The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pidthong.pidthong, 2022-01-21 00:22:44

รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำปี 2561

Keywords: รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

คณะกรรมการ
มูลนิธิปิดทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

ทา่ นผู้หญิงบุตรี วีระไวทยะ
ประธานกรรมการ

ทา่ นผ้หู ญงิ จรงุ จติ ต์ ทขี ะระ รศ.ดร.จิรายุ อศิ รางกูร ณ อยุธยา ดร.วิรไท สนั ตปิ ระภพ
รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

นายมนูญ สรรคค์ ณุ ากร รศ.สธุ รรม อย่ใู นธรรม หมอ่ มราชวงศ์ดศิ นดั ดา ดศิ กุล
กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขาธกิ าร

2

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

คณะกรรมการ
สถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ
สบื สานแนวพระราชดำ�ริ

หมอ่ มราชวงศ์ดิศนดั ดา ดิศกุล ประธานกรรมการ

ดร.สเุ มธ ตันติเวชกลุ กรรมการ

รศ.ดร.จริ ายุ อิศรางกูร ณ อยธุ ยา กรรมการ

ท่านผหู้ ญงิ จรงุ จิตต์ ทีขะระ กรรมการ

ปลัดส�ำ นกั นายกรัฐมนตร ี กรรมการ

ปลดั กระทรวงมหาดไทย กรรมการ

ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ กรรมการ

ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม กรรมการ

ผบู้ ัญชาการทหารบก กรรมการ

เลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษ กรรมการ

เพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชด�ำ ริ (กปร.)

ประธานกรรมการสถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) กรรมการ

ดร.วิรไท สันติประภพ กรรมการ

นายกสมาคมองคก์ ารบริหารส่วนจังหวัดแหง่ ประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมสันนบิ าตเทศบาลแห่งประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมองค์การบรหิ ารสว่ นต�ำ บลแห่งประเทศไทย กรรมการ

นายกสมาคมกำ�นัน ผูใ้ หญบ่ า้ นแห่งประเทศไทย กรรมการ

ผ้อู �ำ นวยการสถาบนั ส่งเสรมิ และพัฒนากจิ กรรมปิดทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชดำ�ร ิ กรรมการและเลขานกุ าร



3

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สารประธานกรรมการ
มลู นิธิปดิ ทองหลงั พระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ

นับตั้งแต่คณะรัฐมนตรีได้มีมติให้จัดต้ังมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนา
กิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ เมื่อปลายปี พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นต้นมา จนปัจจุบันมูลนิธิฯและสถาบันฯ
ได้ด�ำ เนินงานมาจนครบเก้าปีแลว้

ตลอดระยะเวลาดังกล่าว ประชาชนรวมถึงองค์กรท้ังภาครัฐ เอกชนและส่ือมวลชนได้เข้ามาร่วมงานเพ่ิมมากข้ึนตามลำ�ดับ
จนท�ำ ให้งานตา่ งๆ มคี วามกา้ วหน้า ตรงตามวตั ถุประสงคท์ ีต่ ั้งไว้ คอื ประชาชนในพื้นทต่ี น้ แบบทงั้ ๗ พน้ื ท่ี ๙ จังหวัด มคี วาม
เป็นอยูท่ ่ีดขี นึ้ เริ่มขยายผลไปยงั พ้ืนท่ีอืน่ ๆ และการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริไดเ้ ข้าเป็นสว่ นหนงึ่ ในระบบราชการ

เหล่าน้ีสอดคล้องกับพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ท่ีทรงมุ่งสร้าง
ความสุขแกป่ ระชาชนอยา่ งยั่งยนื บนฐานปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและแนวทางการรรู้ กั สามัคคี ประกอบกบั แนวพระราโชบาย
ในสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ในอันทจ่ี ะทรงสืบสาน รักษา ตอ่ ยอด แนวพระราชด�ำ ริตา่ งๆ

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ ขอขอบคุณทุกภาคส่วนท่ีเข้ามาร่วมกันสร้างความสำ�เร็จในปีที่ผ่านมา
และขอเป็นกำ�ลังใจให้ทุกท่านประสบความสำ�เร็จจนแนวพระราชดำ�ริจะได้เป็นแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศตามมุ่งหวังของ
พวกเราทกุ ๆ คน

(ทา่ นผหู้ ญงิ บุตรี วีระไวทยะ)
ประธานกรรมการ

มลู นิธปิ ดิ ทองหลังพระ สบื สานแนวพระราชด�ำ ริ

4

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สารประธานกรรมการสถาบัน
สง่ เสริมและพฒั นากจิ กรรมปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำ�ริ

ปี ๒๕๖๑ ที่เพ่ิงผ่านไป เป็นปีที่เก้าของการดำ�เนินงานของสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดำ�ริ ซงึ่ ตลอดระยะเวลาดังกลา่ ว เราอาจสรุปไดอ้ ย่างสนั้ ๆ วา่ “เก้าปี ก้าวหนา้ ”

มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำ�ริ และสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ จัดต้ังข้ึนมาให้มี
พันธกิจในการส่งเสริมการพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริให้เป็นระบบอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตาม องค์กรภาคประชาชน เอกชน
และภาครัฐตา่ งมคี วามตระหนกั ถงึ ความสำ�คัญของงานน้ี จงึ เขา้ มามสี ว่ นร่วมกันสรา้ งความส�ำ เรจ็ ตา่ งๆ

เราเหน็ ไดว้ า่ ประชาชนในพน้ื ทต่ี น้ แบบทง้ั ๙ จงั หวดั เรม่ิ มคี วามเปน็ อยทู่ ด่ี ขี น้ึ หลงั จากการจดั การแหลง่ น�ำ้ เพม่ิ พนู ความรทู้ างการ
ผลติ และการพัฒนาดา้ นการตลาด ดงั ตัวอยา่ งรปู ธรรมในโครงการทุเรียนคุณภาพจงั หวัดยะลา ทีท่ ำ�ใหเ้ กษตรกรที่เข้ารว่ มโครงการ
มีรายได้เพ่ิมขนึ้ เฉล่ยี ถงึ ๓.๘ เท่า จากความรว่ มมือกนั อยา่ งเปน็ เอกภาพของประชาชน ภาครัฐและเอกชน

ผลดังกล่าวทำ�ให้จำ�นวนเกษตรกรทุเรียนในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนใต้ที่เข้ามาร่วมโครงการทุเรียนคุณภาพจำ�นวน ๑๘ ราย
ในปี ๒๕๖๑ เพม่ิ เปน็ ๖๙๐ ราย ในปี ๒๕๖๒ และขยายจากจงั หวดั ยะลาไปยังปัตตานีและนราธวิ าส ซ่งึ แน่นอนวา่ จะกลายเป็นต้นแบบ
ของการสร้างความมนั่ คงในชีวิตโดยการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนได้ดตี อ่ ไปในอนาคต

สภาพดงั กลา่ วสง่ ใหพ้ น้ื ทตี่ น้ แบบปดิ ทองหลงั พระฯ ทง้ั หมด กลายเปน็ พนื้ ทแ่ี หง่ ความรว่ มมอื เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของประชาชน
มีองค์กรและหน่วยงานจำ�นวนมากเข้ามาร่วมคิด ร่วมทำ� อย่างจริงจัง เช่น กรมชลประทาน กรมประมง กรมส่งเสริมการเกษตร
กรมส่งเสรมิ สหกรณ์ ผู้ว่าราชการจังหวดั ต่างๆ เครือเจริญโภคภณั ฑ์ บริษัท บางจาก คอรป์ อเรช่ัน จ�ำ กดั กลมุ่ มิตรผล สยามซีเมนต์
กรปุ๊ เปน็ ต้น สะท้อนเจตนารมณข์ องภาคตี า่ งๆ เหล่านใี้ นการร่วม “สบื สาน รักษา ต่อยอด” แนวพระราชด�ำ ริ เพ่อื นำ�ประโยชน์
สปู่ ระเทศและประชาชน

เปน็ ความจรงิ ทหี่ ลีกเล่ียงไมไ่ ดว้ า่ การทำ�งานใดๆ จะตอ้ งพบกบั อุปสรรค และตลอดระยะเวลาเกา้ ปที ผี่ า่ นมา ปดิ ทองหลงั พระฯ
และภาคกี ารพฒั นากไ็ ดร้ ว่ มกนั แกไ้ ขเรอ่ื งตา่ งๆ มาโดยล�ำ ดบั ในลกั ษณะของการเปน็ หนุ้ สว่ น เพอื่ การพฒั นาจนท�ำ ใหเ้ กดิ ความกา้ วหนา้
อยา่ งมคี ุณภาพ

ผลการประเมนิ ของสถาบนั วชิ าการตา่ งๆ เชน่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ สถาบนั สง่ิ แวดลอ้ มไทย ต่างพบ
ว่าประชาชนในพน้ื ท่ีต้นแบบมคี วามกา้ วหนา้ มีรายได้เพ่มิ ขึน้ มีความรมู้ ากขึ้น มคี วามพงึ พอใจ และมเี จตนาจะพัฒนาจนสามารถ
ยนื ได้ด้วยตนเอง

ประสบการณ์จากการร่วมกันทำ�งานกับภาคีต่างๆ พัฒนาเป็นองค์ความรู้ท่ีนอกจากภาคประชาชนจะนำ�ไปใช้ในการขยายงาน
สู่พนื้ ทอ่ี ื่นๆ แลว้ ยงั เกดิ เป็นทุนความรู้ใหแ้ กภ่ าครัฐและเอกชนน�ำ ไปตอ่ ยอดในพน้ื ทีอ่ นื่ ๆ เปน็ อย่างดี

และท่ามกลางความผันผวนของโลกท่กี ำ�ลงั สง่ ผลกระทบอยา่ งกว้างขวางในปี ๒๕๖๒ นี้ แนวพระราชดำ�รติ ่างๆ และปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงจะเป็นเข็มทิศท่ีนำ�เราให้พ้นปัญหาต่างๆ ไปได้ โดยประเทศและประชาชนมีความมั่นคงทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม
สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรม

ผมจึงขอขอบคณุ หนุ้ ส่วนการพัฒนาทกุ ทา่ น และหวงั ว่าเราจะร่วมกนั ขับเคลือ่ นแนวพระราชดำ�ริให้เข้มข้นขน้ึ เพื่อเพิ่มภมู ิคมุ้ กัน
ตลอดพฒั นาประเทศใหเ้ กดิ ความก้าวหน้าและยงั่ ยืนตอ่ ไป

(หม่อมราชวงศ์ดศิ นัดดา ดิศกุล)
ประธานกรรมการ

สถาบันสง่ เสริมและพฒั นากิจกรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ
5

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

สารปลดั สำ�นักนายกรฐั มนตรี

ตามมตคิ ณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๒ ไดม้ อบหมายใหส้ �ำ นกั งานปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรจี ดั ตงั้ มลู นธิ ปิ ดิ ทอง
หลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ และสถาบนั ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำ ริ และสนับสนนุ
การดำ�เนนิ งานของมูลนธิ ปิ ดิ ทองหลงั พระฯ โดยการนำ�เสนอคณะรฐั มนตรี เพื่อขอความเห็นชอบงบประมาณผูกพัน ๕ ปี ในหมวด
งบเงินอดุ หนนุ ทว่ั ไป ปีละ ๓๐๐ ล้านบาท เพือ่ ดำ�เนนิ งานตามแผนยุทธศาสตรก์ ารบรู ณาการการขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งของมลู นธิ ิฯ ใหเ้ กดิ ผลเปน็ รปู ธรรม จนกระท่ังเป็นแนวทางหลักในการพัฒนาประเทศ

ส�ำ นกั งานปลดั ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรเี ปน็ หนว่ ยงานบรู ณาการขบั เคลอื่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและสง่ เสรมิ แนวพระราชด�ำ ริ
เพื่อการพัฒนาสังคมและประเทศของรัฐบาล โดยส่งเสริมและสนับสนุนการดำ�เนินงานตามแผนยุทธศาสตร์บูรณาการการขับเคลื่อน
การพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของมลู นิธิฯ และสถาบันฯ ซงึ่ ปัจจบุ ันได้ด�ำ เนินการอยใู่ นช่วงแผนยทุ ธศาสตร์ ระยะที่ ๒
(พ.ศ. ๒๕๕๔–๒๕๖๓) ทง้ั น้ี จากการติดตามความก้าวหนา้ ของผลการดำ�เนินงานทีผ่ า่ นมา พบวา่ มลู นิธฯิ มกี ารดำ�เนินงานขยายผล
การพัฒนาตามแนวพระราชดำ�ริอย่างต่อเน่ือง โดยมุ่งม่ันท่ีจะสืบสานพระราชปณิธาน และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ
พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิต์ิ พระบรมราชินนี าถ ในรัชกาลที่ ๙ และพระราโชบาย
ของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน แก้ไขปัญหาความยากจน โดยนำ�ศาสตร์พระราชามาสู่
การปฏบิ ัติ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้ประชาชนสามารถอยู่รอดได้ในระดับครัวเรือน ก้าวไปสู่ชุมชนพอเพยี ง และพึ่งพา
ตนเองได้อยา่ งยั่งยนื ซง่ึ สอดคล้องกับเปา้ หมายการพัฒนาที่ยั่งยนื ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
ระยะ ๒๐ ปี ของรัฐบาล

สำ�นักงานปลัดสำ�นักนายกรัฐมนตรีขอช่ืนชมการทำ�งานของมูลนิธิฯ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ท่ีได้ร่วมกันส่งเสริม
สนบั สนนุ และปฏบิ ตั งิ านขบั เคลอ่ื นการพฒั นาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพอ่ื พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ความเปน็ อยขู่ องประชาชน
เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชุมชน ใหป้ ระชาชนสามารถพึ่งพาตนเองไดอ้ ย่างยง่ั ยืน ซ่ึงถือเปน็ รากฐานส�ำ คญั ของการพัฒนาประเทศ
ชาติใหเ้ จริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนสืบไป

(นางพชั ราภรณ์ อินทรยี งค)์
ปลัดส�ำ นักนายกรัฐมนตรี

6

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

วิสยั ทัศน์

เป็นองคก์ รขบั เคล่ือน พันธกจิ
การพฒั นาที่ยั่งยืนของประเทศไทย
“การจดั การความรู้
ขยายผลแนวพระราชด�ำ ริ และการสง่ เสริมการพฒั นา
ให้เกดิ ประโยชน์ที่ยงั่ ยืน
ตามแนวพระราชดำ�ริ
แกป่ ระชาชน อยา่ งเปน็ ระบบ กวา้ งขวาง
จนเปน็ แนวทางการพฒั นาหลัก

ของประเทศ”

ยทุ ธศาสตร์ คา่ นยิ มองค์กร


ศรัทธา แนวพระราชดำ�ริ
เชอ่ื มนั่ ในองค์กร
กา้ วหน้า ร่วมกันทุกภาคสว่ น
ยงั่ ยืน โดยประชาท�ำ เอง

๑. การพัฒนาพนื้ ที่ตน้ แบบ
๒. การจดั ตงั้ สถาบันอบรม
๓. การสง่ เสริมการรับรู้
และเขา้ ใจแนวพระราชด�ำ ริ
๔. การส่ือสารสาธารณะและภาคสี ัมพนั ธ์
๕. การบริหารจดั การ

7

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

จังหวัดน่าน จังหวัดอุดรธานี

๒๕๕๓ ๒๕๕๕
ปา่ ตน้ นำ�้ นา่ นถกู บกุ รกุ แผว้ ถางท�ำลายเพอื่ การ ราษฎรหมู่ ๓ บา้ นโคกลา่ มและหมู่ ๑๑ บ้านแสงอรา่ ม
เพาะปลกู พชื เชงิ เดยี่ ว โดยสาเหตจุ ากความยากจน กว่า ๑,๔๐๐ คน ขาดแคลนน้�ำเพ่ือการอุปโภคบริโภคและ
และขาดโอกาส เกิดปญั หามลภาวะท้ังอากาศ ดนิ การท�ำเกษตร แม้จะมีอ่างเก็บน้�ำห้วยคล้ายฯ อยู่ในพ้ืนท่ี
และน้�ำ สุขภาพเสื่อมโทรมด้วยสารพษิ แนวลมุ่ น�้ำ แต่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ เน่ืองจากไม่มีระบบส่งน�้ำและ
เกดิ อทุ กภัยรนุ แรงซ้�ำซาก การบรหิ ารจดั การน้ำ�
พื้นท่ีท�ำการเกษตรได้เพียงร้อยละ ๑๕.๒๐ การท�ำเกษตรไม่ได้ผลดี ผลผลิตข้าวเฉลี่ยเพียง ๓๕๐
ตอ้ งน�ำเขา้ อาหารจากภายนอกปลี ะมากกวา่ ๑,๒๐๐ กิโลกรมั ต่อไร่ ไมม่ รี ายได้จากทั้งพชื ก่อนและหลงั นา รายได้
ลา้ นบาท รายจา่ ยสงู กวา่ รายรบั มหี นส้ี นิ รายไดเ้ ฉลย่ี เฉลี่ยของครัวเรือนไม่ถึงปีละหน่ึงแสนบาท มีปัญหาหนี้สิน
ตอ่ หวั ของประชากรตำ�่ เปน็ ล�ำดบั ท่ี ๓ ของประเทศ ท�ำใหเ้ กษตรกรตอ้ งเคล่ือนย้ายออกนอกพ้นื ท่ีไปท�ำงานรับจ้าง
สัดส่วนคนจนสูงถงึ ร้อยละ ๒๐ ของประชากร ในต่างประเทศจ�ำนวนมาก

๒๕๖๐ ๒๕๖๑
พื้นที่รับประโยชน์จากการพัฒนาระบบน�้ำ การพัฒนาระบบน้�ำ ท�ำให้มีปริมาณกักเก็บน้�ำรวม
โดยปดิ ทองหลังพระฯ เพ่มิ ข้นึ ๙,๖๐๘ ไร่ ในพื้นท่ี ๘๓๘,๐๐๐ ลกู บาศกเ์ มตร อ่างพวง ๓ อา่ ง และมีระบบสง่ น�้ำ
ต้นแบบ ๒๐ หมู่บ้าน ๓ อ�ำเภอ ผลผลิตข้าว เข้าสู่แปลงเกษตรของราษฎร ระยะทางรวม ๖,๒๙๐ เมตร
เพม่ิ ขน้ึ รอ้ ยละ ๒๖, ๕๕ และ ๑๒๙ ในพนื้ ทตี่ น้ แบบ เพิ่มพ้ืนท่ีรับน้�ำได้ ๑๓๙ แปลง ๑,๘๕๐ ไร่ สามารถท�ำ
อ�ำเภอท่าวังผา สองแคว และเฉลิมพระเกียรติ การเกษตรได้ตลอดท้ังปี ประชาชนเห็นศักยภาพของพ้ืนท่ี
ตามล�ำดับ สามารถสร้างกิจกรรมต่อเนื่องจากการพัฒนาระบบน้�ำ
ผลผลติ ขา้ ว ตลอดจนรายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ ครวั เรอื น เช่น เพ่ิมผลผลิตข้าว การปลูกพืชทางเลือกในฤดูแล้งที่มี
และเงินออม เพิ่มข้ึนทุกพ้ืนที่ มีกลุ่ม/กองทุน ตลาดรองรับ เกิดการรวมกลุ่มเป็นวิสาหกิจชุมชน เช่ือมโยง
ท่ีเกิดขึ้นจากความต้องการของชาวบ้านท่ีด�ำเนิน กับภายนอก ทง้ั ความรู้ เทคโนโลยี นวตั กรรมและการตลาด
กิจกรรมโดยชุมชนเองอย่างต่อเนื่อง รวม ๒๕ ภายใต้ตราสนิ ค้า “ภูธารา” ท่ีมมี าตรฐาน อย. รับรอง
กองทุน ๑ วิสาหกิจชุมชน และเพ่ิมพ้ืนท่ีป่าไม้ ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น จาก ๑๔๐,๑๒๖ บาท/
๒๕๐,๐๐๐ ไร่ ครัวเรือน/ปี ก่อนเริ่มโครงการ เป็น ๒๕๙,๓๓๙ บาท/
ครวั เรอื น/ปี

8

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดกาฬสินธุ์

๒๕๕๕ ๒๕๕๗
ชาวปกาเกอะญอนบั พนั ชวี ติ ในบา้ นโปง่ ลกึ และบา้ น แก้มลิงหนองเลงิ เปอื ย พน้ื ท่ี ๘๘๗ ไร่ เป็นแหล่งนำ้�
บางกลอย ด�ำรงชวี ติ อยา่ งยากล�ำบาก อดอยาก ขาดแคลน ส�ำคญั หลอ่ เลย้ี งพนื้ ทเ่ี กษตร ๔๓,๐๐๐ ไร่ และเพอื่ อปุ โภค
ปัจจัยพ้ืนฐานในการด�ำรงทุกอย่างและอาชีพเลี้ยงชีวิต บริโภคของราษฎร ๕๓ หมู่บา้ น ๔ ต�ำบล ๒ อ�ำเภอ
เพราะแม่นำ้� เพชรบรุ ีอยู่ต�่ำกวา่ พน้ื ท่ที �ำกนิ ถงึ ๕๐ เมตร เม่ือแก้มลิงตื้นเขินและฝายเก็บกักน�้ำช�ำรุด ปริมาณ
พน้ื ทเี่ พาะปลกู มนี อ้ ย ผลผลติ ขา้ วไดเ้ พยี ง ๒๐๐ กโิ ลกรมั เกบ็ กกั นำ�้ ลดลง จาก ๓.๕ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร เหลอื เพยี ง
ตอ่ ไร่ และหลายคนไมม่ สี ทิ ธกิ ารเปน็ พลเมอื งไทย รายได้ ๑.๐๖๔ ล้านลูกบาศก์เมตร ขณะท่ีปริมาณน้�ำไหล
เฉลยี่ ของครอบครัวมเี พยี ง ๔๓,๓๐๐ บาทต่อปี จากการ เขา้ หนองเลงิ เปอื ย เฉลยี่ ปลี ะ ๕๗.๕๐ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตร
รับจ้าง ที่ตอ้ งเดนิ เทา้ ออกมาเกอื บสามชัว่ โมง รายจา่ ย ท�ำให้เกดิ ปัญหานำ�้ ทว่ มซ้ำ� ซากทุกปี
เกือบท้งั หมดเป็นค่าอาหาร แหล่งน้�ำธรรมชาติในพื้นที่ใกล้เคียงไม่ได้รับการ
ขณะท่ีสถานการณ์ในพื้นที่มีความขัดแย้งท้ังคน พัฒนา พื้นที่เกษตรอยู่ไกลจากแหล่งน�้ำ ซ�้ำเติมให้
กบั คน คนกบั ป่า และคนกบั สัตวป์ า่ ลกุ ลามบานปลาย ปัญหาขาดแคลนน้�ำอุปโภคบริโภคและเพื่อการเกษตร
ไปสปู่ ญั หาสทิ ธมิ นุษยชน ในฤดูแลง้ รนุ แรง

๒๕๖๑ ๒๕๖๑
การพฒั นาระบบนำ�้ ดว้ ยระบบไมโครกรดิ ผลติ กระแส การขดุ ลอกแกม้ ลงิ หนองเลงิ เปอื ย ท�ำใหม้ ปี รมิ าณนำ้�
ไฟฟ้าได้ ๑๗๑ กิโลวัตต์ สูบน้�ำเข้าพื้นท่ีการเกษตรได้ เก็บกัก ๕.๑๘ ล้านลูกบาศก์เมตร มีสถานีสูบน�้ำเพื่อ
๔๕๔ ไร่ มรี าษฎรไดร้ บั ประโยชน์ ๕๗ ราย และขยายตอ่ การเกษตรทงั้ หมด ๖ สถานี ฝายตน้ นำ้� ๕ จุด เกษตรกร
เปน็ ระบบนำ้� เพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภคใหก้ บั ราษฎรไดท้ วั่ ถงึ ได้รับประโยชน์รวม ๘๐๒ ราย หรือ ๗๔๘ ครัวเรือน
ทั้งพ้ืนที่ ด้วยการเดินท่อประปาและติดตั้งมาตรวัดน้�ำ ๑,๐๗๑ แปลง พื้นทีร่ บั ประโยชนร์ วม ๘,๓๖๓ ไร่
๑๒๕ จุด การสง่ เสรมิ การเกษตร ๘ กจิ กรรม เกษตรกรได้รบั
เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกและดูแลทุเรียน ประโยชน์ ๙๓๒ ราย สร้างรายไดต้ ้งั แต่ปี ๒๕๕๘-๒๕๖๐
สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั เกษตรกร ๓๒ ราย เปน็ เงนิ ๑,๒๕๑,๐๔๐ รวม ๕,๔๕๑,๙๕๘ บาท ปศสุ ตั ว์ เกษตรกรไดร้ บั ประโยชน์
บาท กล้วยนำ้� วา้ ๙๖๖,๐๔๐ บาท เมอ่ื รวมกบั พชื อ่นื ๆ ๓๗๙ ราย สรา้ งรายได้รวม ๒,๒๘๘,๙๖๘ บาท เกิดการ
และการเลี้ยงสัตว์ มีรายได้เกิดข้ึนในพ้ืนที่รวม รวมกลุ่มบริหารจัดการกนั เอง ๙ กล่มุ และพัฒนาส่กู าร
๒,๓๐๙,๖๔๔ บาท เป็นสหกรณ์หนองเลิงเปือย จ�ำหน่ายผลผลิตภายใต้
ตราสนิ ค้า “หนองเลิงเปือย”

9

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

จังหวัดขอนแก่น จังหวัดอุทัยธานี สามจังหวัดชายแดนใต้

๒๕๕๘ ๒๕๕๖ ๒๕๕๙
ราษฎร ๑๐ หมบู่ ้าน ในต�ำบล ป่าห้วยขาแข้งถูกคุกคามจาก สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ทงุ่ โป่ง ประสบปญั หาขาดแคลนนำ�้ หลายสาเหตุ เกษตรกรต้องพึ่งพิง เป็นพ้ืนที่ที่มีความแตกต่างทาง
เ พ่ื อ ก า ร เ ก ษ ต ร แ ล ะ น้� ำ อุ ป โ ภ ค นายทุนเร่ืองปัจจัยการผลิตทั้งหมด วัฒนธรรม และมีปัญหาการท�ำ
บรโิ ภค ไมส่ ามารถใช้ประโยชนจ์ าก ดินเส่ือมสภาพจากการใช้สารเคมี เกษตรเชงิ เดยี่ ว (ยางพารา) ราษฎรมี
น้�ำได้เต็มท่ี กิจกรรมการเกษตร มากขน้ึ เรอ่ื ยๆ ขาดแคลนนำ้� อปุ โภค ฐานะยากจน สง่ ผลกระทบถงึ ปญั หา
ต ล อ ด ท้ั ง ป ี ไ ม ่ ส า ม า ร ถ ท�ำ ไ ด ้ บริโภคและท�ำเกษตรในฤดูแล้ง ความมั่นคง ปิดทองหลังพระฯ
ปิดทองหลังพระฯ จึงร่วมกับ พื้นที่ท�ำกนิ ของราษฎรกว่า ๑๔,๐๐๐ ด�ำเนินการในพื้นท่ี 7 หมู่บ้าน ๓
สถาบันการศึกษาและภาคธุรกิจ ไร่ ไม่มแี นวเขตท่ีชัดเจน จงั หวดั เพอ่ื คน้ หารปู แบบการพฒั นา
เอกชน สร้างการพัฒนารปู แบบใหม่ ราษฎร ๔ หมู่บ้านในต�ำบล ท่ีเหมาะสมร่วมกับทุกภาคส่วน
ในการประยุกต์ใช้แนวพระราชด�ำริ แกน่ มะกรดู มรี ายจา่ ยสงู กวา่ รายได้ ในพื้นที่ รวมทั้งพัฒนาการตลาด
เพื่อสร้างวสิ าหกจิ เพือ่ ชุมขน และมีหนี้สินรวมกันแล้วมากกว่า ผลผลิตทางการเกษตร และการน�ำ
๕๑.๕ ล้านบาท จากทรัพย์สิน ความรู้จากมหาวิทยาลัยในพ้ืนท่ีมา
๒๕๖๑ เกนิ จ�ำเป็น เชน่ รถไถ แก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตามความ
พฒั นาระบบนำ้� ครอบคลมุ พนื้ ท่ี ต้องการของราษฎร
การเกษตร ๙,๔๐๑ ไร่ มีผู้ได้รับ ๒๕๖๑
ประโยชน์ ๕๓๓ ครัวเรอื น รายได้ เพ่ิมพื้นท่ีรับประโยชน์จากน�้ำ ๒๕๖๑
ภาคการเกษตรจากการพฒั นาระบบ จาก ๕๐๐ ไร่ เป็น ๒,๘๔๗ ไร่ พื้นท่ีต้นแบบ 7 หมู่บ้านใน
นำ้� และสง่ เสรมิ อาชพี ท�ำใหค้ รวั เรอื น พัฒนาระบบน้�ำ สร้างฝาย ขุดสระ 3 จงั หวัด ได้รบั การพัฒนาระบบน�ำ้
มรี ายได้ ๒๗,๕๘๕,๔๙๕ บาท เพม่ิ ขนึ้ ต่อท่อส่งน�้ำ สร้างอาชีพทางการ เช่น ระบบน�ำ้ บาดาล การขดุ ลอกคู
จากปี ๒๕๕๘ ก่อนเริ่มโครงการ เกษตรใหม่ เช่น พืชเมืองหนาว คลองไสไ้ ก่ กอ่ สรา้ งฝาย ระบบสง่ นำ้�
๑,๙๐๖,๓๑๑ บาท หน้ีสินและ สตรอว์เบอร์รี ทุเรียน อะโวคาโด ด้วยทอ่ เป็นต้น
รายจ่ายลดลงหลายลา้ นบาท เงาะ ขนนุ มะยงชิด ลองกอง ฯลฯ หลังจากน้ันเป็นการพัฒนา
เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนการ ใหก้ บั เกษตรกร ๒๔๓ ครวั เรือน อาชีพเดิมและส่งเสริมอาชีพใหม่
ปลูกพืช เป็นพืชเศรษฐกิจมูลค่าสูง ประชากรมีรายได้ ๑๓๑,๕๔๒ ในพื้นท่ี โดยส่งเสริมพืชเกษตร
เชน่ ข้าวโพดหวาน พชื ผกั ตลอดปี บาท/ครัวเรือน/ปี ฟื้นฟูทรัพยากร และสัตว์เศรษฐกิจที่มีมูลค่าสูง
พืชหลังนา มะพร้าวน้�ำหอม และ ด้วยการปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น เพ่ิม เชน่ ผกั ในโรงเรอื น การผลิตทุเรยี น
ไก่พน้ื เมอื ง พื้นทีส่ เี ขยี วได้ ๒,๖๙๘ ไร่ เกิดปา่ เพื่อการส่งออก เลี้ยงแพะคุณภาพ
ชุมชนที่ข้นึ ทะเบียนแลว้ ๘,๖๒๐ ไร่ มะพร้าวพนั ธดุ์ ี เป็นตน้

10

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

บทสรุปผบู้ ริหาร ค่าเฉลี่ยความพงึ พอใจต่อผลที่เกดิ ขนึ้
ในพนื้ ท่ตี น้ แบบ ๕ จังหวดั
ผลการศึกษาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโครงการศึกษา
การรับรู้ ความพึงพอใจ และความคาดหวังต่อสถาบันส่งเสริมและ (จากคะแนนเต็ม ๓.๐๐)
พัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ ในพื้นที่
ต้นแบบ ๕ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี กาฬสินธุ์ อุทัยธานี อุทัยธานี นา่ น
น่าน และเพชรบุรี ซ่ึงด�ำเนินการในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ พบว่า ๒.๓๙ ๒.๒๔
ในพื้นท่ีต้นแบบทั้ง ๕ จังหวัด มีการเปล่ียนแปลงในทิศทางที่ดีขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทีเ่ ปน็ กลุ่มหวั ไวใจสู้ ย่ิงเห็นผลชัดเจน ท้ังในด้าน กาฬสินธุ์ อดุ รธานี
ผลผลิต รายได้ และความสุขของตนเองและครอบครวั ๒.๖๒ ๒.๕๓

ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจมากขน้ึ จากการไดร้ บั ความรู้ เพชรบุรี
ในการประกอบอาชีพ ท้ังการผลิต การแปรรูปและการท�ำบัญชี
การมีระบบน�้ำเพ่ือการเกษตร น้�ำด่ืมน้�ำใช้ การมีรายได้เพิ่มมากขึ้น ๒.๓๙
รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมดีข้ึน จากการมี
โครงการปิดทองหลังพระฯ ในพน้ื ที่ ความพงึ พอใจดา้ นเศรษฐกจิ

ในพื้นท่ีต้นแบบอุดรธานี การเปลี่ยนแปลงท่ีเห็นได้ชัด คือ อุทัยธานี นา่ น
การรวมกลุ่มเข้มแข็ง มีระบบระเบียบมากข้ึน ในพ้ืนท่ีต้นแบบ ๒.๓๓ ๒.๐๑
อุทัยธานี และน่าน กลุ่มมีความเข้มแข็งและมีแนวโน้มที่จะเติบโต
ขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่กลุ่มต่างๆ ในพ้ืนท่ีต้นแบบกาฬสินธุ์ก�ำลังเข้าสู่ กาฬสนิ ธ์ุ อดุ รธานี
ระบบสหกรณ์หนองเลิงเปือย ส่วนพ้ืนท่ีต้นแบบเพชรบุรี ชาวบ้าน ๒.๔๐ ๒.๓๐
เริ่มมคี วามหวังกับการพฒั นาและเขา้ ส่กู ารรวมกลมุ่
เพชรบุรี
เหน็ ไดว้ า่ ในพน้ื ทต่ี น้ แบบแกม้ ลงิ หนองเลงิ เปอื ย จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ
ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจมาก ในระดบั คะแนนทสี่ ูงทกุ ดา้ น ๒.๒๕
ทงั้ ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรมและสง่ิ แวดลอ้ ม ขณะทพี่ น้ื ทต่ี น้ แบบ
บา้ นโคกลา่ ม-แสงอรา่ ม จงั หวดั อดุ รธานี มคี วามพงึ พอใจมากดา้ นสงั คม ความพึงพอใจด้านสังคม
วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ขณะท่ีมีความพึงพอใจระดับปานกลาง
ดา้ นเศรษฐกจิ เชน่ เดยี วกบั พน้ื ทต่ี น้ แบบบา้ นโปง่ ลกึ -บางกลอย จงั หวดั อทุ ัยธานี นา่ น
เพชรบุรี และพืน้ ที่ต้นแบบตำ�บลแก่นมะกรูด จงั หวดั อทุ ัยธานี สำ�หรับ ๒.๓๓ ๒.๒๘
พื้นท่ีต้นแบบจังหวัดน่าน ผู้เข้าร่วมโครงการฯ พึงพอใจมากด้าน
สงิ่ แวดลอ้ ม และพงึ พอใจปานกลางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและวฒั นธรรม กาฬสินธ์ุ อดุ รธานี
๒.๔๐ ๒.๖๖
ผลการศึกษายังพบว่า ประชาชนในทุกพ้ืนท่ีรับรู้บทบาทหน้าท่ี
ของ “ปิดทองฯ” อย่างถูกต้อง ว่ามีบทบาทในการพัฒนา ส่งเสริม เพชรบุรี
สนับสนุน ประสานงาน เป็นพี่เลี้ยง เป็นท่ีปรึกษาและให้ความรู้ ๒.๒๕

★ = ๑.๐๐-๑.๖๖ พึงพอใจนอ้ ย ★★ = ๑.๖๗-๑.๓๓ พงึ พอใจปานกลาง ความพึงพอใจดา้ นวัฒนธรรม
★★★ = ๒.๓๔-๓.๐๐ พึงพอใจมาก
อุทัยธานี น่าน
๒.๓๗ ๒.๑๙

กาฬสินธ์ุ อุดรธานี
๒.๗๒ ๒.๗๐

เพชรบุรี
๒.๔๒

ความพงึ พอใจด้านส่งิ แวดลอ้ ม

อุทัยธานี นา่ น
๒.๔๔ ๒.๔๓

กาฬสินธ์ุ อดุ รธานี
๒.๗๐ ๒.๖๐

เพชรบรุ ี
๒.๔๒

11

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

ค่าเฉล่ียความพงึ พอใจ นอกจากน้ี ทัง้ ตวั แทนภาครฐั ผู้น�ำทอ้ งถิน่ ผู้น�ำความคดิ
ตอ่ การด�ำเนนิ งานของปดิ ทองหลังพระฯ และตัวแทนเกษตรกรในทุกพน้ื ที่ เห็นวา่ การด�ำเนินงาน
ในพน้ื ทตี่ ้นแบบ ๕ จงั หวดั (จากคะแนนเต็ม ๓.๐๐) ของปิดทองหลังพระฯ มีความชัดเจน เหมาะสม และ
มีจุดเด่นด้านความใกล้ชิดกับชาวบ้าน มีการติดตามผล
จงั หวัดนา่ น จังหวัดอุดรธานี อย่างต่อเนื่อง อยู่ในพ้ืนท่ีนานกว่าหน่วยงานอ่ืน มี
ค่าเฉลีย่ รวม ๒.๔๑ ค่าเฉลย่ี รวม ๒.๗๑ ข้อมูลช่วยสนับสนุนการท�ำงานของหน่วยงานราชการ
และสะทอ้ นความตอ้ งการของชาวบ้านมาสภู่ าครัฐได้
๒.๔๕ ๒.๔๑ ๒.๖๙ ๒.๖๙
๒.๔๕ ๒.๓๓ ๒.๗๘ ๒.๖๖ ทั้งน้ี รายงานผลการพัฒนาประจ�ำปีงบประมาณ
๒๕๖๐ ท่ีจัดท�ำโดยสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม
จงั หวัดเพชรบรุ ี จังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชด�ำริ สอดคล้อง
คา่ เฉลีย่ รวม ๒.๖๔ คา่ เฉลย่ี รวม ๒.๗๔ กับการส�ำรวจข้อมูลเศรษฐกิจ สังคม และการรายงาน
ผลการพัฒนาประจ�ำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ของสถาบัน
๒.๗๓ ๒.๖๑ ๒.๗๘ ๒.๗๗ สง่ เสริมและพัฒนากจิ กรรมปดิ ทองหลังพระ สืบสานแนว
๒.๖๗ ๒.๕๖ ๒.๗๗ ๒.๖๔ พระราชด�ำริ ท่ีพบว่า ประชาชนในพน้ื ทต่ี น้ แบบ มรี ายได้
เพิ่มมากข้ึน จากการพัฒนาอาชีพด้านการเกษตร ทั้ง
จงั หวัดอุทัยธานี พืช ปศุสัตว์และประมง ที่สอดคล้องกับความต้องการ
ค่าเฉลย่ี รวม ๒.๔๕ ของตลาด และมีการพัฒนาคุณภาพของผลผลิต ให้ได้
รับมาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี หรือ จีเอพี
๒.๔๔ ๒.๔๘ และมาตรฐาน อย. เปน็ ต้น

๒.๔๖ ๒.๔๔ ชุมชนสามารถบริหารจัดการน้�ำและป่าให้ได้ใช้
ประโยชน์ตลอดปี ต้ังแต่ น�้ำต้นทุน ระบบส่งน�้ำ ระบบ
การท�ำงานของเจ้าหนา้ ทโี่ ครงการปดิ ทองหลงั พระฯ จัดการน�้ำภายในแปลง และท�ำกิจกรรมการเกษตร
การแก้ปัญหาหรอื ตอบข้อสงสัยของ เชิงพาณิชย์ได้ในหลายพ้ืนท่ี จากการมีตลาดท่ีแน่นอน
เจา้ หนา้ ท่ีโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ เช่น ห้างสะดวกซ้ือขนาดใหญ่ในพ้ืนที่ โรงพยาบาล
การประสานหน่วยงานตา่ ง ๆ เข้ามาในพืน้ ท่ี ตลาดในชุมชน เปน็ ต้น
ข้อมูลขา่ วสารเกีย่ วกับโครงการปดิ ทองหลังพระฯ
ขณะท่ีสามารถรวมกลุ่ม บริหารจัดการตนเองได้ใน
ลักษณะกลุ่มการผลิตและกองทุน ท่ีมีกฎระเบียบ มีการ
บริหารจัดการเงินของกลุ่มอย่างโปร่งใส เป็นธรรม ผ่าน
การตรวจสอบของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ เป็นประจ�ำ
ทุกไตรมาส และสามารถเช่ือมโยงกับหน่วยงานภายนอก
เช่น สถาบันการศึกษา ธุรกิจเอกชน หน่วยงานภาครัฐ
เพ่ือสร้างมาตรฐานการผลิต การแปรรูป การปรับปรุง
บรรจุภัณฑแ์ ละการตลาด เปน็ ตน้

12

โครงการต้นแบบ

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลังพระ สนื สานแนวพระราชดำ�ริ

โครงการพื้นที่ต้นแบบบูรณาการแก้ไขปัญหา
และพัฒนาพื้นที่จังหวัดน่านตามแนวพระราชดำ�ริ

ค่าเฉล่ียความพงึ พอใจต่อผลทเ่ี กดิ ข้ึน ๒.๒๔ (จากคะแนนเต็ม ๓.๐๐)

๒.๐๑ ๒.๒๘ ๒.๑๙ ๒.๔๓

★★ ★★★ ★★ ★★★
ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ นสงั คม ด้านวัฒนธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม

★ = ๑.๐๐-๑.๖๖ พึงพอใจน้อย ★★ = ๑.๖๗-๑.๓๓ พึงพอใจปานกลาง
★★★ = ๒.๓๔-๓.๐๐ พึงพอใจมาก

ค่าเฉล่ียความพึงพอใจต่อการดำ� เนนิ งานของปดิ ทองหลงั พระฯ ๒.๔๑
(จากคะแนนเตม็ ๓.๐๐)

๒.๔๕ ๒.๔๑ การท�ำงานของเจา้ หน้าท่ีโครงการปดิ ทองหลังพระฯ
๒.๔๕ ๒.๓๓ การแก้ปญั หาหรือตอบข้อสงสยั ของ
เจา้ หน้าท่ีโครงการปดิ ทองหลงั พระฯ
การประสานหน่วยงานตา่ งๆ เขา้ มาในพื้นที่
ข้อมลู ข่าวสารเกีย่ วกบั โครงการปดิ ทองหลังพระฯ

14

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลงั พระ สืนสานแนวพระราชดำ�ริ

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานพระราชด�ำริ เร่ิมด�ำเนินงานพัฒนาในพื้นที่ต้นแบบ
๒๐ หมู่บ้าน ๓ อ�ำเภอของจังหวดั นา่ น เม่อื ปี ๒๕๕๓ ได้สร้างความเปลี่ยนแปลงในทกุ ๆ ด้าน ให้เกิดขึน้ ในพื้นทหี่ มบู่ า้ น
บ้านห้วยธนู บ้านน�้ำป้าก ต�ำบลตาลชุม และบ้านห้วยม่วง ต�ำบลศรีภูมิ อ�ำเภอทา่ วังผา บา้ นยอด บ้านผาหลัก บา้ นน�ำ้ เกาะ
ต�ำบลยอด อ�ำเภอสองแคว และอกี ๑๔ หมู่บ้านในต�ำบลขนุ นา่ น อ�ำเภอเฉลิมพระเกยี รติ รวม ๑,๙๔๖ ครัวเรอื น

พ้ืนท่ีต้นแบบ ๓ หมู่บ้าน อ�ำเภอท่าวังผา

พนื้ ทรี่ บั ประโยชนจ์ ากนำ้� ผลผลติ ขา้ วเฉลย่ี ตอ่ ไร่ รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น ครวั เรอื นทมี่ รี ายไดผ้ า่ นเกณฑ์

ปี ๒๕๕๓ (๑๙๙ ไร)่ ปี ๒๕๕๓ (๔๗๐ กิโลกรมั /ไร)่ ปี ๒๕๕๓ (๘๓,๓๐๗ บาท) ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี
ปี ๒๕๖๐ (๑,๙๓๗ ไร)่ ปี ๒๕๖๐ (๕๙๐ กโิ ลกรมั /ไร่) ปี ๒๕๖๐ (๒๐๗,๘๖๗ บาท) ๑๒๑ ครัวเรือน

เพม่ิ ขนึ้ ๘๗๓% เพมิ่ ขน้ึ ๒๖% เพม่ิ ขน้ึ ๑๔๙% เพมิ่ ขนึ้ ๔๘%

พ้ืนท่ีต้นแบบ ๓ หมู่บ้าน อ�ำเภอสองแคว

พนื้ ทร่ี บั ประโยชนจ์ ากนำ้� ผลผลติ ขา้ วเฉลยี่ ตอ่ ไร่ รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น ครวั เรอื นทมี่ รี ายไดผ้ า่ นเกณฑ์

ปี ๒๕๕๓ (๖๘๙ ไร่) ปี ๒๕๕๓ (๔๒๐ กโิ ลกรมั /ไร)่ ปี ๒๕๕๓ (๔๑,๐๙๑ บาท) ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี
ปี ๒๕๖๐ (๒,๖๐๗ ไร)่ ปี ๒๕๖๐ (๖๕๐ กิโลกรัม/ไร่) ปี ๒๕๖๐ (๑๘๐,๘๔๕ บาท) ๑๐๘ ครวั เรอื น

เพม่ิ ขน้ึ ๒๗๘% เพม่ิ ขน้ึ ๕๕% เพมิ่ ขนึ้ ๓๔๐% เพม่ิ ขน้ึ ๓๒%

พ้ืนที่ต้นแบบ ๒๐ หมู่บ้าน อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

พน้ื ทรี่ บั ประโยชนจ์ ากนำ้� ผลผลติ ขา้ วเฉลย่ี ตอ่ ไร่ รายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ ครวั เรอื น ครวั เรอื นทมี่ รี ายไดผ้ า่ นเกณฑ์

ปี ๒๕๕๓ (๑,๑๒๔ ไร่) ปี ๒๕๕๓ (๑๗๐ กโิ ลกรมั /ไร่) ปี ๒๕๕๓ (๕๓,๐๒๘ บาท) ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ปี
ปี ๒๕๖๐ (๗,๐๗๖ ไร)่ ปี ๒๕๖๐ (๓๙๐ กโิ ลกรมั /ไร)่ ปี ๒๕๖๐ (๑๕๕,๗๕๗ บาท) ๗๓๐ ครัวเรือน

เพมิ่ ขนึ้ ๖๒๙% เพมิ่ ขน้ึ ๑๒๙% เพมิ่ ขนึ้ ๑๙๓% เพมิ่ ขนึ้ ๕๔%

15

รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลสรปุ การดำ�เนนิ งาน
ของพนื้ ท่ีตน้ แบบจังหวัดนา่ น

อ�ำเภอท่าวังผา

การศึกษาการรับรู้ ความพึงพอใจ และความคาดหวัง ข้าวก�่ำลืมผัว ข้าวไร่
ต่อสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ (ข้าวไร่) พันธ์ุพ้ืนเมือง
สืบสานแนวพระราชด�ำริ โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พบว่าในพื้นท่ีต้นแบบน่าน เห็นการเปลี่ยนแปลงท่ีชัดเจน เกษตรกร ๕๕ ราย เกษตรกร ๒๔ ราย
ในเรื่องสภาพแวดล้อมท่ีดีขึ้น ป่าและน้�ำสมบูรณ์ข้ึน การ พ้ืนท่ี ๑๓๑ ไร่
เปลยี่ นแปลงดา้ นอนื่ ๆ มแี นวโนม้ ดขี น้ึ โดยเฉพาะผลผลติ และ พ้ืนท่ี ๓๐๗ ไร่
รายได้จากการท�ำนาข้าวและพืชผักสวนครัว โดยเฉพาะ ข้าวนา
มะนาว
เกษตรกร ๘๕ ราย
ประเด็นที่ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจมาก พ้ืนที่ ๒๐๘ ไร่
คือ ทรัพยากรธรรมชาติ/สภาพแวดล้อม น้�ำด่ืมน�้ำใช้
การดูแลหรือความช่วยเหลือจากภาครัฐ และน�้ำใจไมตรี อ�ำเภอสองแคว
ของคนในหมู่บ้าน ประเด็นท่ีมีความพึงพอใจปานกลาง
ค่อนขา้ งมาก คอื ความรูใ้ นการประกอบอาชีพ ความสขุ ของ การปลูกข้าวลดต้นทุน และการผลิตเพื่อ
ตนเองและครอบครัว และนำ้� ส�ำหรบั เกษตร จ�ำหน่ายเป็นเมลด็ พันธุ์

ท้ังนี้ ความรู้ท่ีได้รับ คือ ความรู้ในการท�ำเกษตร เกษตรกร
เช่น การปรับปรุงบ�ำรุงดิน การปลูกพืชผัก การท�ำเกษตร ๓๐ ราย
ผสมผสาน การท�ำนาข้ันบันได การจัดการหน้าดินบน
พ้ืนที่สูงให้เกิดประโยชน์ ฯลฯ และความรู้ในการจัดการน้�ำ จ�ำนวนพ้ืนที่
จากแหล่งน้�ำ ๑๐๖ ไร่ ๑ งาน

ขณะที่รายงานผลการพัฒนาของสถาบันฯ ระบุว่า
จนถึงปี ๒๕๖๑ ชุมชนในพื้นที่ต้นแบบสามารถรวม
กลุ่ม/กองทุนพ่ึงพากันเองได้ มีผู้เข้าร่วมกลุ่ม/กองทุน
จ�ำ น ว น ม า ก ก ลุ ่ ม แ ล ะ ก อ ง ทุ น ที่ เ กิ ด ข้ึ น ส า ม า ร ถ
เชื่อมโยงกับตลาด ทั้งด้านปริมาณ คุณภาพและราคา
รวมท้ังสามารถเชื่อมโยงความรู้ เทคโนโลยี แหล่งทุน
และประสานงานกับหน่วยงานท่เี กยี่ วขอ้ งไดเ้ อง

16

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ปิดทองหลงั พระ สนื สานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลสรุปการด�ำ เนนิ งานของพน้ื ท่ีต้นแบบจังหวัดนา่ น

อ�ำเภอเฉลิมพระเกยี รติ กลว้ ยนำ้� วา้ มะละกอฮอลแลนด์

ขา้ วโพด เกษตรกร ๓๕๘ ราย เกษตรกร ๙ ราย

เกษตรกร ๓๔ ราย รายได้ ๒๐๕,๙๙๕ บาท

รายได้ ๕๖๗,๕๙๒ บาท

ฟกั ทอง/ฟกั เขยี ว การผลติ ขา้ ว พชื หลงั นา ไมไ้ ผร่ วก
แบบเขม้ ขน้
เกษตรกร ๙๑ ราย เกษตรกร รวม ๙๒๔ ราย เกษตรกร ๗๐ ราย
เกษตรกร ๒๙ ราย
รายได้ ๑๙๒,๔๗๙ บาท รายไดร้ วม ๔,๒๓๗,๙๗๕ บาท รายได้ ๓๘,๕๐๐ บาท
พน้ื ที่ ๗๖ ไร่ ๒ งาน
งา/ลกู เดอื ย
ผกั กาดเขยี ว พรกิ ซปุ เปอรฮ์ อต
เกษตรกร ๗๕ ราย
เกษตรกร ๕ ราย เกษตรกร ๒๕ ราย รายได้ - บาท

รายได้ ๑๐๐,๙๖๕ บาท รายได้ ๑๓๐,๒๑๗ บาท ถวั่ ฝกั ยาว

ยาสบู เกษตรกร ๙ ราย

เกษตรกร ๓ ราย รายได้ ๔๕,๕๕๘ บาท

หอม/กระเทยี ม รายได้ ๒๓๖,๗๗๕ บาท
สม้ สที อง
เกษตรกร ๑๐๐ ราย
รายได้ เกษตรกร ๔ ราย

๑๖๔,๒๕๐ บาท รายได้ ๒๓๑,๘๐๐ บาท

มะแขวน่ พรกิ ใหญ่ มะนาว

เกษตรกร ๕ ราย เกษตรกร ๔๐ ราย เกษตรกร ๙๖ ราย

รายได้ ๑๒,๐๙๓ บาท รายได้ ๗๓๒,๙๒๒ บาท รายได้ ๑,๕๗๘,๘๒๙ บาท

อ�ำเภอท่าวังผา

๒๔๑ ครวั เรอื น จาก ๒๕๐ ครวั เรอื น คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๖ เงนิ ทนุ หมุนเวยี นรวม ๒,๓๘๖,๐๑๐ บาท

กองทนุ เมลด็ พนั ธ์ุ กลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ�้ กองทนุ สกุ ร กองทนุ เปด็ ไข่ กองทนุ ยาและเวชภณั ฑ์ กองทนุ อาหารสตั ว์

๑๐๘ ครวั เรอื น ๗๑ ครวั เรอื น ๓๙ ครวั เรอื น ๑๔ ครวั เรอื น ๓๙ ครวั เรอื น ๓๙ ครวั เรอื น

กองทนุ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ กองทนุ โรงสขี า้ ว กองทนุ แหยง่ ยงุ้ ฉาง ลานตาก บอ่ หมกั กาแฟ/
เครอ่ื งสกี าแฟ ยงุ้ ฉาง ๑๐๒ หลงั
๘ ครวั เรอื น ๖๘ ครวั เรอื น ๒๑ ครวั เรอื น ลานตาก ๙ แหง่
บอ่ หมกั กาแฟ ๔๘ บอ่
เครอ่ื งสกี าแฟ ๑๑ เครอ่ื ง

17

รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๑
ปดิ ทองหลังพระ สืนสานแนวพระราชด�ำ ริ

ผลสรุปการด�ำ เนินงานของพน้ื ท่ตี ้นแบบจังหวดั น่าน

อ�ำเภอสองแคว

๒๓๖ ครวั เรอื น จาก ๓๔๒ ครัวเรือน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๖๙ เงนิ ทนุ หมนุ เวยี นรวม ๒,๐๑๓,๒๓๘ บาท

กองทนุ เมลด็ พนั ธ์ุ กลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ้� วสิ าหกจิ ชมุ ชนผลติ มะนาว กองทนุ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ กองทนุ อาหารสตั ว์
และกองทนุ ยาเวชภณั ฑ์
๔๘ ครวั เรอื น ๗๑ ครวั เรอื น ๙๖ ครวั เรอื น ๑๓ ครวั เรอื น
๕ ครวั เรอื น
กองทนุ โรงสขี า้ ว กองทนุ แปรรปู
(บา้ นนำ�้ เกาะ) นำ้� พรกิ มะแขวน่ ยงุ้ ฉาง ลานตาก บอ่ หมกั กาแฟ/เครอื่ งสกี าแฟ
ยงุ้ ฉาง ๑๐๒ หลงั
๓๔ ครวั เรอื น ๓๐ ครวั เรอื น ลานตาก ๙ แหง่
บอ่ หมกั กาแฟ ๔๘ บอ่
เครอ่ื งสกี าแฟ ๑๑ เครอ่ื ง

อ�ำเภอเฉลิมพระเกียรติ

๑,๒๔๘ ครวั เรอื น จาก ๑,๓๕๔ ครวั เรอื น คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๒ เงินทนุ หมุนเวยี นรวม ๘๖๐,๓๑๕ บาท

กลมุ่ ผใู้ ชน้ ำ�้ กลมุ่ กลว้ ยกรอบ กองทนุ ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ กองทนุ เครอื่ งบดขา้ วโพด กองทนุ ไมก้ วาด
บา้ นนำ้� ชา้ ง
๕๕๐ ครวั เรอื น ๓๐ ครวั เรอื น ๔๘ ครวั เรอื น ๓๑ ครวั เรอื น
๑๕ ครวั เรอื น
กองทนุ โรงสขี า้ ว
ยุ้งฉาง ลานตาก บอ่ หมกั กาแฟ เครอื่ งสกี าแฟ
๑๔๗ ครวั เรอื น เคร่ืองสลี กู เดอื ย ยุ้งฉาง ๔๗๖ หลัง
ลานตาก ๒๕ แห่ง
บ่อหมกั กาแฟ ๘๓๒ บ่อ
เครื่องสกี าแฟ ๑๗๙ เคร่อื ง
เครือ่ งสลี กู เดอื ย ๓ เครอื่ ง

ประเดน็ ทผี่ เู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ มคี วามพงึ พอใจมาก คอื ทรพั ยากรธรรมชาต/ิ สภาพแวดลอ้ มจากผลการดำ�เนนิ การ
ปลกู ปา่ ทง้ั ปา่ อนรุ กั ษ์ ปา่ ใชส้ อย ปา่ เศรษฐกจิ และลดพน้ื ทท่ี �ำ กนิ ท�ำ ให้เพ่มิ พนื้ ท่ปี า่ ไดร้ วม ๒๕๐,๐๐๐ ไร่

อำเภอทา วงั ผา ๓๔,๓๑๔ ไร
อำเภอสองแคว ๔๔,๔๐๘ ไร
อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ
๑๗๑,๒๗๘ ไร

18






























































Click to View FlipBook Version