ
ประกอบอาหาร

รายจ่ายรวม ๑๑๓,๗๕๔,๙๔๖ บาท เฉล่ียครัวเรือนละ ๖๖,๐๒๑ บาท ส่วนใหญ่มาจากค่าลงทุนในการ
ปลูกพืชร้อยละ ๒๙ และค่าวตั ถุดิบประกอบอาหารร้อยละ ๒๕ ท่ีเหลอื เป็นค่าพาหนะ คา่ ใช้จา่ ยในการศึกษา
และคา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรอื น เฉล่ยี รอ้ ยละ ๓-๘ ของรายจ่าย เพ่ิมข้ึนจากปี ๒๕๕๒ เฉล่ียปลี ะ ๕,๒๐๗ บาทตอ่
ครัวเรือน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๑.๕๒ ต่อปี

56 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

หนสี้ นิ หนี้ธนาคาร หนก้ี องทนุ หมู่บ้าน
หนีส้ หกรณ์

และกองทุนต่างๆ

มีหนส้ี นิ รวม ๕๒,๙๓๑,๕๕๐ บาท เฉลย่ี ครัวเรือนละ ๓๐,๗๒๑ บาท สว่ นใหญ่เปน็ หน้จี ากกองทนุ หม่บู ้าน
ร้อยละ ๓๘ รองลงมาเป็นหน้ีสหกรณ์และกองทุนต่างๆ ร้อยละ ๒๔ และหนี้ธนาคารร้อยละ ๑๘ ลดลง
จากปี ๒๕๕๒ เฉล่ยี ปลี ะ ๑,๙๕๔ บาทต่อครัวเรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕.๐๗ ต่อปี

ซอ้ื ประกนั

เงนิ ออม เก็บไวท้ ี่บา้ น

ฝากธนาคาร

มีเงินออมรวม ๓๐,๗๔๔,๓๐๑ บาท เฉลี่ยครัวเรือนละ ๑๗,๘๗๓ บาท โดยร้อยละ ๕๔ ออมโดย
การฝากธนาคาร รองลงมาเกบ็ ไวท้ บ่ี า้ นร้อยละ ๒๕ และออมโดยซอ้ื ประกันร้อยละ ๑๕ ลดลงจากปี ๒๕๕๒
เฉลยี่ ปีละ ๑๗ บาทต่อครัวเรอื น คดิ เป็นร้อยละ ๐.๐๙ ตอ่ ปี

ขณะที่ความสามารถในการจัดการชีวิตของครัวเรือนดีขึ้น เช่น มีการจดบันทึกรายรับ
รายจา่ ย หรอื การทาำ บญั ชคี รวั เรอื น สามารถจดั การสภาพคลอ่ งทางการเงนิ และมน่ั ใจวา่ สามารถ
จัดการการผลิตได้เอง โดยไม่ตอ้ งพ่ึงพาหนว่ ยงานภายนอก ร้อยละ ๘๕

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 57
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

พื้นที่ต้นแบบตำาบลแก่นมะกรูด สามารถทำาโครงการสนับสนุนการท่องเที่ยวได้โดยการ
ปรับปรงุ ภมู ิทัศน์บรเิ วณสภาตาำ บลและโดยรอบ จดั เปน็ แปลงสาธติ การปลูกสตรอวเ์ บอร์ร่ี ตลาด
ชมุ ชน “ตลาดกระเหรยี่ งแกน่ มะกรดู ” และจดุ แสดงหนุ่ จาำ ลองสตั วป์ า่ หว้ ยขาแขง้ เปดิ ใหน้ กั ทอ่ ง
เที่ยวเข้าชมได้อย่างเปน็ ทางการ เม่ือเดอื นพฤศจิกายน ๒๕๕๘ มีการจัดทำาแปลงไมด้ อกเมอื ง
หนาวและจุดท่องเที่ยวบริเวณบ้านอีมาด–อีทราย เพ่ือรองรับนักท่องเท่ียวในฤดูกาลท่องเท่ียว
ระหวา่ งเดือนพฤศจกิ ายน ๒๕๕๘–มีนาคม ๒๕๕๙

การสำารวจข้อมูลเศรษฐกิจ–สังคม ทั้ง ๔ หมู่บ้านในตำาบลแก่นมะกรูด ซึ่งทำาการสำารวจ
ข้อมูลทุกหมู่บ้าน ของพัฒนาชุมชนอำาเภอบ้านไร่ โดยใช้เกณฑ์ จปฐ. คือมีรายได้ตำ่ากว่า
๓๐,๐๐๐ บาทต่อคนตอ่ ปี พบวา่ ในพ้นื ท่ีตน้ แบบตำาบลแกน่ มะกรูด ๔๔๘ ครัวเรอื น ในปี ๒๕๕๘
พบว่าไม่มคี รัวเรอื นท่ีตกเกณฑ์ จปฐ. คอื มรี ายได้ต่าำ กว่า ๓๐,๐๐๐ บาทเลย

58 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ทิศทางการดาำ เนินงานในพนื้ ท่ตี ้นแบบ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ ได้กำาหนดทิศทางการดำาเนินงาน
พ้ืนทต่ี น้ แบบ ในปี ๒๕๕๙ ดงั นี้

พื้นที่ต้นแบบจังหวัดน่าน จะเน้นการส่งเสริมองค์ความรู้ และเช่ือมโยงด้านการตลาด
เพ่ือต่อยอดจากการพัฒนาระบบนำ้าท่ีโครงการส่งเสริมตั้งแต่ปี ๒๕๕๒ โดยมีเป้าหมายให้การ
พฒั นาชมุ ชนไปสู่ “ระดบั พื้นท่ีภูมิภาค” (ยั่งยืน) โดยมแี นวทาง คือ ส่งเสริมให้มแี หลง่ รวบรวม
และกระจายผลผลติ ทางการเกษตร ทง้ั ระดบั ชมุ ชนและระดบั จงั หวดั สง่ เสรมิ การแปรรปู ผลผลติ
ทางการเกษตร และการทำาวิสาหกิจชุมชน ที่ชาวบ้านมีส่วนร่วมถือหุ้นและบริหารจัดการเอง
ส่งเสริมการทอ่ งเท่ียวเชิงเกษตร และการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ในพ้ืนที่ที่มีศกั ยภาพใน ๓ อำาเภอ
ตน้ แบบ และพฒั นาความเขม้ แขง็ ของกองทนุ ตา่ งๆ ในชมุ ชน โดยเชอื่ มโยงสาำ นกั งานตรวจบญั ชี
และสหกรณ์จังหวัดเข้ามาร่วมจัดระบบสหกรณ์ในชุมชน เพื่อให้มีการบริหารจัดการที่โปร่งใส
ทวั่ ถงึ และเป็นธรรม มีกิจกรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง

พื้นท่ีต้นแบบบ้านโคกล่าม-แสงอร่าม จังหวัดอุดรธานี มีแนวทางท่ีจะจัดต้ังแหล่งรวบรวม
และกระจายผลผลิต เพ่ือเป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตในพื้นท่ีโครงการ และเช่ือมโยงตลาดมา
รองรับผลผลิต รวมทั้งการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยเน้นการดำาเนินงานและบริหารจัดการ
โดยคณะกรรมการทีม่ าจากชาวบ้าน โดยแบ่งรายไดเ้ ป็น ๔ สว่ น ไดแ้ ก่ ร้อยละ ๗๐ เข้ากองทุน
รอ้ ยละ ๒๐ เปน็ คา่ ตอบแทนคณะกรรมการ รอ้ ยละ ๕ เปน็ ค่าประกนั ความเสยี่ งให้กบั สมาชิก
และอีกร้อยละ ๕ เป็นเงินปันผลประจำาปี เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งในชุมชน รวมทั้งการ
เชอื่ มเครือข่ายกบั ภายนอก เพอ่ื ไปสู่ความย่ังยนื ในทีส่ ุด

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 59
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

พน้ื ทต่ี น้ แบบตาำ บลแกน่ มะกรดู จงั หวดั อทุ ยั ธานี จะเนน้ การสรา้ งความรใู้ นการบรหิ ารจดั การ
พ้ืนที่การเกษตร และส่งเสริมการปลูกพืชทางเลือกทดแทนการปลูกพืชไร่เชิงเด่ียว เพื่อลดการ
บุกรุกพ้ืนที่ป่าในพื้นท่ี ต่อยอดการพัฒนาระบบนำ้า และจัดทำาฐานข้อมูลด้านการจัดการแนว
เขตทด่ี ิน เพ่อื เปน็ ข้อมูลประกอบการวางแผนและปฏบิ ัติงานของหนว่ ยงานอื่นๆ ด้วยการจัดตั้ง
คณะกรรมการบรหิ ารพนื้ ที่ รวมทงั้ สง่ เสรมิ ปลกู พชื แสดงขอบเขตโครงการฯ และจดั ทาำ ฐานขอ้ มลู
พื้นที่การใช้ประโยชน์ของราษฎร เพื่อเป็นฐานข้อมูลให้กับหน่วยงานอ่ืนๆ ในการวางแผนการ
พัฒนา ตามมาตรา ๑๙ พ.ร.บ.ปา่ สงวนแห่งชาติ โดยคณะทาำ งานด้านจัดการแนวเขตทด่ี นิ เปน็
ผู้ดาำ เนนิ งาน

60 รายงานประจำาปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ต่อยอดการพัฒนาระบบนำ้าด้วยการต่อท่อกระจายน้ำาเข้าสู่พื้นท่ีการเกษตร พร้อมท้ังสร้าง
จุดพักนำ้าเพื่อเป็นน้ำาสำารองในแปลงเกษตร สร้างความชุ่มช้ืนในพื้นท่ีด้วยการสร้างฝายอนุรักษ์
รวมท้ังสร้างกลุ่มผู้ใช้น้ำาที่เข้มแข็งเพ่ือให้เกิดการบริหารจัดการนำ้าอย่างเป็นธรรม ส่งเสริมการ
ปลูกพืชทางเลือก การทำาเกษตรแบบประณีต ส่งเสริมการปลูกไม้ผลและการจัดการพ้ืนที่อย่าง
จาำ กดั ใหส้ รา้ งรายได้ เพือ่ ลดพื้นทกี่ ารปลกู พืชไร่เชงิ เดีย่ ว โดยคณะทาำ งานด้านการเกษตรและ
สง่ เสรมิ อาชพี เปน็ ผดู้ าำ เนนิ งาน สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ ของเกษตรกรในการบรหิ ารจดั การทรพั ยากร
ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ และพฒั นากลมุ่ เดมิ ทมี่ อี ยใู่ นพนื้ ทใี่ หเ้ กดิ ความเขม้ แขง็ สามารถดาำ เนนิ งานได้
อยา่ งต่อเนอื่ ง โดยคณะทาำ งานด้านการเกษตรและสง่ เสริมอาชพี และมสี หกรณ์จงั หวดั อุทัยธานี
เปน็ พี่เลี้ยงในการดาำ เนินการรวมกลุ่ม การบรหิ ารจัดการกล่มุ ตามแนวทางสหกรณ์ และสง่ เสริม
การท่องเที่ยวโดยชุมชน ต่อยอดการท่องเท่ียวในพื้นที่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยวระหว่างเดือน
พฤศจกิ ายน–มีนาคมของทุกปี ใหเ้ ปน็ การทอ่ งเทย่ี วตลอดทั้งปี โดยราษฎรในพน้ื ท่ีมีสว่ นรว่ มใน
การจัดการทอ่ งเทย่ี ว โดยคณะทำางานดา้ นการจดั การทอ่ งเท่ยี ว

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 61
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ผลการดำาเนนิ งานด้านการประชาสมั พันธ์

ผลการดำาเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ของฝ่ายสื่อสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ ผ่าน
สอ่ื สงิ่ พมิ พแ์ ละโทรทศั นส์ ว่ นกลาง ในปงี บประมาณ ๒๕๕๘ (ตลุ าคม ๒๕๕๗ – กนั ยายน ๒๕๕๘)
ได้รบั ความสนใจและถกู เผยแพร่ผา่ นสอื่ มวลชนอยา่ งกว้างขวาง รวมทั้งสน้ิ ๓๗ ส่อื ๓๕๐ ข่าว
มีจำานวนการรับรู้ ๙๒๒,๒๑๒,๘๖๑ คร้ัง กล่าวคือ เผยแพร่ผ่านสื่อส่ิงพิมพ์ ๒๒ สำานักพิมพ์
รวม ๒๓๙ ขา่ ว ๑๓,๘๗๖ คอลมั นน์ ้วิ ๑๘๒,๗๑๕,๘๕๕ ฉบับ มกี ารรบั รู้ ๗๓๐,๘๖๓,๔๒๐ ครัง้
เผยแพร่ผ่านส่อื โทรทศั น์ ๑๕ สถานี รวม ๑๑๑ ข่าว ความยาว ๒,๔๙๙.๗๑ นาที ๖๑,๗๒๕,๖๒๖
ครัวเรอื น มีการรบั รู้ ๑๙๑,๓๔๙,๔๔๑ คร้งั

สดั ส่วนการเผยแพร่ผา่ นสือ่ ต่างๆ NEWS No. 11:12:2014 สื่อสง่ิ พมิ พ์ ๒๒ สาำ นกั
LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET
สือ่ เวบ็ ไซต์ ๒๖ สำานกั LLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOLRMEOLRMEOLRMEOILRMEOILPRMEOLIPRMEOLIPSRMEOLPSRMIEOUISRMPEOUIPSRMEUIPRMSEMUIPSRMEMIPSUMEMUISPMEMUISPMDMIUSPMDMIPUSDMOIPUSDMOIPSUMDOIPSULDMOUSPLDMOOUSLDMOOUSLDMOOURDMLOOULRDMOOLRDMOOLDRMSOOLDSROODLRISOODLRITSOOLDRITOSOLRITSOOLARTSOOILARISOTLAMRITSOLRAMITSORMITSAOREAMITSRESAITMTRESAMITTIESAMTTITSAMELTITESAMLITEAMTOALTITEMOALTETMLOAMRTEOAMLRTOEAMLRTEEOEMLRTEROEMLTMEOTELRMEOTEELRMOTELRMEOMTIRELOTIPRMELIPORMELIPSORMELIPSOMERPUISOMERUIPSMRESUIPMMREUIPSMMUEISPMMEUISPMMUMISPDMUPSDMIUSDMIPOUSDMIPODUMIPSOULDMPSOLDUMOSOLDUMSOOLDUOOMLRDUOOMLRDOOMLRDOOMLRSDOORLSDOOLRISDOOLRITSDOOLRSITOORITLSOOAIRTLSOARTILSOAMRITLSOAMITSROAMITSREAMITSREAMITRSTEAMITSTEAMTISTEAMITSTEAMITTEAMITTEAMTTEAMTEAMTEAMTEMTEMTETETETT
LOREM IPSUMDOLOR SIT AMET

LLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOARMEOARMERMMEIRMMEIPMEEIPMEEIPSMTPSMITUISPLUIPSUIPSMOUPSMLSUIMRUOSPMUDMUEDSMRDMOMDUMOEDOLDMOMLDOOILDOOPLOORILOOSLRPDOLROULRSSOOSRORMIUSRITSLRITMSOITSADTSIAISRTAMITDOAMITMTAOLEAMESAOMTEALMITEMOTRTMELTELERTOLTESOALTLORTISOLRMOTLREIOLRETROEAMEORMEETARMMRMEMMIEEIPMELIPMETIPSMOIPSPTUISUIRPSSLUIPMUPSELMOUSMOUSMMRUMDUDMREDMODMEOMDIOLDPMOLDOOLDSOOILOOPLRIUOOLRPOSLRMOLRSSOURSOURISMRITSRSITMDITSAITSDOATISAMDITAMITOLAMTOEAOMLEAMTLEAMORTEMOTEMRTETERTSETSITSITITT No.
AMET 11:12:2014
LOREM IPSUM NLOREMEIPSUMWDOLOR SITSAMETLLOLOLOLRORORERERMEMEMEMIMIPIPIPSIPSUPSUSUSMUMUMMDMDDODODOLOLOOLOLOLRORORRSRSISITSSITITIATTAAMAMAMEMMETETEETLTTLOLOLORORREREMEMEMMIIPIPIPSPSUSUSUMUMMMDDDODOOLOLOLOLORORRRSSISITSITITATAAMAMMEMETETETT
DOLOR SIT AMETLLOORREEMMIIPPSSUUMMDDOOLLOORRSSIITTAAMMEETTLLOORREEMMIIPPSSUUMMDDOOLLOORRSSIITTAAMMEETT
LOREMT

LDOOLORR SEIT AMMETIPSUM LLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOLRMEOLRMEOLRMEOILRMEOILPRMEOLIPRMEOLIPSRMEOLPSRMIEOUISRMPEOUIPSRMEUIPRMSEMUIPSRMEMIPSUMEMUISPMEMUISPMDMIUSPMDMIPUSDMOIPUSDMOIPSUMDOIPSULDMOUSPLDMOOUSLDMOOUSLDMOOURDMLOOULRDMOOLRDMOOLDRMSOOLDSROODLRISOODLRITSOOLDRITOSOLRITSOOLARTSOOILARISOTLAMRITSOLRAMITSORMITSAOREAMITSRESAITMTRESAMITTIESAMTTITSAMELTITESAMLITEAMTOALTITEMOALTETMLOAMRTEOAMLRTOEAMLRTEEOEMLRTEROEMLTMEOTELRMEOTEELRMOTELRMEOMTIRELOTIPRMELIPORMELIPSORMELIPSOMERPUISOMERUIPSMRESUIPMMREUIPSMMUEISPMMEUISPMMUMISPDMUPSDMIUSDMIPOUSDMIPODUMIPSOULDMPSOLDUMOSOLDUMSOOLDUOOMLRDUOOMLRDOOMLRDOOMLRSDOORLSDOOLRISDOOLRITSDOOLRSITOORITLSOOAIRTLSOARTILSOAMRITLSOAMITSROAMITSREAMITSREAMITRSTEAMITSTEAMTISTEAMITSTEAMITTEAMITTEAMTTEAMTEAMTEAMTEMTEMTETETETT

LLOLOLOLRORORERERMEMEMEMIMIPIPIPSIPSUPSUSUSMUMUMMDMDDODODOLOLOOLOLOLRORORRSRSISITSSITITIATTAAMAMAMEMMETETEETLTTLOLOLORORREREMEMEMMIIPIPIPSPSUSUSUMUMMMDDDODOOLOLOLOLORORRRSSISITSITITATAAMAMMEMETETETT LOREM IPSUMDOLOR SIT AMETLLOORREEMMIIPPSSUUMMDDOOLLOORRSSIITTAAMMEETTLLOORREEMMIIPPSSUUMMDDOOLLOORRSSIITTAAMMEETT LLOLOLOLROLROLREOLREOLRMEOARMEOARMERMMEIRMMEIPMEEIPMEEIPSMTPSMITUISPLUIPSUIPSMOUPSMLSUIMRUOSPMUDMUEDSMRDMOMDUMOEDOLDMOMLDOOILDOOPLOORILOOSLRPDOLROULRSSOOSRORMIUSRITSLRITMSOITSADTSIAISRTAMITDOAMITMTAOLEAMESAOMTEALMITEMOTRTMELTELERTOLTESOALTLORTISOLRMOTLREIOLRETROEAMEORMEETARMMRMEMMIEEIPMELIPMETIPSMOIPSPTUISUIRPSSLUIPMUPSELMOUSMOUSMMRUMDUDMREDMODMEOMDIOLDPMOLDOOLDSOOILOOPLRIUOOLRPOSLRMOLRSSOURSOURISMRITSRSITMDITSAITSDOATISAMDITAMITOLAMTOEAOMLEAMTLEAMORTEMOTEMRTETERTSETSITSITITT
AMET
LOREMT

ส่อื โทรทศั น์ ๑๕ สำานัก

สัดส่วนการเผยแพรข่ า่ ว

สอ่ื เวบ็ ไซต์ ๔๕ ข่าว

NEWS No. 11:12:2014
สอ่ื โทรทศั น์ ๑๑๑ ขา่ ว LOREM IPSUM DOLOR SIT AMET
LDOOLORR SEIT AMMETIPSUM LDOOLORR SEIT AMMLDEOOTLIOPRR SSEITUAMMMETIPNSLUOMREMELDIOPOLOSRRUSEITMAMMWDETIOPLSOURMSITSAMET No1. 1:12:2014LLOLOLOLRORORERERMEMEMEMIMIPIPIPSIPSUPSUSUSMUMUMMDMDDODODOLOLOOLOLOLRORORRSRSISITSSITITIATTAAMAMAMEMMETETEETLTTLOLOLORORREREMEMEMMIIPIPIPSPSUSUSUMUMMMDDDODOOLOLOLOLORORRRSSISITSITITATAAMAMMEMETETETLTLLLOLOLOLOLOLORLROORLROORELREORELREORMELRMEOMELRMEOMELRMEOMLRMEIOMILRMEIOPILPRMEIOPILPRMEIOPSILPSRMEIOPSLPSRMIEUPOSUISRMPEUOSUIPSRMEUSMUIPRMSEMUMUIPSRMEMLUMIPSUMEMLMOUIPSMEMLDMOUISPMDMDIOUSPMDMRDIPUSODMRODIPUSODMROEDISPUOMDOELISPULODMMOELUOSPLDOMMLOOUSLDOMMOLOUSLDOMLOORURODMLIOORULORDMTIPOROLRDMPOORSLDRMSSROOSLDSRSOOISDLRISUOOITSDLRITSUOSOITLDRITOSOMITLRITSOIAOMTLARTSOOITALARISOTAMLAMRITSODAMLRAMITASODMRMITSAOEMROEAMITSMEROESAITTEMTRESAMITLTETIESAMETLTTITOSAMLETLTITEOSATMLLITEOAMTLORALTITEOMLORALTETOMLORAMRTEOORASMLRTOERESAMLRTEEORIEEMLRTEROMIEETMLTMEOTMEETLRMEOTMEELRMAOTMELRMEAIOMTIRELIOPMTIPRMELIPMIPORMELIPSIPSORMELEPSIPSOMEERUSPUISOMETRUSUIPSMTRUESMUIPMMRUEMUIPSMLMUEMIPSMLMEMOUISPMMDOUMISPDMDUPSDMIRDUSODMIPRODUSODMIPOEDUOMISPOELULODMPSMOLLDOUMOSMLOLDOUMSOLOLDOUOOMRLRDOUIOOMRLRDIOPOMRLRDPOOMRSLRSSDOOSRLSSDOOISLRISUDOIOTSLRITSUDOIOTLRSITOMIOTRITLSAOMOTAIRTLSAOARTILSAMOAMRITLSDAMOAMITSRDMOAMITSREMOEAMITSREOEAMITRSTETEAMITLSTETEAMTILSTTEOAMITSTLTEOAMITLTEAOMITRLTEAOMTRLTEAOMLRTEAOMLRSTEAOMLRSETEOMLIRETEOMLIRTMETEOLRTMETEOLRMETEOALRMETOAILRMETOMILPRMEOMILPRMEOILPSRMEOELPSRMIEOEUISRMPEOTUIPSRMETUIPRMSEMUIPSRMEMLIPSUMEMLOUIPSMEMLOUISPMDMIOUSPMDMRIPUSDMROIPUSDMROEISPUMDOELISPULDMMOELUSPLDMOMOOLUSLDMOMOOLUSLDMOOOLRURDMLIOOOLRULRDMTIOPOLORELRDMOPOOLRELDRMSOSOOLRMELDSROSOOARMEDLRISUOOOARMEDLRITSUOOARMMELDRITOSOMILRMMERITSOOMILPMMAERTSOOIEILPMAERISOTEILPSMAMRITSODTELPSRMIAMITSODTUISRPMITSAOLTUIPSROEAMITSUIPROESSAMITOMUTPSRESAMMILTLTSIUESAIMMTLRUOTSITOSAPMMELUTITEODSAMMLUEITEDASMMRTORALTITEDMMOORALMTETDUMMLOOEAMRTEDOOASMLLRTOEDMOMSAMLLRTEEDOOIEOIMLLRTEDOROOIETPMLLTMEOOOTETLRRMEILOOOTEESLLRRMPAODTEOLLRRMEAOOMTUILRRESSLOOMTIOPRMESRLOMIPORRMMIEUSLIPSORRMIETSLLEIPSORMIETERMSPUISOOMIETSTRUIADPSMTSTRIESUIAPMISMRRTEUIAPSMITDMLOMUEAIPSMITMLMEOUISPMTMAMOLEOUMAISPMDMESUAPSDMIROMTEUALSMDMIPROITEUSMDMIPOEOTRTDUMMIESPOELTEULDMPSMOLELRDUMOTOSMOLTELSDUMOSOOALTLDLUOOOMLRTIRSDUIOOOMLRMOLTRDIOPOMLRELIRDOPOOMLRELTRSROSDOOEARMELSOSDOORMELRISUDEOTAORMMLRITSUDOORMELRSITMOMMOIERITLSOMEOIPMAEIRTLSLIPOMARTILSETIPSOMAMRITLSOIDPSOAMITSRPTDUISOAMITSRUIRPSOEAMITSRSLUIPOEAMMITRSUTPSEEALMMOITLSUTSEAMMTILSOUTSMEOAMMITSRUMTEODAMITUTEDAMMRITRETEDAMMOTRTEDAMMEOMDTEIAMOSLTEDAPMMOSLTEDOMOILTEDSMOOIITLTEOOPTLRITUEOOLRTPEOASLRTMAOLRTSSOMURSOMURISMRITSERSITMEDITSTAITSTDOATISAMDITAMITOLAMTOEAOMLEAMTLEAMORTEMOTEMLRTELTEROLTSEOLTSOLRITSOLRITOLREITOLRETOLRMEOARMEOARMEARMMEIRMMEIPMMEEIPMEEIPSMTEPSMITUISPLTUIPSUIPSMOUPSMLSUIMRUOSPMUDMUEDSMRDMOMDUMOEDOLDMOMLDOOILDOOPLOORILOOSLRPDOLROULRSSOOSRORMIUSRITSLRITMSOITSADTSIAISRTAMITDOAMITMTAOLEAMESAOMTEALMITEMOTRTMELTELERTOLTESOALTLORTISOLRMOTLREIOLRETROEAMEORMEETARMMRMEMMIEEIPMELIPMETIPSMOIPSPTUISUIRPSSLUIPMUPSELMOUSMOUSMMRUMDUDMREDMODMEOMDIOLDPMOLDOOLDSOOILOOPLRIUOOLRPOSLRMOLRSSOURSOURISMRITSRSITMDITSAITSDOATISAMDITAMITOLAMTOEAOMLEAMTLEAMORTEMOTEMRTETERTSETSITSITITT
ส่ือสิง่ พมิ พ์ ๒๓๙ ขา่ ว

62 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

นอกจากน้ี ฝ่ายส่ือสารสาธารณะและภาคีสัมพันธ์ สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
ปดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ ยงั ดาำ เนนิ การรว่ มกบั หนว่ ยงานภาคตี า่ งๆ เชน่ มลู นธิ ิ
ชัยพัฒนา มูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สำานักงาน
ทรพั ย์สินสว่ นพระมหากษัตริย์ กระทรวงมหาดไทย สำานักงานคณะกรรมการพเิ ศษเพ่อื ประสาน
งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาำ ริ สาำ นกั งานกองทนุ หมู่บ้านและชุมชนเมอื ง สาำ นกั นายก
รัฐมนตรี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม องค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ สอ่ื มวลชน มลู นธิ ริ ากแกว้ และสถาบนั การศึกษาตา่ งๆ เพ่ือสร้างการรับรู้
ผลสำาเร็จจากการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ ส่งเสริมการเรียนรู้แนวพระราชดำาริ เพ่ือสร้าง
ประสบการณต์ รงจากสถานทจ่ี รงิ กบั กลมุ่ เปา้ หมาย และกระตนุ้ ใหน้ าำ แนวทางการพฒั นาตามแนว
พระราชดาำ รไิ ปปฏิบัติให้เกิดผลในรูปแบบต่างๆ เชน่ การจดั แสดงนทิ รรศการ รวม ๙ ครง้ั จดั
กจิ กรรมพิเศษเนอื่ งในโอกาสสาำ คญั เชน่ กจิ กรรมเฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ร่วมกบั ส่อื มวลชน ผลติ รายการและสารคดที างโทรทัศน์ เช่น รายการ “ปนั้ ฝนั เดอะบณั ฑิต”
รว่ มกบั สถานโี ทรทศั นช์ อ่ ง NOW๒๖ จาำ นวน ๑๕ ตอน ออกอากาศตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน ๒๕๕๖
–กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ และสารคดี “อาหารบันดาลใจ” ร่วมกับสถานีโทรทัศน์ไทยรัฐทีวีจำานวน
๒๖ ตอน ออกอากาศต้ังแต่เดือนกุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๗–สงิ หาคม ๒๕๕๗

นอกจากนี้ ยังมีการนำาสื่อมวลชนจากส่วนกลางไปศึกษาดูงานโครงการพระราชดำาริ ณ
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดำาริ โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดำาริ
ศนู ยเ์ รยี นรตู้ ามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทง้ั พน้ื ทต่ี น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
นาำ นิสติ นกั ศกึ ษาและอาจารย์จากสถาบันการศกึ ษาต่างๆ เช่น มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ไปศึกษาดงู าน พื้นที่ต้นแบบปดิ ทองหลงั พระฯ เป็นตน้

ในปงี บประมาณ ๒๕๕๘ ฝ่ายสื่อสารสาธารณะฯ ยังรเิ ร่มิ ดาำ เนนิ การประชาสมั พันธใ์ นพืน้ ท่ี
ต้นแบบผ่านสื่อมวลชนท้องถ่ิน โดยนำาผลการศึกษารูปแบบการส่ือสารและพฤติกรรมการเปิด
รบั สอื่ ของประชาชนในพน้ื ทต่ี น้ แบบ ทจ่ี ดั ทาำ โดยจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั และมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
ในพื้นท่ี มาเป็นข้อมูลในการจัดทำาแผนประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือมวลชนท้องถิ่น ในรูปแบบต่างๆ
คอื ประชาสัมพันธผ์ ่านวทิ ยุ อสมท ที่ออกอากาศในพน้ื ทจ่ี งั หวดั อุทยั ธานี ๑๒ คร้ัง วิทยุ อสมท.
ทอ่ี อกอากาศในพ้ืนทจ่ี ังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ๑๒ ครงั้ และผา่ นสถานีโทรทศั น์เคเบิลทีวที ้องถิ่น ๒ ช่อง
จำานวน ๑๙๐ ครงั้ รวมทัง้ การนำาสื่อมวลชนทอ้ งถน่ิ ศกึ ษาดูงานในพนื้ ที่ตน้ แบบจงั หวดั อดุ รธานี
เป็นต้น รวมทง้ั กำาหนดแผนงานที่จะดำาเนินการตอ่ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 63
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

๗ งบการเงินปี ๒๕๕๘

มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
งบการเงิน
วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

รายงานของผสู้ อบบัญชีรับอนุญาต

เสนอ คณะกรรมการของมลู นธิ ิปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ ซ่ึงประกอบด้วยงบแสดง
ฐานะการเงิน ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และงบแสดงรายได้และค่าใช้จ่าย และงบแสดงการเปลยี่ นแปลง
สว่ นของทุนสาำ หรับปสี นิ้ สุดวันเดยี วกัน รวมถึงหมายเหตสุ รุปนโยบายการบัญชีที่สำาคัญและหมายเหตุเรอ่ื งอน่ื ๆ

ความรับผิดชอบของผ้บู รหิ ารตอ่ งบการเงนิ

ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทำาและการนำาเสนองบการเงินเหล่าน้ีโดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐาน
การรายงานทางการเงนิ สาำ หรบั กจิ การทไ่ี มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ และรบั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การควบคมุ ภายในทผี่ บู้ รหิ าร
พจิ ารณาวา่ จาำ เปน็ เพอื่ ใหส้ ามารถจดั ทาำ งบการเงนิ ทป่ี ราศจากการแสดงขอ้ มลู ทข่ี ดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระสาำ คญั
ไม่ว่าจะเกดิ จากการทจุ ริตหรือขอ้ ผดิ พลาด

ความรบั ผดิ ชอบของผ้สู อบบัญชี

ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบในการแสดงความเห็นต่องบการเงินดังกล่าวจากผลการตรวจสอบของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้
ปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ซึ่งกำาหนดให้ข้าพเจ้าปฏิบัติตามข้อกำาหนดด้านจรรยาบรรณ
รวมถึงวางแผนและปฏิบัติงานตรวจสอบเพ่ือให้ได้ความเช่ือมั่นอย่างสมเหตุสมผล ว่างบการเงินปราศจาก
การแสดงข้อมลู ที่ขัดต่อข้อเทจ็ จริงอนั เปน็ สาระสำาคัญหรือไม่

64 รายงานประจำาปี ๒๕๕๘
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

การตรวจสอบรวมถึงการใช้วิธีการตรวจสอบเพ่ือให้ได้มาซ่ึงหลักฐานการสอบบัญชีเก่ียวกับจำานวนเงินและการ
เปิดเผยข้อมูลในงบการเงิน วิธีการตรวจสอบท่ีเลือกใช้ข้ึนอยู่กับดุลยพินิจของผู้สอบบัญชี ซึ่งรวมถึงการประเมิน
ความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำาคัญของงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต
หรอื ขอ้ ผดิ พลาด ในการประเมนิ ความเสยี่ งดงั กลา่ ว ผสู้ อบบญั ชพี จิ ารณาการควบคมุ ภายในทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การจดั ทาำ
และการนาำ เสนองบการเงนิ โดยถกู ตอ้ งตามทคี่ วรของกจิ การ เพอื่ ออกแบบวธิ กี ารตรวจสอบทเ่ี หมาะสมกบั สถานการณ์
แต่ไม่ใช่เพ่ือวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกิจการ การตรวจสอบ
รวมถึงการประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีท่ีผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการ
ทางบัญชที ่จี ัดทาำ ข้นึ โดยผบู้ ริหาร รวมทง้ั การประเมนิ การนาำ เสนองบการเงนิ โดยรวม

ข้าพเจ้าเช่ือว่าหลักฐานการสอบบัญชีท่ีข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ของข้าพเจา้

ความเห็น

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นน้ีแสดงฐานะการเงินของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
ณ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ และผลการดำาเนินงานสำาหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามท่ีควร
ในสาระสาำ คัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาำ หรับกิจการทไี่ มม่ สี ่วนไดเ้ สยี สาธารณะ

สขุ ุมาภรณ์ วงศอ์ ริยาพร
ผู้สอบบญั ชรี ับอนุญาตเลขท่ี ๔๘๔๓
บริษัท ไพร้ซวอเตอรเ์ ฮาสค์ เู ปอร์ส เอบีเอเอส จาำ กัด

กรงุ เทพมหานคร
๒๘ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 65
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หมายเหตุ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท

สนิ ทรัพย์ ๓ ๒๙,๐๙๒,๔๙๑ ๒๕,๘๐๘,๑๖๘
๔ ๘๗๓,๘๐๙,๒๑๖ ๗๐๒,๑๒๐,๔๖๑
สินทรัพยห์ มนุ เวียน ๕ ๑,๙๔๘,๘๒๙
๖ ๓,๑๒๑,๙๓๖ ๕,๗๓๑,๐๓๒
เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงินสด ๙,๒๗๓,๐๖๙
เงินลงทุนชั่วคราว ๒,๒๑๗,๖๓๑
ลกู หนอ้ี ืน่ ๑๙,๘๓๘
เงินสาำ รองจา่ ย ๙๑๐,๑๙๐,๑๐๓
สนิ ทรัพย์หมนุ เวยี นอน่ื ๗๔๒,๙๕๒,๕๖๘
๗-
รวมสนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น ๘ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖ ๒๑๕,๖๐๔,๓๖๘
๙ ๔,๑๘๘ ๑๔,๗๙๓,๑๔๗
สินทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน
๑,๑๗๖,๔๙๖ ๓๔,๙๐๙
เงนิ ลงทนุ ระยะยาว ๓๓๐,๐๐๐ ๑,๑๗๒,๗๔๖
อุปกรณ์ - สุทธิ
สนิ ทรพั ย์ไม่มตี วั ตน - สทุ ธิ ๑๑,๕๑๐,๗๔๐ -
เงนิ มดั จาำ ระยะยาว
สินทรพั ย์ไม่หมุนเวียนอนื่ ๙๒๑,๗๐๐,๘๔๓ ๒๓๑,๖๐๕,๑๗๐

รวมสินทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี น ๙๗๔,๕๕๗,๗๓๘

รวมสินทรัพย์

ประธานกรรมการมลู นิธปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ

ประธานกรรมการสถาบันส่งเสรมิ และพฒั นากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินในหนา้ ๗๐ ถึง ๘๑ เปน็ ส่วนหนึ่งของงบการเงนิ นี้

66 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธปิ ิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ
งบแสดงฐานะการเงนิ
ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท

หนส้ี นิ และส่วนของทุน ๑,๑๙๑,๓๖๕ ๒๒๐,๐๑๒
หนสี้ ินหมนุ เวียน ๑๓,๕๓๑,๓๗๔ ๒,๗๓๖,๘๐๕
เจ้าหนี้
คา่ ใชจ้ า่ ยค้างจ่าย ๔๒๖,๓๘๘ ๒๙๓,๔๙๑
หน้สี นิ หมุนเวียนอื่น ๑๕,๑๔๙,๑๒๗ ๓,๒๕๐,๓๐๘
๑๕,๑๔๙,๑๒๗ ๓,๒๕๐,๓๐๘
รวมหนี้สนิ หมนุ เวียน
รวมหนสี้ ิน ๒๐๐,๐๐๐ ๒๐๐,๐๐๐
ส่วนของทุน ๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗ ๙๗๐,๖๘๘,๔๙๐
ทุนจดทะเบยี น
รายไดส้ ูงกวา่ ค่าใชจ้ า่ ยสะสม ๑๓๓,๖๑๙ ๔๑๘,๙๔๐
กาำ ไรท่ยี งั ไมเ่ กิดขน้ึ จรงิ จากการวัดมลู ค่าเงนิ ลงทุนเผ่อื ขาย
๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖ ๙๗๑,๓๐๗,๔๓๐
รวมส่วนของทุน ๙๒๑,๗๐๐,๘๔๓ ๙๗๔,๕๕๗,๗๓๘
รวมหนส้ี ินและสว่ นของทุน

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ ในหนา้ ๗๐ ถงึ ๘๑ เปน็ ส่วนหน่งึ ของงบการเงินน้ี

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 67
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ
งบแสดงรายได้และค่าใชจ้ า่ ย
สาำ หรับปีส้นิ สดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

หมายเหตุ พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท
รายได้
๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐
เงินจดั สรรจากงบประมาณแผ่นดิน ๑๑๖,๙๐๒ ๔๐,๖๕๐
รายรบั จากเงินบรจิ าค
ดอกเบยี้ รบั ๒๘,๐๗๖,๒๑๐ ๓๑,๖๔๑,๔๓๘
กำาไรที่เกดิ ขนึ้ จากการจาำ หน่ายเงนิ ลงทนุ เผ่ือขาย ๒,๕๔๔,๙๖๔ ๓,๓๖๖,๓๐๒
รายไดอ้ น่ื ๑๐๔,๓๔๓
๑๕๓,๗๙๑
รวมรายได้ ๓๓๕,๑๕๒,๗๓๓
๓๓๐,๘๙๑,๘๖๗
๓๓,๘๒๙,๙๑๗
คา่ ใชจ้ า่ ย ๑๓,๙๘๖,๗๙๓

คา่ ใช้จ่ายบุคลากร ๓๓,๙๗๖,๓๖๐ ๑๒๑,๖๕๑
คา่ ตอบแทนบคุ คลภายนอก ๒๘,๑๓๑,๘๑๗ ๑๑,๓๘๘,๓๐๕
คา่ ธรรมเนียมวิชาชีพ ๑๖,๙๔๖,๓๐๘
คา่ ใชจ้ ่ายการเดินทาง ๑๒๑,๙๔๘ ๔,๕๑๔,๙๔๕
คา่ วัสดสุ ิ้นเปลอื ง ๑๓,๖๐๗,๘๑๘ ๑,๓๗๘,๒๙๖
ค่าเชา่ อาคารและอุปกรณ์ ๑๕๙,๗๒๐,๖๐๙ ๖,๔๒๙,๕๒๗
ค่าซอ่ มแซมและบำารุงรักษาอุปกรณ์ ๔,๕๓๒,๓๕๑
คา่ เส่อื มราคา ๑,๔๐๒,๑๘๘ ๓๔,๙๘๐
ค่าตดั จำาหน่าย ๘ ๕,๒๔๒,๔๒๔ ๑,๘๒๒,๘๖๙
ค่าสาธารณปู โภค ๙ ๓๐,๗๒๑ ๖,๗๗๖,๒๗๒
ค่ารับรอง ๑,๙๙๐,๔๘๗
คา่ ประกนั ภยั ๘,๗๙๙,๒๐๘ ๒๔๒,๗๙๖
คา่ ประชาสมั พันธ์และจัดนิทรรศการ ๙,๖๖๐,๓๗๔
เงินอดุ หนนุ ๓๒๐,๑๓๑ ๓๙๔,๓๗๘,๓๗๐
คา่ ขนส่ง ๔๓,๗๔๕,๑๔๔
ค่าใช้จา่ ยอ่ืนๆ ๙๑,๙๗๔,๔๑๘ ๙๒,๐๓๗
๑,๐๙๐,๓๔๖
๔๓๓,๓๒๖
๑,๓๓๓,๓๑๐ ๕๐๒,๖๙๓,๗๘๖

รวมค่าใชจ้ ่าย ๓๙๕,๓๖๒,๒๖๐ (๑๖๗,๕๔๑,๐๕๓)

รายไดต้ ่าำ กว่าคา่ ใชจ้ ่ายสทุ ธิสาำ หรบั ปี (๖๔,๔๗๐,๓๙๓)

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ในหนา้ ๗๐ ถงึ ๘๑ เป็นส่วนหนึ่งของงบการเงนิ น้ี

68 รายงานประจำาปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
งบแสดงการเปลยี่ นแปลงส่วนของทุน
สำาหรบั ปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ผลกาำ ไร(ขาดทนุ )

ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ

รายไดส้ งู กวา่ (ตาำ่ กวา่ ) จากการวดั มลู คา่

ทนุ จดทะเบยี น คา่ ใชจ้ า่ ยสะสม เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย รวม

บาท บาท บาท บาท

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๐๐,๐๐๐ ๑,๑๓๘,๒๒๙,๕๔๓ ๒๖๗,๘๐๕ ๑,๑๓๘,๖๙๗,๓๔๘
การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
รายไดต้ าำ่ กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ าำ หรบั ปี - - ๑๕๑,๑๓๕ ๑๕๑,๑๓๕

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗ - (๑๖๗,๕๔๑,๐๕๓) - (๑๖๗,๕๔๑,๐๕๓)

ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒๐๐,๐๐๐ ๙๗๐,๖๘๘,๔๙๐ ๔๑๘,๙๔๐ ๙๗๑,๓๐๗,๔๓๐
การวดั มลู คา่ เงนิ ลงทนุ เผอ่ื ขาย
รายไดต้ าำ่ กวา่ คา่ ใชจ้ า่ ยสทุ ธสิ าำ หรบั ปี ๒๐๐,๐๐๐ ๙๗๐,๖๘๘,๔๙๐ ๔๑๘,๙๔๐ ๙๗๑,๓๐๗,๔๓๐
- - (๒๘๕,๓๒๑) (๒๘๕,๓๒๑)
ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ -
(๖๔,๔๗๐,๓๙๓) - (๖๔,๔๗๐,๓๙๓)
๒๐๐,๐๐๐
๙๐๖,๒๑๘,๐๙๗ ๑๓๓,๖๑๙ ๙๐๖,๕๕๑,๗๑๖

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ ในหน้า ๗๐ ถึง ๘๑ เปน็ สว่ นหนึ่งของงบการเงินนี้

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 69
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำาหรับปีสน้ิ สุดวันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๑ ขอ้ มูลท่วั ไป

มลู นธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ (“มลู นธิ ”ิ ) ไดจ้ ดทะเบยี นจดั ตง้ั มลู นธิ ติ ามประมวลกฎหมายแพง่
และพาณิชย์ตอ่ นายทะเบยี นมูลนธิ กิ รงุ เทพมหานคร เลขทะเบยี นลาำ ดับท่ี กท ๑๙๑๙ เม่อื วนั ท่ี ๒๐ มกราคม
พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยมีท่ีอยูท่ ไี่ ด้จดทะเบียนดงั นี้

สำานักงานปลัดสำานักนายกรัฐมนตรี ทำาเนียบรัฐบาล เลขท่ี ๑ ถนนนครปฐม แขวงจิตรลดา เขตดุสิต
กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐

มลู นิธิเปน็ องค์การหรือสถานสาธารณกศุ ล โดยมีวัตถปุ ระสงค์ในการดำาเนนิ งาน ดังนี้

๑) ให้จัดต้ังและสนับสนุนการดำาเนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำาริ ซ่ึงเป็นหน่วยปฏิบัติของมูลนิธิ ให้ดำาเนินการได้อย่างมีประสิทธิผล
ประสทิ ธภิ าพ สอดคลอ้ งกบั เจตนารมณ์แหง่ การจดั ตั้ง

๒) ให้สถาบนั โดยมมี ลู นิธิ สนบั สนนุ ใหท้ ุนดำาเนินงาน มวี ัตถุประสงค์ ดงั น้ี

ก) สนับสนุนส่งเสริมและให้ความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาแก่องค์กรชุมชน
ประชาสงั คม องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ องค์กรภาครฐั องค์กรทางสังคม สถาบันวชิ าการ
ภาคธุรกิจ ในการดำาเนินงานที่สอดคล้องกับมิติการพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ เพ่ือให้
ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น รวมถึงส่งผลต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม

ข) สนับสนุนการจัดการความรู้ตามแนวพระราชดำาริโดยประสานความร่วมมือกับศูนย์ศึกษา
การพัฒนา โครงการส่วนพระองค์ โครงการตามพระราชประสงค์ โครงการหลวง โครงการ
อันเนือ่ งมาจากพระราชดำาริ องค์กรชมุ ชน ประชาสงั คม องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กร
ภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธรุ กิจ เพื่อให้เกิดคลงั ความรู้ การยกระดบั
ความรู้ การตอ่ ยอดชมุ ความรใู้ หม่ การพฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาในและนอกระบบ ตลอดจน
การขยายผลเช่ือมโยงสูก่ ารนาำ ไปปฏิบตั อิ ย่างกว้างขวาง

70 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำาหรับปีสิ้นสดุ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๑ ขอ้ มูลทว่ั ไป (ตอ่ )

มลู นิธิเป็นองคก์ ารหรือสถานสาธารณกศุ ล โดยมวี ตั ถุประสงค์ในการดาำ เนินงาน ดังนี้ (ต่อ)

๒) ใหส้ ถาบนั โดยมีมูลนธิ ิ สนบั สนุนใหท้ นุ ดำาเนินงาน มวี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี (ต่อ)

ค) ส่งเสริมให้เกิดการบูรณาการ ภารกิจและกิจกรรมของสถาบัน กับแผนชุมชน แผนองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ แผนพฒั นาจงั หวดั แผนหนว่ ยงานภาครฐั ทเี่ กยี่ วขอ้ ง และนโยบายรฐั บาล

ง) สนับสนุน ส่งเสริม แนะนำา และช่วยเหลือ องค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น องค์กรภาครัฐ องค์กรทางสังคม สถาบันวิชาการ ภาคธุรกิจ เพ่ือให้น้อมนำา
แนวพระราชดำาริไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์และเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาทุกระดับ
ของประเทศ

จ) สร้างการรบั รู้ ความเขา้ ใจ และความรว่ มมือดาำ เนนิ การตามแนวพระราชดาำ ริ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

๓) เพือ่ สนบั สนุนและส่งเสริมการศกึ ษา และทศั นศกึ ษาทีเ่ กี่ยวกับการนำาแนวพระราชดำาริไปประยุกตใ์ ช้
และขยายผลส่ชู มุ ชน

๔) เพื่อส่งเสริมการประสานการดำาเนินงานร่วมกับองค์กรชุมชน ประชาสังคม องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถนิ่ องคก์ รภาครฐั องคก์ รทางสงั คม สถาบนั วชิ าการ ภาคธรุ กจิ เพอื่ กจิ กรรมพฒั นาและกจิ กรรม
สาธารณประโยชน์

๕) ไมด่ าำ เนินการเกีย่ วข้องกบั การเมอื งแต่ประการใด

งบการเงนิ นี้ไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากคณะกรรมการมูลนิธเิ ม่อื วันท่ี ๒๘ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 71
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ
สำาหรบั ปสี ิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ นโยบายการบญั ชี

นโยบายการบญั ชีทสี่ าำ คัญซ่งึ ใชใ้ นการจัดทาำ งบการเงนิ มีดงั ต่อไปน้ี

๒.๑ เกณฑ์การจดั ทำางบการเงิน

งบการเงนิ นจี้ ดั ทาำ ขนึ้ ภายใตม้ าตรฐานการรายงานทางการเงนิ สาำ หรบั กจิ การทไี่ มม่ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ
ทอ่ี อกโดยสภาวชิ าชีพบัญชี

งบการเงินได้จัดทำาข้ึนโดยใช้เกณฑ์ราคาทุนเดิมในการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน
ยกเว้นเงนิ ลงทนุ เผ่ือขายท่ีแสดงมูลค่าตามมูลค่ายตุ ิธรรม

งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษจัดทำาข้ึนจากงบการเงินตามกฎหมายที่เป็นภาษาไทย ในกรณีท่ีมี
เน้ือความขัดแย้งกันหรือมีการตีความในสองภาษาแตกต่างกัน ให้ใช้งบการเงินตามกฎหมายฉบับ
ภาษาไทยเป็นหลกั

๒.๒ เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด

เงินสด หมายรวมถึง เงินสดในมือ และเงินฝากธนาคารทุกประเภท และบัตรเงินฝากที่ออกโดย
ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินอ่ืน แต่ไม่รวมเงินฝากธนาคารประเภทที่ต้องจ่ายคืนเมื่อ
สิ้นระยะเวลาท่ีกำาหนด (เงนิ ฝากประจาำ ) และเงินฝากธนาคารท่ีมีข้อจาำ กัดในการเบิกถอน รายการ
เทียบเท่าเงินสดรวมถึงเงินลงทุนระยะส้ันอื่นที่มีสภาพคล่องสูงซึ่งมีอายุไม่เกินสามเดือนนับจาก
วันท่ไี ดม้ า

72 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มูลนิธปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สำาหรบั ปสี ิน้ สดุ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๓ เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว

เงนิ ลงทนุ ชว่ั คราว หมายรวมถึง

เงินฝากประจาำ
เงนิ ฝากประจาำ ที่เป็นเงนิ ลงทนุ ช่ัวคราวคือ เงนิ ฝากประจำาทม่ี ีอายตุ ้ังแตว่ ันฝากจนถึงวันครบกาำ หนด
อย่รู ะหว่าง ๓ ถงึ ๑๒ เดอื น และเงินฝากประจาำ ทม่ี อี ายุตั้งแตว่ นั ฝากจนถึงวนั ครบกำาหนดมากกว่า
๑๒ เดอื น แตจ่ ะครบกำาหนดในอกี ๑๒ เดอื นขา้ งหนา้ สำาหรบั เงนิ ฝากประจำาทจี่ ะครบกาำ หนดมากกวา่
๑๒ เดือน ณ วนั สิน้ งวดจะแสดงเปน็ เงินลงทนุ ระยะยาว

เงนิ ฝากประจำา วดั มลู คา่ ดว้ ยวธิ รี าคาทนุ

เงนิ ลงทุนเผื่อขาย

เงินลงทุนเผ่ือขาย คือ เงินลงทุนที่จะถือไว้โดยไม่ระบุช่วงเวลาและอาจขายเพื่อเสริมสภาพคล่อง
หรือเมื่ออัตราผลตอบแทนเปลี่ยนแปลง โดยได้แสดงไว้ในสินทรัพย์หมุนเวียน ซึ่งฝ่ายบริหารแสดง
เจตจำานงที่จะถือไว้ในช่วงเวลาน้อยกว่า ๑๒ เดือนนับแต่วันที่ในงบแสดงฐานะการเงิน เงินลงทุน
เผอ่ื ขายแสดงในงบแสดงฐานะการเงนิ ดว้ ยมลู คา่ ยตุ ธิ รรม รายการกาำ ไรและขาดทนุ ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ขน้ึ จรงิ
ของเงินลงทุนเผ่ือขายรับรู้ในส่วนของทุน จนกระท่ังมูลนิธิจำาหน่ายเงินลงทุนดังกล่าว จึงบันทึก
การเปลีย่ นแปลงมลู ค่านัน้ ในงบแสดงรายไดแ้ ละคา่ ใช้จา่ ย

๒.๔ เงินสาำ รองจ่าย

เงินสำารองจ่ายเป็นเงินทดรองจ่ายให้แก่พนักงานและหน่วยงานต่างๆ เพื่อใช้สำาหรับการดำาเนินงาน
ในกิจกรรมต่างๆ ของมูลนิธิ ซ่ึงรับรู้เริ่มแรกด้วยมูลค่าตามจำานวนเงินทดรองท่ีจ่ายจริง และจะ
วดั มูลค่าต่อมาด้วยจำานวนเงนิ ทเี่ หลือหลงั หกั คา่ ใชจ้ า่ ยที่เกิดข้นึ จริงในระหวา่ งงวด

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 73
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำาหรับปีสิน้ สุดวนั ท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๕ อุปกรณ์

อปุ กรณแ์ สดงดว้ ยราคาทุนหักด้วยคา่ เสอื่ มราคาสะสม และคา่ เผื่อการลดลงของมูลค่า (ถ้าม)ี

ราคาทนุ ของอปุ กรณ์ รวมถึง ราคาซ้ือ อากรขาเขา้ ภาษีซอ้ื ทเ่ี รยี กคนื ไมไ่ ด้ (หลังหักสว่ นลดการค้า
และจำานวนทไ่ี ด้รบั คนื จากผขู้ าย) และต้นทุนทางตรงอ่ืนๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกบั การจดั หาสินทรพั ยเ์ พื่อให้
สินทรัพย์น้ันอยู่ในสถานที่และสภาพท่ีพร้อมจะใช้งานได้ตามความประสงค์ของฝ่ายบริหาร รวมท้ัง
ต้นทุนทีป่ ระมาณทดี่ ีที่สุดสาำ หรับการร้ือ การขนย้าย และการบรู ณะสถานท่ตี ัง้ ของสินทรพั ย์ ซ่งึ เปน็
ภาระผูกพันของกิจการที่เกิดข้ึนเมื่อกิจการได้สินทรัพย์น้ันมาหรือเป็นผลจากการใช้สินทรัพย์นั้น
ในช่วงเวลาหนึ่ง

มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนในการเปล่ียนแทนส่วนประกอบของสินทรัพย์เป็นส่วนหนึ่งของมูลค่าตามบัญชี
ของสินทรัพย์ท่ีเกี่ยวข้องเมื่อต้นทุนน้ันเกิดข้ึนและคาดว่าจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
แก่มูลนิธิ และจะตัดมูลค่าตามบัญชีของส่วนประกอบท่ีถูกเปลี่ยนแทนออกจากรายการสินทรัพย์
สำาหรับค่าซ่อมแซมและบำารุงรักษาอื่นๆ มูลนิธิจะรับรู้ต้นทุนดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายในงบแสดง
รายได้และคา่ ใชจ้ ่ายเม่อื เกิดขึน้

ค่าเสื่อมราคาคำานวณโดยใช้วิธีเส้นตรง เพ่ือลดราคาตามบัญชีของสินทรัพย์แต่ละชนิดตลอด
อายกุ ารให้ประโยชน์ท่ปี ระมาณการไว้ของสนิ ทรพั ย์ ดังต่อไปน้:ี

เครอื่ งตกแต่งและติดตง้ั ๕ ปี
ยานพาหนะ ๕ ปี
เครอื่ งจักร ๑๐ ปี
อุปกรณส์ าำ นักงาน ๓ - ๕ ปี

74 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตปุ ระกอบงบการเงิน
สาำ หรบั ปสี ิ้นสุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ นโยบายการบญั ชี (ตอ่ )

๒.๕ อุปกรณ์ (ต่อ)

มูลนิธิมีการทบทวนมูลค่าคงเหลือ อายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์ และวิธีการคิดค่าเสื่อมราคา
อย่างสมา่ำ เสมอ

รายการกำาไรและขาดทุนจากการจำาหน่ายคำานวณโดยเปรียบเทียบจากส่ิงตอบแทนท่ีได้รับกับราคา
ตามบญั ชี และจะรวมไว้ในงบแสดงรายได้และคา่ ใช้จา่ ย

ในกรณที มี่ ขี ้อบง่ ชว้ี ่า อปุ กรณม์ มี ูลคา่ ลดลงอยา่ งถาวรและราคาตามบัญชสี ูงกว่าราคาขายหักตน้ ทุน
ในการขาย ราคาตามบัญชีจะถูกปรับลดให้เท่ากับราคาขายหักต้นทุนในการขายทันที และจะรับรู้
ผลขาดทนุ จากการลดมูลคา่ ของอปุ กรณใ์ นงบแสดงรายได้และค่าใชจ้ า่ ย

๒.๖ สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน

สินทรัพย์ไม่มีตัวตน ไดแ้ ก่ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์

สิทธิการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยท่ีซ้ือมามีลักษณะเฉพาะบันทึกเป็นสินทรัพย์โดยคำานวณ
จากต้นทุนในการได้มาและการดำาเนินการให้โปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นสามารถนำามาใช้งาน
ได้ตามประสงค์ โดยจะตัดจำาหน่ายตลอดอายุประมาณการให้ประโยชน์ภายในระยะเวลาไม่เกิน
๓ - ๕ ปี

ต้นทุนที่ใช้ในการพัฒนาและบำารุงรักษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายเม่ือเกิดขึ้น
ต้นทุนโดยตรงในการจัดทำาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มูลนิธิเป็นผู้ดูแลและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง
ซ่ึงอาจให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจที่มากกว่าต้นทุนเป็นเวลาเกินกว่าหน่ึงปีจึงจะบันทึกเป็นสินทรัพย์
ไม่มีตัวตน ต้นทุนโดยตรงรวมถึงต้นทุนพนักงานที่ทำางานในทีมพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
และค่าใช้จา่ ยทเ่ี กย่ี วข้องในจำานวนเงนิ ที่เหมาะสม

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 75
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนิธปิ ิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สาำ หรับปีสิ้นสุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๒ นโยบายการบัญชี (ต่อ)

๒.๗ ประมาณการหนีส้ ิน

มูลนิธิจะบันทึกประมาณการหนี้สินซ่ึงเป็นภาระผูกพันในปัจจุบันตามกฎหมายหรือตามข้อตกลง
ทจี่ ัดทำาไว้ อันเป็นผลสบื เนือ่ งมาจากเหตกุ ารณใ์ นอดตี ซึง่ การชำาระภาระผูกพันนนั้ มคี วามเป็นไปได้
ค่อนข้างแน่ว่าจะส่งผลให้มูลนิธิต้องสูญเสียทรัพยากรออกไป และตามประมาณการที่น่าเช่ือถือ
ของจำานวนท่ตี ้องจ่าย

๒.๘ การรบั รูร้ ายได้

เงินจัดสรรจากงบประมาณแผ่นดิน รายรับจากเงินบริจาค และรายได้ดอกเบ้ียรับรู้เป็นรายได้
ตามเกณฑค์ งคา้ ง

๓ เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงินสด

พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท

เงนิ สดในมอื ๒๑๖,๔๙๒ ๑๗๙,๗๖๒
เงินฝากธนาคารประเภทจา่ ยคืนเม่อื ทวงถาม ๒๘,๘๗๕,๙๙๙ ๒๕,๖๒๘,๔๐๖
๒๙,๐๙๒,๔๙๑ ๒๕,๘๐๘,๑๖๘

เงินฝากธนาคารประเภทจ่ายคืนเม่ือทวงถามมีอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ ๐.๔๐ - ๐.๙๐ ต่อปี
(พ.ศ. ๒๕๕๗ : ร้อยละ ๐.๕๐ ตอ่ ปี และรอ้ ยละ ๑.๑๓ ต่อป)ี

76 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สาำ หรบั ปีสนิ้ สดุ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๔ เงนิ ลงทนุ ช่ัวคราว

เงินลงทุนช่วั คราวมีรายละเอยี ดดงั นี้

พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท

เงนิ ฝากประจำา ๗๕๓,๙๖๘,๔๗๘ ๖๗๕,๓๔๙,๘๑๑
เงินลงทนุ เผื่อขาย ๑๑๙,๘๔๐,๗๓๘ ๒๖,๗๗๐,๖๕๐
รวม ๘๗๓,๘๐๙,๒๑๖ ๗๐๒,๑๒๐,๔๖๑

ณ วันท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เงินลงทุนช่ัวคราวทเี่ ปน็ เงนิ ฝากประจำากับธนาคารท่ีจะครบกำาหนด
ภายใน ๑๒ เดอื น มอี ัตราดอกเบี้ยระหว่างร้อยละ ๒.๐๐ - ๓.๔๐ ต่อปี (พ.ศ. ๒๕๕๗ : รอ้ ยละ ๒.๕๕ - ๓.๕๕
ตอ่ ป)ี

เงินลงทุนเผื่อขายเป็นเงินลงทุนในกองทุนเปิดธนชาตบริหารเงิน มูลนิธิวัดมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุน
เผ่อื ขายโดยใชร้ าคาปดิ ของราคาหน่วยลงทุนของกองทุนดังกลา่ ว ณ วนั สนิ้ ปี ซึ่งมรี ายละเอียดดงั นี้

สาำ หรับปสี ิน้ สดุ วันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ เงินลงทนุ เผ่อื ขาย
ราคาตามบัญชีต้นงวด - สุทธิ บาท
เพิ่มข้นึ ระหวา่ งปี
ลดลงระหว่างปี ๒๖,๗๗๐,๖๕๐
การปรับมลู ค่ายตุ ธิ รรมของเงินลงทุน ๔๖๐,๑๕๙,๖๑๑
ราคาตามบญั ชีปลายงวด - สทุ ธิ (๓๖๖,๘๐๔,๒๐๒)

(๒๘๕,๓๒๑)
๑๑๙,๘๔๐,๗๓๘

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 77
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำาหรบั ปสี ้ินสุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๕ ลกู หนี้อ่นื พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท
คา่ ใชจ้ ่ายจ่ายลว่ งหนา้
ดอกเบีย้ ค้างรบั - ๑,๖๕๙,๐๖๐
อื่นๆ ๑,๒๙๖,๗๒๙ ๔,๐๗๑,๙๗๒

๖๕๒,๑๐๐ -
๑,๙๔๘,๘๒๙ ๕,๗๓๑,๐๓๒

๖ เงินสาำ รองจา่ ย พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท
เงนิ สาำ รองจ่ายแก่พนักงาน
เงินสาำ รองจ่ายแกม่ ูลนธิ ิรากแก้ว ๑,๔๙๕,๕๔๑ ๑,๑๖๔,๒๙๕
เงนิ สำารองจ่ายโครงการในพ้ืนทีจ่ ังหวัดนา่ น - ๒๒,๙๓๔
เงนิ สาำ รองจ่ายโครงการในพื้นที่จงั หวัดอุดรธานี -
เงินสาำ รองจ่ายโครงการในพน้ื ทจี่ งั หวัดเพชรบรุ ี ๗๘๓,๒๐๒ ๑๐,๖๗๖
เงินสำารองจา่ ยโครงการในพ้นื ที่จงั หวัดกาฬสินธุ์ ๖๔,๗๐๘ ๗๓๘,๔๑๑
เงนิ สาำ รองจ่ายโครงการในพนื้ ทจ่ี งั หวดั อุทัยธานี -
๖,๙๘๐,๗๕๓
๔๔๒,๔๘๕ ๓๕๖,๐๐๐
๓๓๖,๐๐๐
๓,๑๒๑,๙๓๖ ๙,๒๗๓,๐๖๙

๗ เงนิ ลงทนุ ระยะยาว พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท
เงินลงทนุ ระยะยาวมรี ายละเอียดดังน้ี
- ๒๑๕,๖๐๔,๓๖๘
เงินฝากประจาำ

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ บรษิ ัทไมม่ เี งนิ ลงทุนระยะยาวท่เี ปน็ เงนิ ฝากประจำากับธนาคารประเภท
ครบกาำ หนดเกิน ๑๒ เดือน

78 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

มลู นิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สำาหรับปีส้ินสุดวนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๘ อุปกรณ์ - สทุ ธิ

เครอ่ื งตกแตง่ อปุ กรณ์
สาำ นกั งาน
และตดิ ตง้ั ยานพาหนะ เครอ่ื งจกั ร รวม
บาท บาท บาท
บาท บาท

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๘๕๗,๓๖๐ ๕๘๕,๐๒๖ ๘,๓๐๒,๒๘๕ ๓๓,๓๓๗,๙๘๙
(๘๑,๒๙๒) (๕,๐๐๑,๐๖๓) (๑๘,๕๔๔,๘๔๒)
หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๘,๒๗๘,๔๙๒) (๕,๑๘๓,๙๙๕) ๕๐๓,๗๓๔ ๓,๓๐๑,๒๒๒ ๑๔,๗๙๓,๑๔๗

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ ๓,๓๑๔,๘๒๖ ๗,๖๗๓,๓๖๕

สาำ หรบั ปสี น้ิ สดุ

วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ราคาตามบญั ชตี น้ ปี - สทุ ธิ ๓,๓๑๔,๘๒๖ ๗,๖๗๓,๓๖๕ ๕๐๓,๗๓๔ ๓,๓๐๑,๒๒๒ ๑๔,๗๙๓,๑๔๗
๔๐,๒๘๓ ๔๐๙,๐๕๐ ๔๔๙,๓๓๓
ซอ้ื สนิ ทรพั ย์ -- (๕๙,๗๙๔) (๑,๓๕๐,๔๙๘) (๕,๒๔๒,๔๒๔)
๔๘๔,๒๒๓ ๒,๓๕๙,๗๗๔ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖
คา่ เสอ่ื มราคา (๑,๒๗๙,๐๐๐) (๒,๕๕๓,๑๓๒)

ราคาตามบญั ชปี ลายปี - สทุ ธิ ๒,๐๓๕,๘๒๖ ๕,๑๒๐,๒๓๓

ณ วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

ราคาทนุ ๑๑,๕๙๓,๓๑๘ ๑๒,๘๕๗,๓๖๐ ๖๒๕,๓๐๙ ๘,๗๑๑,๓๓๕ ๓๓,๗๘๗,๓๒๒
(๑๔๑,๐๘๖) (๖,๓๕๑,๕๖๑) (๒๓,๗๘๗,๒๖๖)
หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม (๙,๕๕๗,๔๙๒) (๗,๗๓๗,๑๒๗) ๔๘๔,๒๒๓ ๒,๓๕๙,๗๗๔ ๑๐,๐๐๐,๐๕๖

ราคาตามบญั ชี - สทุ ธิ ๒,๐๓๕,๘๒๖ ๕,๑๒๐,๒๓๓

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 79
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

มูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ บาท
หมายเหตุประกอบงบการเงนิ
สาำ หรบั ปสี ิน้ สุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑๗๔,๙๐๐
(๑๓๙,๙๙๑)
๙ สนิ ทรพั ยไ์ มม่ ีตวั ตน - สุทธิ
๓๔,๙๐๙
ณ วนั ที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ราคาทนุ ๓๔,๙๐๙
หัก คา่ ตัดจำาหนา่ ยสะสม (๓๐,๗๒๑)
ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ
๔,๑๘๘
สาำ หรบั ปีส้ินสุดวนั ที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
ราคาตามบญั ชตี ้นปี - สทุ ธิ ๑๗๔,๙๐๐
ค่าตัดจาำ หนา่ ย (๑๗๐,๗๑๒)
ราคาตามบญั ชีปลายปี - สุทธิ
๔,๑๘๘
ณ วันที่ ๓๐ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๕๘
ราคาทนุ
หกั คา่ ตัดจาำ หน่ายสะสม
ราคาตามบัญชี - สทุ ธิ

80 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

มูลนธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดำาริ
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
สำาหรบั ปีส้นิ สดุ วันท่ี ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

๑๐ ภาระผกู พัน

มูลนิธิได้ทาำ สัญญาเชา่ อาคาร ยานพาหนะและอปุ กรณ์ เปน็ ระยะเวลา ๑ - ๕ ปี สัญญานีถ้ ือเป็นสญั ญาเช่า
ดำาเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ยอดรวมของจำานวนเงินข้ันต่ำาที่ต้องจ่ายในอนาคตตามสัญญาเช่าดำาเนินงานท่ี
ไมส่ ามารถยกเลกิ ได้มดี ังน้ี

พ.ศ. ๒๕๕๘ พ.ศ. ๒๕๕๗
บาท บาท

ภายใน ๑ ปี ๒,๖๒๔,๕๐๕ ๔,๗๘๖,๒๑๔
เกนิ กวา่ ๑ ปี แต่ไม่เกิน ๕ ปี ๔๖๒,๐๐๐ ๒,๑๒๑,๘๔๓
๖,๙๐๘,๐๕๗
๓,๐๘๖,๕๐๕

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 81
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏิบัตงิ านและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำาริ

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หน่วย ไตรมาสท่ี ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสที่ ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๑. การพัฒนาพนื้ ทตี่ ้นแบบ และสนับสนนุ การขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารบรู ณาการการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาตามปรัชญาของ
อยา่ งเป็นระบบกว้างขวาง จนกระทง่ั เปน็ แนวทางการพัฒนาหลกั ของประเทศ ซ่ึงสอดรบั กบั นโยบายของรฐั บาล

๑.๑ เพิ่มประสิทธภิ าพการพฒั นาในพ้นื ทต่ี น้ แบบเดิม ๕ จังหวัด ๑๘,๙๓๗,๕๐๐ ๑๘,๙๓๗,๕๐๐ ๖,๓๑๒,๕๐๐
๑) ส่งเสริมประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานธรรมชาติ ๘๑ หมบู่ ้าน

ด้านการผลติ เชน่ การปรับปรุงแหล่งนำา้ และดิน
๒) สง่ เสรมิ การบรหิ ารจดั การงานพฒั นาที่ชมุ ชนบรหิ าร

จดั การไดด้ ว้ ยตนเองในลกั ษณะการสมทบกองทนุ เพอื่ เชอ่ื มโยง
การตลาด

๓) สง่ เสรมิ การผลิต แปรรูป และการตลาด แบบกลุ่ม
ธรุ กิจ (Cluster) เช่น การพัฒนาผลผลติ ทางการเกษตร การ
ท่องเท่ียว ในลกั ษณะ Social Enterprise

๔) ส่งเสริมนวัตกรรมด้านการพัฒนาที่สอดคล้องกับ
สภาพพ้ืนที่ เชน่ เครื่องจักรกลทางการเกษตร

๕) การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของสาำ นกั งานโครงการฯ หม่บู า้ น ๒๕,๑๒๕,๐๐๐ ๒๕,๑๒๕,๐๐๐ ๘,๓๗๕,๐๐๐
ในพ้ืนที่ต้นแบบ ใน ๓
จังหวัด
๑.๒ พัฒนาพื้นท่ตี น้ แบบแห่งใหม่ ชายแดน
ภาคใต้
๑) การคัดเลอื กพ้นื ทตี่ ้นแบบในการแกไ้ ขปัญหา
ความยากจน

๒) การนำาความรู้จากมหาวิทยาลยั ต้ังแต่การผลติ
การแปรรปู และการตลาด ลงไปปฏบิ ตั กิ ารจริงในพ้ืนท่ี

๓) การพฒั นาหลักสตู ร “เกษตรยคุ ใหม”่ และการเตรยี ม
ความพร้อมเกษตรกร

๔) การเตรยี มการเพอื่ ขยายผลสพู่ นื้ ทภ่ี าคใต้ ๑๔ จงั หวดั

๕) การสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำานักงานโครงการฯ
ในพืน้ ทต่ี ้นแบบ

82 รายงานประจำาปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ไตรมาสที่ ๔ รวม กลมุ่ เป้าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลิต
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ ดา้ นการจัดการความรู้ และด้านการส่งเสรมิ การพัฒนาตามแนวพระราชดำาริ

๖,๓๑๒,๕๐๐ ๕๐,๕๐๐,๐๐๐ ครัวเรอื น/ชมุ ชน ๑) เพือ่ ให้พื้นทีต่ ้นแบบมี ๑) เกดิ กิจกรรมการพฒั นา
ในพื้นทต่ี น้ แบบ ๕ จังหวัด
ได้แก่ จงั หวดั น่าน รปู แบบการพฒั นาทห่ี ลากหลาย ในระดบั ครวั เรอื น และระดบั
จังหวัดอุดรธานี
จังหวดั เพชรบุรี ตามลกั ษณะภูมิสงั คม ชุมชน เพอื่ เสรมิ สรา้ งความ
จงั หวดั อทุ ยั ธานี
และจังหวดั กาฬสินธุ์ เป็นตวั อย่างในการขยายผล เขม้ แข็งใหก้ ับประชาชนใน

๘,๓๗๕,๐๐๐ ๖๗,๐๐๐,๐๐๐ ครวั เรือน/ชมุ ชน กา้ วไปสู่ชมุ ชนพอเพยี ง พน้ื ที่
ในพน้ื ท่ี ๓ จงั หวดั ชายแดน
ภาคใต้ และพง่ึ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ๒) เกิดรูปแบบการพฒั นา

๒) เพ่อื ให้ครัวเรือนในพน้ื ท่ี ท่เี หมาะสมกบั สภาพพ้ืนท่ี

เปา้ หมาย มีแหล่งอาหาร ส่งผลให้ประชาชนอยรู่ อด

บริโภค มกี ารมีความเข้มแขง็ มีการรวมกลุ่มของหมู่บา้ น

โดยการรวมกล่มุ ในหมบู่ า้ น ในระดบั พอเพยี ง และสามารถ

ลักษณะวิสาหกจิ ชุมชน พึ่งพาตนเองได้อยา่ งยง่ั ยืน

ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม

สง่ิ แวดลอ้ มและความสขุ เพม่ิ ขน้ึ

๑) เพ่อื ใชค้ วามร้จู าก ๑) เกดิ พนื้ ทต่ี ้นแบบแห่งใหม่
มหาวทิ ยาลยั ในพ้ืนท่มี าแก้ไข ใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
ปัญหาและพัฒนาตามความ ๒) เกิดการนำาความร้ใู นดา้ น
ต้องการทแ่ี ทจ้ ริงของ การผลติ การแปรรปู และ
ประชาชนในพนื้ ท่ี การตลาด ลงไปปฏบิ ตั กิ ารจรงิ
๒) เพือ่ ค้นหารปู แบบ ในพ้ืนที่ ดว้ ยการนำาความรู้
การพัฒนาที่เหมาะสมให้ จากมหาวิทยาลัยมาปฏบิ ัติ
ประชาชนสามารถอยู่รอด การจรงิ ในพนื้ ท่ี
ระดบั ครวั เรือน กา้ วสชู่ มุ ชน
พอเพียง และพึง่ พาตัวเองได้
อยา่ งยง่ั ยืน
๓) เพื่อเปน็ แนวทางนำาไปสู่
การขยายผลของพน้ื ทภี่ าคใต้

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 83
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏบิ ตั ิงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจาำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมลู นธิ ิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชดาำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หนว่ ย ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสที่ ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๑.๓ สนบั สนุนองค์ความรู้กระบวนการเข้าใจ เขา้ ถงึ พัฒนา หมู่บ้านเปา้ ๑๒,๑๘๗,๕๐๐ ๑๒,๑๘๗,๕๐๐ ๔,๐๖๒,๕๐๐

๑) การสนบั สนนุ ความรกู้ ระบวนการเขา้ ใจ เขา้ ถงึ พฒั นา หมายตาม
ยทุ ธศาสตร์
ในการสง่ เสรมิ การขับเคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญาของ
ในพื้นท่ี
เศรษฐกจิ พอเพยี งภาคการเกษตรและชนบท
ตน้ แบบ
๒) การรว่ มเป็นคณะกรรมการระดบั จงั หวัด อำาเภอ
ปดิ ทองหลัง
และปฏบิ ัตงิ านร่วมกันในพน้ื ท่ีเปา้ หมาย
พระ ๕
๓) การสนับสนุนคณะทำางานระดับอำาเภอในการจัดเก็บ จงั หวัด
ข้อมลู และร่วมเวทีเรียนรู้

๔) การร่วมทบทวนการจัดทำาแผนงานโครงการให้
สอดคล้องตามกรอบแนวคิดตามยุทธศาสตรฯ์

รวมงบประมาณ ๑๑๒,๕๐๐,๐๐๐

๒. การจดั ตัง้ สถาบันอบรม (Training) เพ่ือเตรยี มบุคลากร ทาำ งานพฒั นาทางเลือก โดยมีเนอ้ื หาหลักสตู รครอบคลุม

๒.๑ พฒั นาชดุ ความรแู้ ละกระบวนการเรยี นรกู้ ารบรหิ ารจดั การ ๓ หลักสูตร ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐
นำ้าชุมชนตามแนวพระราชดาำ ริ

๑) สำารวจ ค้นหา ผนู้ ำาชุมชน/เกษตรกรทม่ี ปี ระสบการณ์
ความรู้จากการปฏิบตั จิ รงิ

๒) การศกึ ษาดูงานด้านการบริหารจดั การนำา้ ชมุ ชน
๓) จดั กิจกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหวา่ งผนู้ าำ ชุมชน
และเกษตรกรทม่ี ปี ระสบการณ์จากการปฏิบัติจริง
๔) การวางแผนและฝึกปฏิบตั จิ ริงในพน้ื ท่ี
โดยมีทมี เจา้ หนา้ ที่ติดตามสนับสนนุ ใหค้ ำาแนะนำา

๕) ถอดบทเรยี น ปจั จัยความสาำ เรจ็ ปญั หาอปุ สรรค
และแนวทางแก้ไข

๖) สรปุ ชุดความรู้ นาำ เสนอผลการดำาเนนิ งาน
และประเมนิ ผล

84 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ไตรมาสท่ี ๔ รวม กลุ่มเปา้ หมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลิต
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

๔,๐๖๒,๕๐๐ ๓๒,๕๐๐,๐๐๐ ๑) คณะกรรมการระดบั เพื่อสนบั สนุนองค์ความรู้ ๑) เกดิ การสนบั สนุนการ

จงั หวดั กระบวนการเขา้ ใจ เข้าถึง ทำางานของคณะกรรมการ

๒) คณะกรรมการระดับ พฒั นา ตามคู่มอื การ ระดับจังหวัด/ระดบั อำาเภอ

อาำ เภอ ขับเคลือ่ นการพฒั นาตาม คณะทำางานระดับตำาบล/

๓) คณะทำางานระดบั ตำาบล ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หม่บู ้าน ในการขับเคลื่อนการ

๔) คณะทำางานระดบั หม่บู ้าน ในภาคการเกษตรและชนบท พฒั นาตามคู่มือฯ

และด้านความม่นั คง ๒) เกดิ แผนพัฒนาตาม

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ในภาคการเกษตรและชนบท

และด้านความมั่นคง

ในหมูบ่ า้ นเปา้ หมายตามแผน

ยทุ ธศาสตรฯ์

๓๗,๕๐๐,๐๐๐ ๑๕๐,๐๐๐,๐๐๐

ความตอ้ งการของประเทศและภูมิสงั คม ความชาำ นาญของบุคลากร เทคนคิ การประสานความร่วมมอื กับหนว่ ยงาน

๕๐๐,๐๐๐ ๘,๕๐๐,๐๐๐ ผ้นู าำ ชมุ ชน และเกษตรกร ๑) เพือ่ พฒั นากระบวนการ ๑) ได้หลกั สูตรการบรหิ าร

ในพนื้ ที่ท่ีมีแหลง่ นำา้ ขนาดเลก็ เรียนรดู้ า้ นการบริหารจัดการ จดั การนำา้ ชุมชนตามแนว

หรอื มีระบบนำา้ ชุมชนท่ใี ช้ได้ นำ้าชมุ ชนตามแนวพระราชดาำ ริ พระราชดาำ ริ

ไมเ่ ต็มประสทิ ธิภาพ โดยการฝึกปฏบิ ัติใหเ้ กิดผล ๒) ไดแ้ ผนปฏิบตั ิการบริหาร

แก้ไขปญั หาของชมุ ชนได้จริง จัดการน้ำาชมุ ชน ทนี่ ำาไป

๒) เพือ่ ถอดบทเรยี นสร้าง ปฏิบัติได้จริง

ความรู้ใหม่จากการประยุกต์ ๓) มีวทิ ยากรมคี วาม

ใช้ของเกษตรกร เชีย่ วชาญดา้ นการบรหิ าร

๓) เพ่อื พัฒนาให้ผูน้ ำาชุมชน/ จดั การนาำ้

เกษตรกร มที กั ษะความ ๔) เครอื ข่ายความรว่ มมอื กับ

สามารถในการเปน็ วทิ ยากร ทกุ ภาคส่วนดา้ นการพฒั นา

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 85
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏิบัตงิ านและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาำ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หนว่ ย ไตรมาสท่ี ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสที่ ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๒.๒ พฒั นาชดุ ความรขู้ องเกษตรกรยคุ ใหม่ ๑ หลกั สูตร ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐
และเตรยี มความพรอ้ ม

๒.๓ สรา้ งความรใู้ หมด่ า้ นการพัฒนาจากประสบการณ์ ๖ มิติความรู้ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ -

การปฏิบตั จิ รงิ ในพนื้ ท่ีตน้ แบบ

๑) การตดิ ตามประเมนิ ผลแบบมสี ว่ นรว่ มในพนื้ ทตี่ น้ แบบ

๒) ถอดบทเรยี นการพฒั นาและสร้างความรใู้ หม่

๒.๔ พัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในพ้ืนท่ีความร่วมมือ ๑ แห่ง ๙,๐๐๐,๐๐๐ ๘,๐๐๐,๐๐๐ ๖,๐๐๐,๐๐๐
กบั สถาบนั การศกึ ษา

รวมงบประมาณ ๓๗,๕๐๐,๐๐๐

86 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ไตรมาสท่ี ๔ รวม กลุ่มเปา้ หมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลติ
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๑) เกษตรกรในหมบู่ า้ นตน้ แบบ เพอ่ื พฒั นาความรู้ ทักษะ ได้หลักสตู รพัฒนาความ
๒) อาสาสมคั รพัฒนาหมบู่ า้ น ดา้ นการเพมิ่ ประสิทธิภาพ เช่ียวชาญในการเกษตรแบบ
๓) เยาวชนในสถาบนั การ การผลิต และการเปน็ ผสมผสานของเกษตรกร
ศึกษา และทจ่ี บการศกึ ษาแล้ว ผปู้ ระกอบการใหเ้ กษตรกร และการเป็นผูป้ ระกอบการ

- ๖,๕๐๐,๐๐๐ หมูบ่ า้ นในพน้ื ท่ตี ้นแบบ ๑) เพื่อประเมินผลการพฒั นา ๑) ไดช้ ดุ ความรู้การพัฒนา

พ้นื ทีต่ ้นแบบ ๖ มติ ิ และชดุ ความรู้

๒) เพ่อื ถอดบทเรียนและสรา้ ง กระบวนการพัฒนา

ความรู้ใหม่จากการปฏบิ ัติจรงิ ๒) ได้ข้อเสนอแนะ

ของชมุ ชน และแนวทางในการปรับปรงุ

การพัฒนาให้ชมุ ชนสามารถ

พ่ึงพาตนเองได้

๒,๐๐๐,๐๐๐ ๒๕,๐๐๐,๐๐๐ พน้ื ทค่ี วามร่วมมือกบั สถาบนั เพอ่ื เปน็ แหล่งเรียนรู้ มีศนู ย์เรยี นรเู้ ศรษฐกิจ
การศึกษา และถ่ายทอดความรู้ พอเพยี งท่มี ีองคค์ วามรู้จาก
ให้แก่เกษตรกรในพน้ื ที่ การปฏบิ ตั จิ รงิ ของเกษตรกร
ต้นแบบและพ้นื ที่ขยายผล ท้ังด้านนาำ้ เกษตร อาชพี
และการบริหารจัดการ

๑๒,๕๐๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐,๐๐๐

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 87
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจา่ ยประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมลู นธิ ปิ ิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดำาริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หน่วย ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสท่ี ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๓. การส่งเสริมการรบั รแู้ ละเข้าใจแนวพระราชดาำ ริ ๖ คร้งั ๕๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐

๓.๑ กิจกรรมศึกษาดูงานโครงการในสมเด็จพระนางเจ้า ๖ ครงั้ ๕๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐
สิริกติ ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในโอกาส ๘๔ พรรษา (Press Tour)
๑๓ ตอน ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐ -
๓.๒ กจิ กรรมศึกษาดูงานโครงการในพระบาทสมเดจ็ ๒๐ ตอน - - ๒,๒๓๐,๐๐๐
พระเจา้ อย่หู วั ในวโรกาส ๗๐ ปีครองราชย์ (Press Tour) ๑ ครง้ั -
๑๕ ตอน ๒,๗๗๐,๐๐๐ -
๓.๓ รายการเดอะบันฑิต ปี ๒/ตลาดนดั ความดี ๑ ครง้ั ๑๕ ตอน ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ -
๓.๔ การเผยแพรส่ ารคดีชุด “ขุดที่รากถอนท่ีโคน” ๑ คร้งั - ๑,๕๐๐,๐๐๐ -
๓.๕ โครงการเผยแพรแ่ นวพระราชดาำ ริ (ปลานลิ จติ รลดา) ๑ คร้งั ๑,๐๐๐,๐๐๐ -
๓.๖ สารคดี “บทบาทประเทศตา่ งๆ ในงานพระราชดาำ ร”ิ ๑ คร้งั ๕๐๐,๐๐๐ -
๓.๗ รายการทวี ที ฤษฎีใหม่ ๑ คร้ัง ๔๐๐,๐๐๐ - -
๓.๘ แถลงข่าวประจำาปี ๒๕๕๙ ๔๘ ตอน ๕๐๐,๐๐๐ - ๗๕๐,๐๐๐
๓.๙ สมุดบนั ทึกปดิ ทอง ๑ ครั้ง - ๒๕๐,๐๐๐
๓.๑๐ รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ ๖ ครง้ั - ๗๕๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐
๓.๑๑ ของทร่ี ะลกึ เนื่องในโอกาสสาำ คัญ เชน่ วันข้ึนปใี หม่ ๔ ตอน ๕๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ -
๓.๑๒ คนเปล่ียนโลก ปี ๒ ๕๐๐,๐๐๐ ๕๘๐,๐๐๐
๓.๑๓ Social Media ๓ ตอน ๒,๕๐๐,๐๐๐ -
๓.๑๔ สอ่ื มวลชนสว่ นกลางศึกษาดงู านพืน้ ทตี่ ้นแบบ ๑ คร้ัง
๓.๑๕ ผลติ สปอตโฆษณา เพ่อื ส่งเสริมสงั คมรว่ มคดิ ๒ ครง้ั ๒,๕๐๐,๐๐๐ - -
และแกไ้ ขปัญหาของประเทศ ๒,๐๒๐,๐๐๐
๓.๑๖ ผลติ สารคดปี ดิ ทองหลงั พระฯ เผยแพรใ่ นตา่ งประเทศ -- ๕๐๐,๐๐๐
๓.๑๗ กจิ กรรมร่วมกับสอื่ มวลชน (ชมรมสอื่ บา้ นนอก)
๓.๑๘ นทิ รรศการร่วมกับภาคี (สว่ นกลาง) --
รวมงบประมาณ
๓๐,๐๐๐,๐๐๐

88 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำาริ

ไตรมาสที่ ๔ รวม กลุ่มเป้าหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ผลผลิต
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

- ๒,๕๐๐,๐๐๐ ประชาชนทว่ั ไป ๑) กลุ่มเปา้ หมายเกิดการรบั รู้ ๑) กจิ กรรมและองคค์ วามรู้
หนว่ ยงานสบื สานแนว
- ๒,๕๐๐,๐๐๐ พระราชดาำ ริ กิจกรรมการพฒั นาตามแนว ปดิ ทองหลังพระฯ เปน็ ทาง
ภาครฐั เอกชน องคก์ ร
- ๘,๐๐๐,๐๐๐ ปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พระราชดำาริ เลือกในการแก้ไขปัญหาและ
- - สถาบันการศกึ ษา ส่อื มวลชน
- ภาคเอกชน ๒) กลมุ่ เป้าหมายเกดิ ความ พฒั นาคุณภาพชีวิตใหด้ ีขน้ึ
- ๕,๐๐๐,๐๐๐
- ๓,๐๐๐,๐๐๐ ศรทั ธาในแนวทางแก้ไขปญั หา ๒) เกดิ การพัฒนาตาม
- ๓,๐๐๐,๐๐๐
- ๑,๐๐๐,๐๐๐ และพัฒนาตามแนว แนวทางปดิ ทองหลงั พระฯ
- ๕๐๐,๐๐๐
- ๔๐๐,๐๐๐ พระราชดำาริ เพิ่มขึ้นท่ัวประเทศ
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐
๒๕๐,๐๐๐ ๒,๕๐๐,๐๐๐ ๓) กลมุ่ เปา้ หมายนาำ กจิ กรรม ๓) แนวพระราชดาำ ริเป็น
๕๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐
- ๒,๐๘๐,๐๐๐ และองคค์ วามรปู้ ิดทอง แนวทางหลกั ในการแก้ไข
๒,๕๐๐,๐๐๐
หลังพระฯ ไปปรับใชพ้ ฒั นา ปญั หาและพัฒนาประเทศ

ต่อยอด

- ๒,๕๐๐,๐๐๐
- ๒,๐๒๐,๐๐๐
- ๕๐๐,๐๐๐
๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐,๐๐๐

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 89
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏบิ ตั ิงานและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณรายจ่ายประจำาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมูลนิธิปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หนว่ ย ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสท่ี ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๔. การส่ือสารสาธารณะ และภาคสี มั พนั ธ์ ๒๔ ฉบับ ๓,๑๕๐,๐๐๐ ๓,๑๕๐,๐๐๐ ๗๐๐,๐๐๐
๔.๑. หนงั สือพมิ พป์ ดิ ทองหลังพระฯ (ท้องถ่ิน) ๒ พนื้ ท่ี ๖ ครง้ั -
๔.๒ งานมหกรรมแลกเปลีย่ นเรยี นรใู้ นพน้ื ท่ีต้นแบบ ๑๒๐ ครั้ง ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ -
๔.๓ สนับสนุนการประชาสมั พนั ธ์ผา่ นวทิ ยุ (ทอ้ งถิ่น) ๒๑๐,๐๐๐
๒๔ ครัง้ ๒๑๐,๐๐๐ ๒๑๐,๐๐๐
๕ พน้ื ที่ (๒ พ้นื ที่) ๒๓๐,๐๐๐
๔.๔ สนบั สนนุ การประชาสมั พนั ธผ์ า่ นเคเบลิ ทวี ี (ทอ้ งถนิ่ ) ๓๖ ครง้ั ๒๕๕,๐๐๐ ๒๕๕,๐๐๐
๒๐๐,๐๐๐
๔.๕ การประชาสัมพันธ์ผ่านหอกระจายเสียงประจำา ๑๒ คร้งั ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐
หมู่บา้ น ๓ พน้ื ท่ี ๒๐๐,๐๐๐
๕ คร้งั ๔๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐
๔.๖ สนบั สนนุ การประชาสมั พนั ธผ์ า่ นสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์ ๕ ครั้ง ๒๕๐,๐๐๐
แห่งประเทศไทย (ขอนแก่น) ๒ พ้ืนที่ ๒๕๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐ ๒๕๐,๐๐๐
๒ ครั้ง ๓๑๗,๐๕๐ ๓๑๗,๐๕๐
๔.๗ การศกึ ษาดูงานของสอ่ื มวลชน (ทอ้ งถนิ่ ) ๕ พื้นที่ ๓ ครง้ั ๑,๐๐๐,๐๐๐
๔.๘ สรา้ งความสัมพนั ธก์ บั สื่อมวลชน (ทอ้ งถน่ิ ) ๑ครั้ง -- ๑,๐๐๐,๐๐๐
Press Meeting ๕ พื้นที่ -- ๖๕๕,๙๐๐
๔.๙ เอกสารประชาสมั พันธ์ในพ้ืนท่ี --

๔.๑๐ นิทรรศการรว่ มกบั ภาคใี นพ้นื ทต่ี น้ แบบ ๒๑,๙๖๔,๑๐๐

๔.๑๑ พัฒนาศักยภาพบุคลากร อาสาพัฒนาฯ ด้านการ
สื่อสารสาธารณะ เช่น การเขียนข่าว การทำา Infographic
เป็นตน้

รวมงบประมาณ

90 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

ไตรมาสท่ี ๔ รวม กลุม่ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ผลผลิต
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

- ๗,๐๐๐,๐๐๐ ประชาชนในพ้นื ทต่ี น้ แบบ ๑) เพอ่ื ประชาสมั พนั ธ์ผล ๑) ผลสาำ เรจ็ /กิจกรรมทีเ่ กิด
- ๑๒,๐๐๐,๐๐๐ และพืน้ ที่โดยรอบ เยาวชน สาำ เรจ็ /กจิ กรรมท่เี กิดขึ้นจาก ข้นึ จากการพัฒนาตามแนว
๒๑๐,๐๐๐ ๘๔๐,๐๐๐ สือ่ มวลชน ประชาชนทว่ั ไป พฒั นาตามแนวทาง พระราชดาำ รเิ ปน็ ทรี่ จู้ ัก
พระราชดำาริ ๒) ประชาชนในพนื้ ท่ี
๒๓๐,๐๐๐ ๙๗๐,๐๐๐ ๒) เพอ่ื ส่งเสริมและสนับสนุน เปา้ หมายเกิดความตื่นตวั
ให้ประชาชนในพ้นื ทตี่ ้นแบบ และมีส่วนร่วมกจิ กรรมตา่ งๆ
๒๐๐,๐๐๐ ๑,๒๐๐,๐๐๐ และพ้นื ทโ่ี ดยรอบมสี ว่ นร่วม รว่ มกบั โครงการ
ในการพฒั นาชุมชนร่วมกับ ๓) พน้ื ทต่ี น้ แบบเป็น
๒๐๐,๐๐๐ ๑,๒๐๐,๐๐๐ โครงการ แหลง่ เรยี นรู้ ศกึ ษา ฝกึ ปฏิบัติ
๓) เพอ่ื สร้างความเช่ือม่ัน แกผ่ ทู้ ่ีประสงค์จะพัฒนา
๒๕๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ศรัทธาในการพฒั นาชมุ ชน ชมุ ชนตามแนวพระราชดำาริ
๒๕๐,๐๐๐ ๑,๑๓๔,๑๐๐ ตามแนวพระราชดำาริ ๔) เกดิ การขยายผลโครงการ
สามารถแกไ้ ขปญั หาของ ในพ้นื ที่ใกลเ้ คียง
ชุมชนได้
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐
๑,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐
๖๕๕,๙๐๐
-

๘,๐๓๕,๙๐๐ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 91
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดาำ ริ

แผนปฏบิ ัติงานและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณรายจา่ ยประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมลู นธิ ปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำาริ (ตอ่ )

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หน่วย ไตรมาสที่ ๑ ไตรมาสท่ี ๒ ไตรมาสที่ ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-ม.ิ ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๕. การบรหิ ารจัดการ ๑๒ เดือน ๙,๐๕๒,๕๐๐ ๙,๐๕๒,๕๐๐ ๓,๐๖๖,๐๐๐
๑๒ เดือน ๒,๑๒๒,๕๐๐ ๒,๑๒๒,๕๐๐ ๖๘๓,๐๐๐
๕.๑  ค่าใช้จา่ ยบคุ ลากร เงนิ เดอื น ค่าจา้ ง คา่ ตอบแทน
ค่าบริการวชิ าชีพ และการพัฒนาบคุ ลากร

๕.๒  ค่าใช้จา่ ยสาำ นักงาน คา่ ครุภณั ฑ์ คา่ วสั ดุอุปกรณ์
ค่าซอ่ มแซมบาำ รุงรกั ษา ค่าระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
ค่าสาธารณปู โภค (น้ำา ไฟ โทรศพั ท)์ คา่ วัสดุสน้ิ เปลอื ง

๕.๓  การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่อื ทาำ แผนบริหาร ๒ ครั้ง ๑๕๐,๐๐๐ - -

ความเสีย่ งในการบริหารงาน และการจดั ทาำ ระบบตรวจสอบ

และควบคมุ ภายใน

92 รายงานประจำาปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดาำ ริ

ไตรมาสท่ี ๔ รวม กลุม่ เป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลิต
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

๓,๐๖๗,๓๗๔ ๒๔,๒๓๘,๓๗๔ พนกั งาน ลูกจา้ ง กรรมการ ๑) เพอ่ื เป็นคา่ ตอบแทนการ ๑) บคุ ลากรมขี วัญกำาลงั ใจ
ทปี่ รึกษา ภาคีเครือขา่ ย
ปฏบิ ัตงิ านของมูลนธิ ิฯ/ ในการปฏบิ ตั งิ าน
๕๓๓,๖๒๖ ๕,๔๖๑,๖๒๖ ผู้ใช้บริการสำานกั งาน
ประชาชนทวั่ ไป หนว่ ยงานที่ สถาบนั ฯ ๒) บคุ ลากรมกี ารพฒั นา
ติดตอ่ ประสานงาน
๒) เพือ่ เพ่ิมศักยภาพบุคลากร ศกั ยภาพ
๑๕๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐
ใหส้ อดคลอ้ งกับการพัฒนา ๓) มีแผนบรหิ ารความเส่ียง

องค์กร และการควบคมุ ภายใน

๓) เพอ่ื เกิดความคล่องตัว เปน็ เครอ่ื งปอ้ งกนั และแก้ไข

รวดเรว็ ในการปฏิบตั งิ าน ความเส่ยี งท่ีเกดิ ขึน้

๔) เพ่ือปรบั ปรงุ ระบบส่ือสาร ๔) มรี ะบบและวสั ดุอุปกรณ์ท่ี

ให้มคี วามทนั สมัยและมี พรอ้ มสนบั สนุนต่อการใชง้ าน

ประสิทธิภาพยง่ิ ขึน้ ๕) มีระบบเครอ่ื งมือ และ

๕) เพอ่ื สนับสนนุ ภารกจิ การ ระบบสอ่ื สาร ในการปฏบิ ตั งิ าน

ดาำ เนนิ งานของมลู นธิ ฯิ / ในการสอื่ สารทง้ั ภายใน

สถาบันฯ องคก์ ร และภายนอกองค์กร

ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

๖) หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง/

บุคคลท่วั ไป

ได้รับการบริการที่ดี

รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘ 93
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

แผนปฏบิ ัตงิ านและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙
ของมูลนธิ ิปิดทองหลงั พระ สบื สานแนวพระราชดาำ ริ (ต่อ)

แผนงาน งบประมาณ (บาท)
หนว่ ย ไตรมาสท่ี ๑ ไตรมาสที่ ๒ ไตรมาสท่ี ๓

ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-ม.ี ค. เม.ย.-มิ.ย.
๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙

๕.๔ การทำาตัวชีว้ ัดผลการปฏบิ ตั ิงานของสถาบนั ฯ - - -
-
๕.๕  การวดั ความพงึ พอใจตอ่ การดาำ เนนิ งานของสถาบนั ฯ - -
-
(ทาำ เปรียบเทยี บทกุ ปี ดูแบบสาำ รวจปที ่แี ล้ว)
-
๕.๖ การพัฒนาบุคลากรของสถาบันให้มีความรู้ความ - -

เชยี่ วชาญท่ีสามารถปฏิบตั ิภารกิจของสถาบันฯ อย่างได้ผลดี

๕.๗ การปรับปรงุ กระบวนงานของสถาบันฯ ---

ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และนาำ ไปสู่ผลลพั ธข์ องงานที่มคี ณุ ภาพ

หมายเหตุ : คา่ ใช้จา่ ยตามขอ้ ๕.๑ ในไตรมาสท่ี ๓ และ ๔ ๒๒,๕๐๐,๐๐๐ ๗๕,๕๓๕,๙๑๐
จะนำาเอางบประมาณจากไตรมาสท่ี ๑ และ ๒ มาจา่ ยสมทบ ๒๒๔,๔๖๔,๑๐๐

รวมงบประมาณ
รวม

หมายเหต:ุ การใชจ้ ่ายงบประมาณท้ัง ๕ แผนงานดงั กล่าว สถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระฯ
จะไดด้ ำาเนินการใช้จ่ายทุกรายการถัวจ่ายกนั ได้ และให้เป็นไปตามระเบยี บสถาบันส่งเสริม
และพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลงั พระฯวา่ ดว้ ยการบริหารการเงิน ทรัพย์สิน และพัสดุ พ.ศ. ๒๕๕๓

94 รายงานประจาำ ปี ๒๕๕๘
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ

ไตรมาสที่ ๔ รวม กลุม่ เป้าหมาย วตั ถุประสงค์ ผลผลติ
ก.ค.-ก.ย.
๒๕๕๙ ๔ ไตรมาส

-
-

-

๗,๕๐๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐,๐๐๐
๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐

รายงานประจำาปี ๒๕๕๘ 95
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำาริ


Click to View FlipBook Version