วิธีปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practices)
๑. ชอ่ื ผลงาน การจดั การเรียนการสอนเนน้ กระบวนการคิดและปฏบิ ัตจิ ริงทสี่ ่งเสรมิ ด้านคุณธรรม
(K-M CLEAN)
๒. ช่ือเจา้ ของผลงาน นางสาวอณภุ า แจ่มศรี นางสาวธนพร ศรีเจ๊ก
โรงเรยี นนิรมลชมุ พร อำเภอเมอื ง จังหวัดชุมพร รหัสไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐
โทรศัพท์ ๐๗๗-๕๐๒๑๔๕ E-mail [email protected]
สังกดั สำนักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
๓. สอดคล้องกับหวั ขอ้ ต่อไปนี้ (ทำเครือ่ งหมาย ✓ ใน ☐ ทีส่ อดคลอ้ ง)
☐ การพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษาปฐมวยั
☑ การจัดการเรียนรู้/การประเมนิ ผล
☐ การแก้ไขปัญหาผเู้ รยี น
☐ อื่น ๆ ระบุ ......................................................................
๔. หลกั การเหตผุ ล/ความเป็นมา
การจัดการเรียนการสอนตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ การจัดการ
ศึกษาตองยึดหลักการผู้เรียนทุกคนมความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้และถือวาผู้เรียนมีความสำคัญ
ทส่ี ุด กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งสงเสริมให้ผเู้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ
การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ คือ วิธีการที่สามารถสร้างและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิด
คุณลักษณะต่าง ๆ ที่ต้องการในยุคโลกาภิวัตน์ เนื่องจากเป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ความสำคัญกับ
ผู้เรียน ส่งเสริมให้ผู้เรียนรู้จักเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนในเรื่องท่ีสอดคล้องกับความสามารถและความต้องการ
ของตนเอง และได้พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ ซึ่งแนวคิดการจัดการศกึ ษานี้เป็นแนวคดิ ท่ีมีรากฐาน
จากปรัชญาการศึกษาและทฤษฎีการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องยาวนาน และเป็นแนวทางท่ี
ไดร้ บั การพิสจู นว์ า่ สามารถพฒั นาผเู้ รียนใหม้ คี ณุ ลักษณะตามต้องการอยา่ งได้ผล (วัฒนาพร ระงับทุกข์. ๒๕๔๒)
โดยส่งเสริมความคิดของผู้เรียนและอำนวยความสะดวกให้เขาได้พัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ การ
จัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ที่มีลักษณะแตกต่าง
จากการจัดกระบวนการเรยี นรู้ แบบดงั้ เดิมทว่ั ไป
จากหลักการและท่ีมาดังกล่าว โรงเรียนนริ มลชุมพร ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน จึงเลง็ เห็นความสำคัญ
ของครใู นยุคโลกาภวิ ัฒน์ คอื ครจู ะต้องพฒั นาแบบก้าวกระโดดให้ทันโลกยคุ ใหม่ นวัตกรรมจงึ เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีครู
จะต้องพัฒนาตนเองในด้านเทคโนโลยี เพื่อนำไปพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และเข้าใจในบทเรียนมากย่ิงขึ้นและ
ครูต้องทำหน้าที่เป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียนให้พัฒนาตนเองให้ได้เต็มศักยภาพ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้
ตลอดชีวิตตามความสนใจ ความถนัดของผู้เรียน มีโอกาสได้ฝึกทักษะการคิด การแสดงออก การเผชิญ
สถานการณ์ต่าง ๆ ดังนั้นโรงเรียนนิรมลชุมพรจึงได้มีการพัฒนาครูให้มีเทคนิคการจัดการเรียนการสอน การ
ถา่ ยทอดความรใู้ ห้แก่นักเรยี น เพอ่ื ให้นักเรียนนำมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพต่อไป
๕. วตั ถุประสงค์
๕.๑. เพือ่ ให้นกั เรียนเกิดกระบวนการคดิ และสามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้จรงิ
๕.๒. เพอ่ื ใหน้ กั เรียนเกิดคณุ ธรรม
๖. แนวคดิ และทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง
Active Learning จึงเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา
(Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
หรือสร้างความรใู้ ห้เกดิ ขึน้ ในตนเอง ดว้ ยการลงมอื ปฏิบัตจิ รงิ ผา่ นส่อื หรอื กิจกรรมการเรียนรู้ ทม่ี ีครูผูส้ อนเป็นผู้
แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ
ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้
เป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใชใ้ นสถานการณอ์ ืน่ ๆได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ (สถาพร พฤฑฒกิ ลุ , ๒๕๕๘
ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นดังนี้ (ไชยยศ เรืองสุวรรณ
, ๒๕๕๓)
๑. เป็นการเรยี นการสอนท่ีพฒั นาศกั ยภาพทางสมอง ไดแ้ ก่ การคดิ การแก้ปัญหา และการนำความรู้
ไปประยกุ ต์ใช้
๒. เปน็ การเรยี นการสอนที่เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ รียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้สงู สดุ
๓. ผเู้ รยี นสรา้ งองค์ความรูแ้ ละจัดกระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
๔. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรยี นการสอนท้ังในด้านการสร้างองคค์ วามรู้ การสร้างปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
รว่ มมอื กันมากกว่าการแข่งขนั
๕. ผู้เรยี นเรยี นรู้ความรับผดิ ชอบร่วมกนั การมีวนิ ยั ในการทํางาน และการแบ่งหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
๖. เป็นกระบวนการสรา้ งสถานการณ์ใหผ้ ู้เรียนอ่าน พูด ฟัง คิดอย่างลุ่มลึก ผู้เรียนจะเปน็ ผูจ้ ัดระบบ
การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
๗. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน้ ทักษะการคิดข้ันสงู
๘. เป็นกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูลข่าวสาร หรือสารสนเทศ และหลักการ
ความคดิ รวบยอด
๙. ผสู้ อนจะเปน็ ผอู้ ำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นเปน็ ผ้ปู ฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง
๑๐.ความรเู้ กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรุปทบทวนของผูเ้ รยี น
เทคนคิ การจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning
การจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning สามารถสร้างใหเ้ กดิ ขึน้ ไดท้ ัง้ ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน
รวมทง้ั สามารถใช้ได้กับนักเรยี นทุกระดับ ท้ังการเรียนรูเ้ ปน็ รายบุคคล การเรยี นรแู้ บบกลมุ่ เล็ก และการเรียนรู้
แบบกลุ่มใหญ่ McKinney (๒๐๐๘) ได้เสนอตัวอย่างรูปแบบหรือเทคนิค การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะช่วย
ให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้แบบ Active Learning ไดด้ ี ไดแ้ ก่
๑. การเรียนรู้แบบแลกเปลี่ยนความคิด (Think-Pair-Share) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้
ผเู้ รียนคิดเก่ียวกับประเด็นที่กำหนดแตล่ ะคน ประมาณ ๒-๓ นาที (Think) จากนนั้ ให้แลกเปลี่ยน
ความคิดกบั เพือ่ นอีกคน ๓-๕ นาที (Pair) และนำเสนอความคดิ เหน็ ต่อผเู้ รียนท้งั หมด (Share)
๒. การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative learning group) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ใี ห้
ผเู้ รยี นได้ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่น โดยจัดเป็นกล่มุ ๆ ละ ๓-๖ คน
๓. การเรียนรู้แบบทบทวนโดยผูเ้ รียน (Student-led review sessions) คือการจัดกิจกรรมการ
เรยี นร้ทู ่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดท้ บทวนความรู้และพิจารณาข้อสงสยั ตา่ ง ๆ ในการปฏิบัติกิจกรรม
การเรยี นรู้ โดยครจู ะคอยชว่ ยเหลอื กรณีทมี่ ีปญั หา
๔. การเรียนรู้แบบใช้เกม (Games) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้สอนนำเกมเข้าบูรณาการใน
การเรียนการสอน ซ่งึ ใช้ไดท้ ้งั ในขัน้ การนำเข้าสู่บทเรียน การสอน การมอบหมายงาน และหรอื ขั้น
การประเมินผล
๕. การเรียนรู้แบบวิเคราะห์วีดีโอ (Analysis or reactions to videos) คือการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ดูวีดีโอ ๕-๒๐ นาที แล้วให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น หรือสะท้อนความคิด
เกย่ี วกับสิ่งที่ไดด้ ู อาจโดยวธิ ีการพดู โตต้ อบกัน การเขยี น หรอื การร่วมกันสรุปเป็นรายกลมุ่
๖. การเรียนรู้แบบโต้วาที (Student debates) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนได้
นำเสนอขอ้ มูลทไี่ ด้จากประสบการณ์และการเรียนรู้ เพอ่ื ยืนยันแนวคิดของตนเองหรือกลุ่ม
๗. การเรียนรู้แบบผู้เรียนสร้างแบบทดสอบ (Student generated exam questions) คือการ
จดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ใี่ หผ้ ้เู รียนสร้างแบบทดสอบจากสิ่งท่ีไดเ้ รียนรู้มาแล้ว
๘. การเรียนรู้แบบกระบวนการวิจัย (Mini-research proposals or project) คือการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่อิงกระบวนการวิจัย โดยให้ผู้เรียนกำหนดหัวข้อที่ต้องการเรียนรู้ วาง
แผนการเรยี น เรียนรู้ตามแผน สรปุ ความรหู้ รอื สร้างผลงาน และสะท้อนความคดิ ในส่ิงท่ีได้เรียนรู้
หรืออาจเรียกว่าการสอนแบบโครงงาน(project-based learning) หรือ การสอนแบบใช้ปัญหา
เปน็ ฐาน(problem-based learning)
๙. การเรยี นรู้แบบกรณศี กึ ษา (Analyze case studies) คอื การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีให้ผู้เรียน
ได้อ่านกรณีตวั อยา่ งที่ต้องการศึกษา จากนั้นให้ผู้เรียนวเิ คราะห์และแลกเปล่ียนความคิดเห็นหรอื
แนวทางแกป้ ัญหาภายในกลุ่ม แลว้ นำเสนอความคิดเหน็ ตอ่ ผู้เรียนทัง้ หมด
๑๐.การเรียนรู้แบบการเขียนบันทกึ (Keeping journals or logs) คือการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี
ผู้เรียนจดบันทึกเรื่องราวต่าง ๆ ที่ได้พบเห็น หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน รวมทั้งเสนอ
ความคดิ เพมิ่ เตมิ เกย่ี วกับบนั ทึกทเี่ ขยี น
๑๑.การเรียนรู้แบบการเขียนจดหมายข่าว (Write and produce a newsletter) คือการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนร่วมกันผลิตจดหมายข่าว อันประกอบด้วย บทความ ข้อมูล
สารสนเทศ ขา่ วสาร และเหตุการณ์ที่เกิดขนึ้ แลว้ แจกจา่ ยไปยังบคุ คลอน่ื ๆ
๑๒.การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept mapping) คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้
ผู้เรียนออกแบบแผนผังความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด และความเชื่อมโยงกันของกรอบ
ความคิด โดยการใช้เส้นเป็นตัวเชื่อมโยง อาจจัดทำเป็นรายบุคคลหรืองานกลุ่ม แล้วนำเสนอ
ผลงานตอ่ ผู้เรียนอ่นื ๆ จากนั้นเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นคนอ่นื ไดซ้ ักถามและแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม
๗. การดำเนนิ งาน/กระบวนการ/วธิ ีปฎบิ ัติ
ทางโรงเรียนได้กำหนดการดำเนนิ งาน ตามหลักการ K-M CLEAN ดังน้ี
K = Knowledge คือ ความรู้ สารสนเทศที่นำไปสู่การปฏิบัติ เป็นเนื้อหาข้อมูล ซึ่งประกอบไปด้วย
ขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ คดิ เห็น หลักการ รปู แบบ กรอบแนวคิด เกยี่ วกับการจดั การเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้
ตามรายวิชาทเี่ นน้ กระบวนการคดิ และปฏบิ ตั จิ รงิ ตามเน้ือหาสาระวชิ าตา่ ง ๆ อาทิเชน่ การเรยี นรใู้ นเนื้อหาวชิ า
วิทยาศาสตร์นักเรียนจะได้ทราบถึงกฎ ทฤษฎี รวมถึงการลงมือปฏิบัติ การฝึกสนทนาในวิชาภาษาอังกฤษ
นักเรียนสามารถนำไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ เปน็ ตน้
M = Moral คือ คุณธรรม เป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งแต่ละกิจกรรมจะปลูกฝัง
คุณธรรมให้กับนักเรียนอันเป็นพื้นฐานสำคัญ เพื่อให้การสอดแทรกโดยใช้สื่อการเรียนรู้ ซึ่งทางกลุ่มผู้สอนได้
ร่วมกันคัดเลือกสื่อการเรียนรู้ที่มีเนื้อหาสอดคล้อง กับรายวิชาและสามารถสร้างจิตสำนึกหรือปลุกเร้าให้กับ
ผูเ้ รยี นไดซ้ ึมซบั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดงั ตัวอย่างคุณธรรมพน้ื ฐาน ๘ ประการ
๑. ขยัน คือ ผทู้ ี่มีความต้งั ใจเพียรพยายามทำหนา้ ทก่ี ารงานอยา่ งจรงิ จงั และต่อเน่อื ง
๒. ประหยัด คือ ผู้ที่ดำเนินชีวิตความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย รู้จักฐานะทางการเงินของตน คิด
ก่อนใช้ คิดก่อนซ้ือ
๓. ซ่ือสัตย์ คือ ผทู้ มี่ คี วามประพฤตติ รงทัง้ ตอ่ เวลา ต่อหนา้ ที่ และต่อวชิ าชีพ
๔. มวี นิ ยั คือ ผู้ทปี่ ฏิบตั ิตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถานศึกษา สถาบนั องคก์ ร และ
๕. สุภาพ คือ คือ ผู้ที่มีความอ่อนน้อมถ่อมตน ตามสถานภาพ และกาลเทศะมีสัมมาคารวะ
เรียบร้อย
๖. สะอาด คอื ผทู้ ีร่ ักษารา่ งกาย ท่อี ยอู่ าศยั และสิ่งแวดล้อมไดอ้ ยา่ งถกู ต้องตามสขุ ลกั ษณะ
๗. สามัคคี คือ ผู้ที่เปิดใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รู้บทบาทของตน ทั้งในฐานะผู้นำ
และผตู้ ามท่ดี ี
๘. มีน้ำใจ คือ ผู้ให้และผู้อาสาช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละความสุขส่วนตน เพื่อทำ
ประโยชนใ์ หแ้ ก่ผู้อืน่
C = Coordination คือ ความร่วมมือ โดยครูทุกกลุ่มสาระร่วมกันจัดการเรียนการสอนเน้น
กระบวนการคดิ และปฏิบัติจริงเพื่อสง่ เสริมด้านคุณธรรมในการจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ นำไปสู่การพัฒนา
ผูเ้ รียน ใหป้ รากฏผลเปน็ รปู ธรรม
L = Learning คือ การเรียนรู้ กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนแบบบูรณาการ ๘
กลุ่มสาระ สามารถสร้างให้เกิดขึ้นได้ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน รวมทั้งสามารถใช้ได้กับนักเรียนทุก
ระดับ ทั้งการเรียนรเู้ ปน็ รายบุคคลและรายกลมุ่ เพ่ือช่วยใหผ้ เู้ รยี นสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรอื สร้างความรู้ให้
เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น
หรืออำนวยความสะดวก
E = Environment คือ สงิ่ แวดลอ้ ม การจัดใหม้ สี ภาพแวดล้อมท่ีน่าดู นา่ อยู่ นา่ เรียน ไม่มีพื้นที่เส่ียง
มีแหล่งเรียนรู้ทางวิชาการ เช่น จัดบอร์ด จัดทำสื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วารสาร จดหมายข่าว ที่มีความรู้เกี่ยวกับ
เน้ือหาใน ๘ กลุ่มสาระ
A = Activity คือ กิจกรรม ส่งเสริมเชิงสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมให้
นักเรียนได้เรียนรู้หรือมีคุณธรรมผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละรายวิชา โดยผู้เรียนได้เรียนรู้จากการลงมือ
กระทำและปฏิบัติจริง ซึ่งมีครูเป็นผู้ให้การแนะนำ สั่งสอน ฝึกฝนอบรม ตัวอย่างเช่น การสร้างกิจกรรมการ
สร้างบทบาทสมมติ การสร้างกิจกรรมโดยการทดลอง การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นการเน้นสื่อกรสอนที่ใช้
เทคโนโลยี เป็นตน้
N = Network คือ การสร้างภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ให้ความร่วมมือ และมีส่วนร่วม เช่น สถานศึกษา
ใกล้เคียง หน่วยงานราชการต่าง ๆ อาทิเช่น การมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการส่งเสริมการเรียนรู้ทาง
พระพุทธศาสนา เจา้ หน้าท่ตี ำรวจมาใหค้ วามรู้เกี่ยวกับกฎหมาย เจ้าหน้าท่สี าธารณสุขมาใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกับการ
ดูแลสขุ ภาพแก่นกั เรยี นในโรงเรียน เป็นตน้
รูปแบบ K -M – CLEAN โรงเรียนนิรมลชมุ พร
K M
Knowledge คอื ความรู้ Moral คือ คุณธรรม
C
Coordination
คือ ความรว่ มมือ
N L
Network Learning
คือ การสรา้ งภาคเี ครอื ข่าย คือ การเรียนรู้
A E
Activity Environment
คือ กจิ กรรม คือ สิง่ แวดล้อม
๘. แผนการดำเนินงาน/ระยะเวลาในการดำเนินงาน ระยะเวลา
พฤษภาคม ๒๕๖๐ - มนี าคม ๒๕๖๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ - มีนาคม ๒๕๖๓
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
๑. จัดประชมุ ช้ีแจงและวางแผนงาน
๒. แต่งตงั้ คณะกรรมการ
๓. ดำเนนิ กจิ กรรมต่างๆ ตามแผนงานการเรียนการ
สอน
๔. ตดิ ตามและประเมนิ ผล
๕. เก็บรวบรวมเอกสาร/หลกั ฐานประกอบ/
ประเมินผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
๙. ผลจากการปฏบิ ัตงิ าน
แผนภูมเิ ปรยี บเทยี บปัจจัยควำมสำเรจ็ ในกำรจดั จัดกำรเรยี นกำรสอนเน้นกระบวนกำรคิดและ
ปฏบิ ัติจรงิ ที่ส่งเสรมิ ด้ำนคณุ ธรรม
ปีกำรศึกษำ 2562 - 2560
120
100
80
60
40
20
0 ครมู กี ำร
ตรวจสอบ
มีขนั้ ตอน กระบวนกำร มคี วำม มกี ำร จดั กำรเรยี น ครูมี ประเมิน ภำพรวม
ดำเนนิ งำน ดำเนนิ งำน ยดื หย่นุ ปรับ ประชำสัมพนั กำรสอนให้ ปฏสิ มั พันธ์ ใหผ้ ลกำร ควำมพงึ
ให้เหมำะสม ผู้เรียนลงมอื กับผู้เรียน ประเมิน พอใจ
ชดั เจน ตรงกับ ธถ์ งึ ปฏิบตั ิจรงิ ยอ้ นกลับ
วตั ถุประสงค์ ได้ วัตถปุ ระสงค์ 80
85.2 81.2
โครงงำน 90.55
87
ปี 2560 92.05 92 80.1 87.2 81 82.5
ปี 2561 93.1 92.25 86 86.4 82.4 85 92.4
ปี 2562 98.14 97.8 92.68 90.86 89.65 91.45
ผลการดำเนินงานการจัดการเรียนการสอนเนน้ กระบวนการคิดและปฏิบตั ิจริงที่ส่งเสรมิ ด้านคุณธรรม
ในระยะเวลาตลอดปีการศึกษา ๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ พบว่า นักเรียนเกิดความรู้ ทักษะกระบวนการคิด การ
วางแผนงาน การแก้ปัญหา และการทำงานร่วมกับผู้อื่น รวมทั้งความสามารถในการใช้ส่ือ เทคโนโลยีที่มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และยังพบว่าอีกว่าผู้เรียนเกิดคุณธรรม คือ มีความตั้งใจเพียรพยายามทำหน้าที่การ
งานอย่างจริงจังและตอ่ เนื่อง มีความประพฤตติ รงทั้งตอ่ เวลา ต่อหน้าที่ รวมถึงผู้เรียนมีการรับฟังความคิดเหน็
ของผ้อู ืน่ รบู้ ทบาทของตน ในการรว่ มทำกิจกรรมกลุ่ม
๑๐. ปัจจยั ความสำเรจ็
๑๐.๑. ผบู้ ริหารให้ความสำคัญและอำนวยความสะดวกในการดำเนนิ งาน
๑๐.๒. ครูในระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐานให้ความรว่ มมือในการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ กระบวนการคิด
และปฏบิ ตั จิ ริงทีส่ ง่ เสรมิ ด้านคณุ ธรรม
๑๐.๓. นักเรียนให้ความรว่ มมือและสนใจในการจดั กิจกรรม
๑๐.๔. มีการวางแผนการดำเนนิ งานอย่างเป็นระบบ ตามหลักการ K-M-CLEAN
๑๑. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ
๑๑.๑. การเผยแพร่
๑) เผยแพร่ผลงานการจัดเรียนการสอนเน้นกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงที่ส่งเสริมด้าน
คณุ ธรรม ทางเพจโรงเรยี น https://www.niramon.ac.th
๒) ได้รับเกียรติบัตรการปฏิบัติที่เป็นแบบอย่างที่ดี ระดับ ดีมาก จากฝ่ายการศึกษาสังฆ
มณฑล สุราษฎร์ธานี เมอื่ วันที่ ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
๓) เผยแพร่การดำเนนิ งานและผลที่ไดร้ บั จากการดำเนินงานแกค่ ณะผู้บริหาร คณะเครือข่าย
ผู้ปกครอง และผู้ปกครองทุกท่าน ตลอดจนการเผยแพร่ผลการจัดประสบการณ์แบบ
บูรณาการแก่ผ้ทู เี่ ขา้ มาเย่ียมชมโรงเรยี น
ปีการศึกษา วนั /เดอื น/ปี คณะดูงาน หัวข้อในการดงู าน
๒๕๖๐ ๒๘ ก.ย. ๖๐ ศกึ ษานเิ ทศก์ศึกษาธิการ การประกนั คุณภาพภายใน
จงั หวัดชุมพร
๒๕๖๑ ๑๙ ม.ิ ย. ๖๑ ศึกษานเิ ทศก์ศึกษาธกิ าร การประเมนิ PISA ๒๐๑๘
จังหวัดชุมพร
๒๕๖๒ ๓ ก.พ. ๖๒ คณะดงู านจาก สพป. ตรวจดกู ารทดสอบทางการศึกษา
ชมุ พร เขต ๑ ระดบั ชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)
๒๕๖๓ ๑ ก.พ. ๖๓ คณะดงู านจากศึกษาธกิ าร ตรวจดกู ารทดสอบทางการศึกษา
จงั หวดั ชุมพร ระดบั ชาติขัน้ พ้ืนฐาน (O-NET)
๒๕๖๓ ๑๕ ก.ค. ๖๓ ศกึ ษานเิ ทศกศ์ ึกษาธิการ นิเทศติดตามและประเมนิ ผลการ
จังหวัดชมุ พร พฒั นาแผนการจัดการเรยี นรู้
บรู ณาการ
๑๑.๒. การไดร้ บั การยอมรับ
- ครูและนักเรียน มีความพงึ พอใจต่อการจดั การเรียนการสอนเนน้ กระบวนการคดิ และ
ปฏิบตั ิจริงท่ีสง่ เสรมิ ดา้ นคุณธรรม
ภาพประกอบ
การจดั การเรียนการสอนเนน้ กระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ ทสี่ ่งเสรมิ ดา้ นคณุ ธรรม
กิจกรรมการทดลอง
กลมุ่ สาระวิทยาศาสตร์
กจิ กรรมกลุ่ม
สาระภาษาตา่ งประเทศ
กจิ กรรมกลุม่ สาระ
ภาษาไทย
กิจกรรมสาระ
สังคมศกึ ษาฯ
รางวัลขวญั และกำลงั ใจ
เกยี รตบิ ัตรการปฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลศิ
การเผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์