The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรม (ระดับปฐมวัย) 5 นาทีกับลูกน้อย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NIRAMON CHUMPHON SCHOOL, 2021-07-09 01:57:43

นวัตกรรม (ระดับปฐมวัย) 5 นาทีกับลูกน้อย

นวัตกรรม (ระดับปฐมวัย) 5 นาทีกับลูกน้อย

นวตั กรรม (Innovation)

กระบวนการบริหารและการจัดการ
เรอ่ื ง ๕ นาทกี ับลกู นอ้ ย

ฝ่ายบรหิ ารจัดการ
โรงเรียนนิรมลชุมพร
ตำบลตากแดด อำเภอเมืองชุมพร จังหวดั ชมุ พร
สงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน

นวตั กรรม

๑. ชื่อผลงาน 5 นาทีกับลูกน้อย

๒. ชือ่ เจ้าของผลงาน ฝ่ายบรหิ ารจดั การ

โรงเรียน นิรมลชมุ พร สงั กัด สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

อำเภอ เมอื ง จังหวัด ชุมพร รหสั ไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๗๗ – ๕๐๒๑๔๕

E- mail: [email protected]

๓. หลกั การเหตุผล/ความเป็นมา

การจัดการศึกษาระดับชั้นอนุบาลสถานศึกษาเป็นหัวใจของการพัฒนาอนาคต การบริหารการศึกษา

จะต้องเขา้ ใจและตระหนักวา่ เปน็ สหวทิ ยาการเพราะเด็กเป็นสมบัติของชาติ ต้องการพฒั นาการทส่ี มบูรณ์ในทุก

ทาง ซึ่งผู้บริหาร ครูผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด ผู้มีบทบาทสำคัญที่สุดที่สร้าง

ความสำเร็จในการพัฒนาเด็ก คือ พ่อแม่ ผู้ปกครองที่ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียนอย่างมีคุณภาพ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 รัฐบาลได้สนับสนุนและส่งเสริมให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้ามามี

บทบาทในการจัดการศึกษามากขึ้น กล่าวคือ พ่อแม่ผู้ปกครองมีสิทธิที่จะได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้

ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก และให้สถานศึกษามีการประสานความร่วมมือกับพ่อแม่ผู้ปกครอง เพื่อ

ร่วมกันพัฒนาเด็กใหม้ พี ฒั นาการเหมาะสมตามวยั

จากการประเมนิ พัฒนาการเด็กปฐมวยั พบวา่ ความร่วมมอื ของพอ่ แมผ่ ู้ปกครองในการอบรมเล้ยี งดูเด็ก

ในขณะอยู่ท่ีบ้านมีบทบาทสำคัญย่ิงในการจดั ประสบการณ์ให้มีประสิทธิภาพดังนนั้ โรงเรียนนริ มลชุมพร ระดับ

ปฐมวัยจึงจัดทำกิจกรรม 5 นาทีกับลูกน้อย เพื่อพ่อแม่ผู้ปกครองจะได้มีเวลาในแต่ละวันละเด็กเพื่อเสริม

พัฒนาการเดก็ ให้มศี กั ยภาพและความภมู ิคุ้มคา่ ด้านความรกั ความอบอนุ่ ให้มากย่งิ ขึน้

๔. วัตถปุ ระสงค์

๔.๑. เพ่ือส่งเสริมให้เดก็ เกิดการเรียนรแู้ บบซมึ ซบั จากผปู้ กครอง มีความกลา้ แสดงออก อนั

เน่อื งมาจากความรักความอบอุ่นจากครอบครวั

๔.๒. เพ่ือปลกู ฝงั่ ใหเ้ ด็กมีคุณธรรมจรยิ ธรรม และความไว้วางใจตอ่ พ่อแมผ่ ูป้ กครอง

๔.๓. เพือ่ เปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ กครองมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมภายในครอบครัวรว่ มกัน

๕. แนวคดิ /ทฤษฎีทเี่ กีย่ วขอ้ ง

ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว (Developmental Family Theory) พัฒนาการของครอบครัว

เกิดขน้ึ ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1940 พรอ้ มกบั การพฒั นาศาสตร์ทางครอบครัว นับเปน็ ทฤษฎคี รอบครัวทฤษฎี

แรกที่พัฒนาขึ้นโดยให้ความสำคัญกับการศึกษาด้านครอบครัวเป็นสำคัญ ทั้งนี้การศึกษาครอบครัวโดยแยก

ออกจากการศึกษาจิตวิทยาและการศึกษาสังคมวิทยา เนื่องจากนักทฤษฎีพัฒนาการครอบครัวมีความเห็นว่า

ทฤษฎีทางจิตวิทยา ทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจเจกบุคคลในประเด็นเฉพาะ โดยทฤษฎีทางจิตวิทยาไม่สามารถ

อธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นในครอบครัวที่เกี่ยวข้องกับความต้องการที่จำเป็นต่างๆ ของปัจเจกบุคคล ส่วนทฤษฎีทาง

สังคมวทิ ยาให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์ในบริบททางสงั คมและวฒั นธรรม ซ่งึ เปน็ การวเิ คราะห์ในภาพกว้าง

จึงไม่สามารถวิเคราะห์ครอบครัวได้อย่างเหมาะสม โดยมีนักวิชาการให้ได้ความเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการ
ครอบครัวไวด้ ังนี้

ดูวัล และ ฮิลล์ (Duvall and Hil, 1948 อ้างถึงใน พูนสุข เวชวิฐาน, 2557 : 66) ได้อธิบายว่า
ครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มทางสังคม ซ่ึงกระบวนการในการพัฒนาครอบครัวมีอิทธิพลต่อสมาชิกใน
ครอบครัวเช่นเดียวกันกับที่ปัจเจกบุคคลได้รับอิทธิพลจากกระบวนการพัฒนาครอบครัว ดังนั้นครอบครัว
จะต้องผ่านกระบวนการวัฏจักรชีวติ เช่นเดยี วกับปัจเจกบุคล โดยในแต่ละขัน้ ตอนของพฒั นาการครอบครัวน้ัน
จะต้องประกอบด้วยหน้าที่การงานที่ต้องดำเนินการให้สำเร็จในขั้นตอนนั้น ๆ อย่างไรก็ตาม ในการศึกษา
ครอบครัวนั้นไม่เพียงแต่เป็นการศึกษาครอบครัวในฐานะท่ีเป็นศูนย์รวมของปัจเจกบุคคล แต่เป็นการศกึ ษาถึง
กระบวนการเปลี่ยนแปลงครอบครัวหรือการศึกษาครอบครัวในสภาพพลวัดตามแนวคิดนักทฤษฎีพัฒนาการ
ครอบครวั ไดแ้ บ่งข้ันตอนของวฏั จกั รครอบครวั ชีวติ (Family Life Cycle) ออกเป็น 2 ขั้นตอนใหญๆ่ คอื

1. ขั้นตอนการขยายครอบครัวให้กำเนิดบุตรและเล้ียงดูบุตรและเลี้ยงดูบุตรจนเติบใหญ่ ส่วนขั้นตอน
ครอบครัวหดตัวเป็นขั้นตอนที่บุตรได้แยกออกจากครอบครัวเดิม ดูวัลเรียกกระบวนการของครอบครัวจาก
ขั้นตอนขยายตัวจนถึงขั้นตอนหดตัวของครอบครัวว่า วัฏจักรชีวิตครอบครัว ทั้งนี้ดูวัลและฮิลล์ได้นำเสนอ
รูปแบบวัฏจักรชีวิตของครอบครัว โดยระบุถึงการทำหน้าที่ซึ่งเป็นหน้าที่ที่บิดามารดาและบุตรจะต้องร่วมมือ
กนั เพอ่ื ทำหนา้ ท่ีดังกล่าวใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ โดยหน้าท่ตี า่ ง ๆในครอบครวั สามารถจัดเป็นกลุ่มอยู่ในข้ันตอนของ
กระบวนการพัฒนาตามวัฏจักรชีวิตครอบครวั ได้ 8 ขัน้ ตอนตามภาพ 1 ดังน้ี

แต่งงาน วัยทารก วัยก่อนเรียน

แยกเรอื น ลกู วัยร่นุ ลูกวยั เรยี น

ปู่ย่า/ตายาย วัยชรา/หม้าย

ภาพ 1 แผนภูมพิ ัฒนาการตามวฏั จกั รชวี ิตครอบครวั 8 ข้ันตอน
ทม่ี า : พนู สุข เวชวฐิ าน, 2557

ในเวลาต่อมานักทฤษฎีพัฒนาการครอบครัวหลายคนได้ขยายแนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการพัฒนา
ครอบครัวตามวัฏจักรชีวิตครอบครัวโดยนำฐานแนวคิดของดูวัลและฮิลล์มาเป็นแนวในการพัฒนาทฤษฎี ซ่ึง

ต่อมาในทตวรรษที่ 1991 เจมส์ ไวท์ (Jame White) ได้ดีพิมพ์หนังสือเรื่อง "พลวัดการพัฒนาครอบครัว :
มุมมองเช ิงทฤษฎ ี ( Dynamic of family development : ATheoretical Perspective)" ซึ่งได้สรุป
สาระสำคญั เกยี่ วกบั การทดสอบสมมตฐิ านและตัวแปรสำคญั ของทฤษฎีพัฒนาการครอบครวั ที่ไดร้ ับการยอมรับ
อย่างกว้างขวาง

สรุปได้ว่าพัฒนาการทางครอบครัวตั้งแต่ช่วงแรกที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสภาพร่างกายและ
จิตใจ ซึ่งเริ่มจากช่วงของการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างคู่สมรสจนกระทั่งก่อเกิดให้ความรักที่แนบแน่น เม่ือ
ภรรยามีการตั้งครรภ์การทำหน้าที่แม่บ้านของภรรยาอาจทำได้ไม่เต็มที่ เมื่อคู่รักใดมีลูกคนแรกหรือมีลูกอ่อน
มักทำให้เกิดความกระตือรือร้นในบทบาทการทำหน้าที่ของผู้เป็นพ่อและแม่ เพื่อต้องการท่ีจะตอบสนองความ
ตอ้ งการทด่ี ีใหก้ บั เด็กภายหลังการคลอดจากครรภม์ ารดา
๖. การดำเนนิ งาน/กระบวนการ/วธิ ีปฎบิ ัติในการจดั ทำนวตั กรรม 5 นาทีกบั ลูกนอ้ ย ตามหลักการ PDCA

Plan ขนั้ วางแผน ศึกษาโครงสร้างหลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ เพอื่ ศึกษา
เน้อื หาในการมสี ่วนรว่ มกบั ผปู้ กครอง ในการจดั กิจกรรม ๕ นาทกี ับลกู น้อย มีการวางแผนงาน วธิ ีการ และ
ขั้นตอนในการดำเนินงานใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ตามวตั ถปุ ระสงค์ทวี่ างไว้

ประชุมสร้างความตระหนักและความเข้าใจกับผู้ปกครองเรื่องบทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครองในการ
สร้างพัฒนาการท่ีเหมาะสมตามวยั ให้กบั เด็ก การมเี วลาทำกิจกรรมกับลูกในแต่ละวันผา่ นกจิ กรรมเก้านาทีเพื่อ
ลูกนอ้ ย

Do ดำเนนิ การในการใช้นวตั กรรม ๕ นาทกี บั ลูกนอ้ ย มีการประชุมกนั ระหวา่ งครูและผปู้ กครอง
เพอ่ื ดำเนนิ ตามแผนทว่ี างไวแ้ ละเสนอใหผ้ บู้ รหิ ารรบั ทราบ

ทำบันทึกข้อตกลงกับพ่อแม่ผู้ปกครองในการใช้เวลาแต่ละเก้านาทีกับลูกน้อย พร้อมทั้งขอความ
ร่วมมอื จากพอ่ แมผ่ ปู้ กครองในการทำกิจกรรมกับเด็ก เช่น

- จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ มาให้เด็กทำงานศลิ ปะ เช่น ดินสอสี สีเทียน กระดาษวาด พู่กัน จานสี ดิน
น้ำมนั กาว กรรไกร ดนิ เหนียว กะละมงั ฯลฯ

- พ่อแม่ผู้ปกครองหาเวลาทำงานศิลปะกับลูก แม้จะไม่ชอบทำ ทำไม่เป็น แต่เด็กอยากให้ผู้ใหญ่อยู่
ข้างๆ ทำด้วยกนั โดยเฉพาะครอบครวั ท่ีเด็กไมม่ เี พ่ือน มพี ่นี อ้ งเพียง 2 คน

- เปิดเพลงหลากหลายให้ลูกฟัง เช่น เพลงเด็ก เพลงไทยเดิม เพลงไทยสากล เพลงสากล สังเกตดูว่า
เดก็ ชอบเพลงแบบไหน เพลงเอะอะอกึ ทกึ เกนิ ไปไมเ่ หมาะกับสมองเด็ก เป็นตน้

Check ประเมนิ ผลท่ีได้จากการจัดกิจกรรม ๕ นาทกี ับลกู น้อย วา่ ผลการประเมินทไี่ ดบ้ รรลุ
เป้าหมายท่วี างไว้หรือไม่ และมีปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ในระหว่างการใช้นวตั กรรม ๕ นาทีกับลูกนอ้ ย เพ่ือท่จี ะใช้
พัฒนานวตั กรรมให้มีคุณภาพในการดำเนนิ งานต่อไป

ครูใช้วิธีการเสริมแรงในการดำเนินกิจกรรมเก้านาทีกับลูกน้อยในการติดตาม ประเมินผลการ
ดำเนินงาน เชน่ การมอบเกยี รติบตั รครอบครัวอบอนุ่ ในโอกาสวันพ่อวนั แม่ การใหพ้ อ่ แม่ผู้ปกครองโฟสการทำ
กจิ กรรมกับเด็กผ่านเฟซบุ๊ก หรอื ไลน์กลมุ่ ผู้ปกครอง ครพู ูดคุยกับเด็กในชั้นเรยี น จัดบอร์ดหนา้ ห้องเรยี น ฯลฯ

Action นำผลการใช้นวัตกรรม ๕ นาทีกับลูกน้อย มาวิเคราะห์ว่าควรปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่
แล้วให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลังจากนำนวัตกรรม ๕ นาทีกับลูกน้อย ส่งผลให้ผู้ปกครองและบุตรหลาน ได้มีปฏิสัมพันธ์
กันในการทำกิจกรรมภายร่วมกันในครอบครัว ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อนำผลการประเมินผล มาปรับปรุงแก้ไข
และพัฒนานวัตกรรมต่อไป ยังมีกจิ กรรมอีกมากมายทจ่ี ะช่วยเหลือส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวยั และการมี
ส่วนร่วมของพ่อแม่ผู้ปกครอง เช่น การอ่านนิทานให้ลูกฟังหรือเด็กเล่านิทานให้พ่อแม่ผู้ปกครอง จัดกิจกรรม
ปคิ นคิ นอกสถานศึกษาโดยเชญิ พอ่ แม่ผปู้ กครองเข้ารว่ ม ฯลฯ เปน็ ต้น

แผนผังการดำเนนิ งาน

ศึกษาสภาพปัญหา

ศกึ ษาหลกั สตู รปฐมวัย ปีการศึกษา ๒๕๖๑

สร้างเทคนคิ การไหว้ในกิจกรรม ๕ นาทกี ับลูก
-ดา้ นครูปฐมวยั
-ด้านผูป้ กครอง
-ดา้ นตวั เดก็

ตรวจสอบประเมนิ ผล

ดำเนินการพฒั นานวัตกรรมอยา่ งต่อเนอื่ ง

สรุปรายงานผล/เผยแพร่

๗. แผนการดำเนนิ งาน/ ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน
-ปีการศึกษา ๒๕๖๒

๘. ผลทเ่ี กดิ จาการนำนวัตกรรมไปใช้
จากการจดั กจิ กรรม ๕ นาทีกับลูกนอ้ ย โดยมีผู้ปกครองให้ความรว่ มมอื ในการจดั กจิ กรรม

พบว่า
๘.๑ ดา้ นการบรหิ าร ผู้บริหารมคี วามพอใจในการจัดกจิ กรรม ๕ นาทีกับลกู น้อย และมี

การสนบั สนนุ กจิ กรรมอย่างต่อเน่ือง
๘.๒ ด้านครูผูส้ อน ครแู ละผปู้ กครองได้มีการสานสัมพนั ธก์ ันในกจิ กรรม ๕ นาทีกับลกู นอ้ ย

(การทำความเคารพ) โดยครปู ระจำชั้นได้สงั เกตพฤติกรรมของเด็กขณะอยู่ในโรงเรียน จนบรรลผุ ลตาม
จดุ ประสงค์ที่ต้ังไว้

๘.๓ ดา้ นผเู้ รยี น เดก็ สามารถนำไปปฏบิ ตั ิในชวี ติ ประจำวันไดด้ ้วยตนเอง และเหมาะสม
ตามวยั

๘.๔ ดา้ นผูป้ กครอง ผปู้ กครองมีเวลาใส่ใจดูแลบุตรหลาน ได้รับรพู้ ฤติกรรมของบตุ รหลาน
ตนเองทั้งดา้ นท่ีควรสง่ เสริม และดา้ นต้องพัฒนาใหด้ ขี ้นึ

วฏั จกั รการเรียนรู้สตู่ วั เด็ก

ตวั เดก็

.

ผปู้ กครอง สภาพปัญหา

๕ นาทีกบั ลกู
น้อย

. หลกั สตู ร
คร/ู ผบู้ ริหาร ปฐมวยั
ปี การศึกษา
๒๕๖๑

๙. ปจั จยั ท่ีทำให้ประสบผลสำเร็จ
๙.๑ มกี ารมอบหมายหน้าท่ใี หเ้ หมาะสมกบั บุคลากรท่จี ดั ทำแผนงาน/กิจกรรม
๙.๒ ได้รับคำปรึกษาช้ีแนะจากผบู้ รหิ าร/องค์กร
๙.๓ ได้รับการสง่ เสรมิ และความร่วมมือจากผ้ปู กครองในการฝึกปฏบิ ัตแิ ก่บุตรหลาน
๙.๔ ได้รับความรว่ มมอื จากบุคลากรในโรงเรยี น และเด็กปฐมวยั ในการรว่ มทำกจิ กรรม 5

นาทกี ับลูกน้อย
๑๐. การเผยแพร่

๑๐.๑ มีการเผยแพร่ผลสำเรจ็ ให้ผ้ปู กครองไดร้ ับทราบถงึ พัฒนาการที่ดขี น้ึ ในการจัดกิจกรรม
๕ นาทีกบั ลูก (การทำความเคารพ บุคคลตา่ งๆ)

๑๐.๒ เผยแพร่นวัตกรรม 5 นาทเี พ่ือลกู น้อย ทางเฟซบุ๊กของโรงเรียน
https://www.facebook.com/niramonchumphon

๑๐.๓ เผยแพรน่ วัตกรรม 5 นาทีเพื่อลกู น้อย ในไลนก์ ลุ่มครโู รงเรียนนิรมลชมุ พร

100.00 มิถนุ ายน
90.00 กรกฎาคม
80.00 สงิ หาคม
70.00 กนั ยายน
60.00 พฤศจิกายน
50.00 ธนั วาคม
40.00 มกราคม
30.00 กมุ ภาพนั ธ์
20.00
10.00
-

อนบุ าล 1 อนบุ าล 3 อนบุ าล 3

กราฟเปรยี บเทยี บแบบสรุปกิจกรรม ๕ นาทกี บั ลกู น้อย ระดับอนบุ าลปีที่ ๑-๓ ปีการศึกษา ๒๕๖๒

ภาคผนวก

ผ้บู รหิ าร ครู และผ้ปู กครองมสี ว่ นร่วมในการทำกจิ กรรม ๕ นาทกี บั ลกู นอ้ ย

ผ้ปู กครองมีสว่ นร่วมในการทำกจิ กรรมกับลกู ทบ่ี า้ น


Click to View FlipBook Version