The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การบริหารแบบส่วนร่วม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NIRAMON CHUMPHON SCHOOL, 2021-07-09 01:57:20

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การบริหารแบบส่วนร่วม

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การบริหารแบบส่วนร่วม

วิธีการปฏบิ ัตทิ ีเ่ ป็นเลศิ

(Best Practices)
เรอื่ ง การบรหิ ารแบบส่วนร่วม

(Best Practices)

นางสาวหนูพวน โพธิข์ าว ตำแหนง่ ครผู สู้ อน
โรงเรียนนิรมลชุมพร

ตำบลตากแดด อำเภอเมืองชมุ พร จังหวดั ชมุ พร
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน

วิธกี ารปฏิบตั ทิ ี่เป็นเลศิ (Best Practices)

๑. ช่อื ผลงาน การบริหารแบบสว่ นร่วม

๒. ชอ่ื เจา้ ของผลงาน นางสาวหนพู วน โพธิข์ าว ฝา่ ยนโยบายและแผน

โรงเรยี นนริ มลชุมพร สงั กดั สำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

ทต่ี ั้ง ๒๕๓ หมู่ ๙ ตำบล ตากแดด อำเภอ เมือง จงั หวดั ชุมพร รหสั ไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐

โทรศพั ท ๐๗๗-๕๐๒๑๔๕ E-mail: [email protected]

๓. สอดคล้องกับหัวข้อตอ่ ไปนี้ (ทำเครอ่ื งหมาย ในชอ่ งทส่ี อดคล้อง)

√ การบรหิ ารและการจัดการ

การจดั ประสบการณ์เรียนรู้ การจัดการเรยี นรู้

การแกป้ ัญหาเด็ก

อื่นๆ ระบุ .....

๔. หลักการเหตุผล/ความเป็นมา

การปฏิรูปการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ นั้น มีความมุ่งหมายที่จะพัฒนาคนไทย

ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดีมีความสามารถและอยู่ร่วมกับสังคมได้อย่างมีความสุข โดย

กระทรวงศึกษาธิการกำหนดเงื่อนไขและหลักการในการปฏิรูปโดยยึดโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการตัดสินใจ

ให้บุคคลหลายฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กระจายอำนาจการบริหารจัดการด้านวิชาการ

งบประมาณ บรหิ ารงานบคุ คล และบริหารทว่ั ไป โรงเรียนจึงมฐี านะเป็นนิติบุคคล จึงตอ้ งปรับกลยุทธ์ในการ

บรหิ ารจัดการใหส้ อดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจ เนน้ การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมตามหลักการบริหารโดย

ใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management: SBM) เปิดโอกาส ให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ได้มีส่วนร่วมในการบริหาร ตัดสินใจ และร่วมจัดการศึกษา ทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนศิษย์เก่าและตัวแทน

นักเรียนการที่บุคคลมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของ และจะรับผิดชอบในการจัด

การศกึ ษามากข้ึน

โรงเรียนนิรมลชมุ พรจึงมีการบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วม เนน้ เด็กไดล้ งมือปฏิบัติในชวี ติ ประจำวันท้ัง

ที่บ้านและโรงเรียน โดยโรงเรียนได้จัดกิจกรรมต่างๆ ที่สอดคล้องกับปรัชญา คือ เด่นคุณธรรม เลิศล้ำวิชา

พัฒนาสงั คม

๕. วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ผู้เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การ
๒. เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมเอื้อตอ่ การเรียนรู้
๓. เพือ่ ใหส้ ถานศึกษามกี ารดำเนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ

๖. แนวคดิ ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง
ทฤษฏีท่นี ำมาใชก้ ารพัฒนา (Best Practices)
ทฤษฎี Y เน้นถึงการพัฒนาตนเองของมนุษย์ ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ มนุษยน์ ้นั รู้จักตวั เองได้ถูกต้อง รู้จัก

ความสามารถของตนเอง ผ้บู รหิ ารควรสรา้ งแรงจงู ใจโดยการสร้างสรรค์สถานการณ์ท่จี ะทำใหส้ มาชกิ มี
ความรสู้ ึกรับผดิ ชอบ และมสี ่วนรว่ มในการทำงาน ในการบรหิ ารนนั้ มกี ารนำทฤษฎเี ชงิ จติ วทิ ยามาใชจ้ ำนวน
มาก เพราะการบรหิ ารเป็นการทำงานกบั “คน” และทฤษฎีจิตวิทยาก็พูดเร่ือง “คน” การศกึ ษาทฤษฎี
จติ วทิ ยาทเ่ี ก่ยี วกบั การควบคุมกำกับพฤตกิ รรมของมนุษย์ การสรา้ งแรงจงู ใจในการทำงาน และภาวะผนู้ ำ จึง
เป็นประโยชนอ์ ยา่ งมากต่อผบู้ ริหาร Donglas Mc Gregor ได้คน้ พบแนวคดิ “พฤตกิ รรมองคก์ าร” และ
สรปุ วา่ กิจกรรมการบริหารจัดการล้วนมีสาเหตรุ ากฐานมาจากทฤษฎีพฤติกรรมมนษุ ย์ (human behaviors)

ทฤษฏีลำดบั ข้นั ความต้องการ (Need Hirachy Theory) และทฤษฎีสองปจั จัย (Motivation
Hygien Theory) ของอบั บราฮมั มาสโลว์ (Abraham Maslow) และเฟรเดอริคเฮิรซเ์ บอร์ก (Frederick
Herzberg) ซ่งึ กลา่ วไวส้ อดคล้องกันวา่ ไว้ซงึ่ การทจี่ ะทำเชน่ นน้ั ได้ ผูบ้ รหิ ารจะต้องใช้ความสามารถทุกวถิ ที างท่ี
จะทำให้ผู้รว่ มงานไดป้ ฏิบัตงิ านอย่างมปี ระสิทธิภาพ ก่อให้เกดิ ผลดีตอ่ สถานศกึ ษา วิธหี นงึ่ ท่ีผ้บู รหิ ารสามารถ
นำมาใช้ได้อย่างดี คือ การจงู ใจบคุ ลากรในโรงเรยี นทำงาน นน่ั คือ ผูบ้ รหิ ารตอ้ งเข้าใจลำดบั ขัน้ ความต้องการ
ของผู้รว่ มงาน เพื่อเปน็ แรงจงู ใจใหผ้ รู้ ่วมงานให้บรรลุผลสำเร็จ

๗. การดำเนนิ งาน/กระบวนการ/วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน
ทางโรงเรยี นได้กำหนดแผนการปฏทิ ินในการดำเนนิ การโดยใช้ ตามหลกั การ PDCA

P = Plan

• การวางแผนงานจาก
วตั ถุประสงค์ และเป้าหมาย
ทไ่ี ด้กาหนดขึน้

A = Action D = Do

• การปรับปรุงแก้ไขส่วน • การปฏิบัตติ ามข้นั ตอนใน
ทม่ี ปี ัญหา แผนงานทไี่ ด้เขยี นไว้

C = Check

• การตรวจสอบผลการ
ดาเนินงานในแต่ล่ะข้นั ตอน
ว่ามปี ัญหาอะไรเกดิ ขึน้

P = Plan

ขน้ั ที่ ๑ วิเคราะห์จุดเน้นของโรงเรียนในระดับการศึกษาปฐมวัย
ขนั้ ท่ี ๒ ประชุมสร้างความตระหนกั ให้กบั ผบู้ รหิ าร คณะครูระดับปฐมวยั และ

ผ้ปู กครอง ให้เห็นความสำคัญของการฝึกเด็กปฐมวัยให้มมี ารยาท และ
การทำความเคารพ

D = Do

ขน้ั ที่ ๓ จดั ทำแผนการปฏบิ ตั งิ าน โดยความร่วมมอื จากทุกฝา่ ยท่เี กีย่ วขอ้ ง
ขน้ั ที่ ๔ มีการประชุมคณะครปู ฐมวัยทกุ ท่านในการนำแผนการปฏิบตั งิ านลงไปใช้กับเด็ก

โดยการประสานกบั ผูป้ กครองในการดำเนนิ งานและการประเมินเด็กในแต่ละวนั
ภายใต้ กจิ กรรม “๕ นาทีกับลูกน้อย”
ขนั้ ท่ี ๕ ผปู้ กครองดำเนินงานตามแผนงานท่รี ับทราบจากครปู ระจำช้นั

C = Check

ข้ันท่ี ๖ ใหผ้ ปู้ กครองส่งแบบประเมินกลบั คนื สคู่ รูประจำช้ัน เมือ่ สนิ้ สุดแต่ละภาคเรียน
เพ่อื ทำการเกบ็ ข้อมูลผลท่ีไดร้ ับมาปรับปรงุ พัฒนาในภาคเรียนต่อไป

A= Action

ข้ันท่ี ๗ นำผลการประเมินทไี่ ดร้ ับมาเปรยี บเทยี บ ผลการประเมินในแต่ละเดือน เพ่ือ
ปรับปรุงพฒั นาให้เด็กมีพฒั นาการของเด็กให้ดีขึ้นในปกี ารศกึ ษาตอ่ ไป

๘. แผนการดำเนนิ งาน/ระยะเวลาในการดำเนินงาน

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ระยะเวลา

๑. ศกึ ษาจดุ เน้นของกระบวนการบรหิ ารและการจดั การ / ประชุมคณะกรรมท่ี ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐-

เกย่ี วข้องทกุ ฝา่ ย ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๒. ออกแบบกิจกรรมตามแผนท่ีวางไว้

๓. ตรวจสอบและประเมนิ ผล

๔. สรปุ /รายงานผล/นำผลการประเมนิ ไปพัฒนาในการจัดกิจกรรมในปี
การศกึ ษาต่อไป

๙. ผลการปฏบิ ตั ิงาน
ผลการดำเนนิ งานการบริหารแบบมีสว่ นรว่ มกับทุกฝา่ ย ได้แก่ผบู้ ริหาร คณะครู และผปู้ กครอง

พบว่าทกุ ฝ่ายให้ความร่วมมือ กับสถานศึกษาด้วยดี ทำให้มีการพัฒนาสูงข้ึนตามลำดบั
๙.๑ การบริหารแบบมีส่วนรว่ ม

92
90
88
86
84
82
80
78 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
76 ปีการศึกษา ๒๕๖๑
74 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

หวั ข้อการประเมนิ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒
ผเู้ กย่ี วข้องในการบริหารจัดการ ๘๒.๘๐ ๘๔.๐๐ ๘๗.๖๐
สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรยี นรู้ ๘๐.๘๐ ๘๘.๐๐ ๘๙.๖๐
สถานศกึ ษามีการดำเนนิ งานอย่างเป็นระบบ ๘๐.๐๐ ๘๗.๒๐ ๘๙.๒๐

๑๐. ปจั จัยท่ที ำให้วธิ ีการประสบผลสำเรจ็
๑. ผ้บู ริหาร คณะครรู ะดบั ปฐมวยั ให้ความสำคญั ในการจดั กจิ กรรมให้เหมาะสมกบั เด็กเป็นอย่างดี
๒. ผปู้ กครองให้ความร่วมมือ และเปน็ แบบอยา่ งการปฏิบตั ิตนตามวัฒนธรรมไทย
๓. เดก็ ปฏิบัตใิ นกจิ วัตรประจำได้ดว้ ยตนเอง

๑๑.การเผยแพร่/การได้รบั การยอมรับ
๑๑.๑ การเผยแพร่
เผยแพรก่ ารดำเนินงาน และผลท่ีได้รบั จากการจัดกจิ กรรมต่างๆ ผ่านทางเวบ็ ไซต์และเฟซบุก๊ ของ

โรงเรยี น https://www.facebook.com/niramonchumphon

๑๑.๒ การได้รบั การยอมรับ และรางวัลทไี่ ด้รับ
- ได้รบั เกยี รตบิ ัตรการปฏบิ ัตทิ ่เี ปน็ แบบอย่างท่ดี ี ระดับ ดี จากฝา่ ยการศึกษาสงั ฆมณฑล
สุราษฎร์ธานี เมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๒
- ครูผู้สอนในระดับปฐมวยั ไดร้ บั รางวลั และเกยี รติบัตร จากหน่วยงานตา่ งๆ ดงั นี้

เกียรตบิ ตั ร / สดุดคี รู

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

ชอ่ื -สกุล รางวลั ท่ไี ดร้ ับ จากหนว่ ยงาน
ครูดีศรเี อกชนชุมพร สมาคมการศกึ ษาเอกชนจังหวัดชมุ พร
นางอนญั ญา พรมพิชยั ครูดศี รีเอกชนชมุ พร สมาคมการศึกษาเอกชนจังหวัดชมุ พร
ครูดศี รีเอกชนชุมพร สมาคมการศึกษาเอกชนจงั หวัดชมุ พร
นางสาวกมุ ารี ชุ่มชนื่ จติ ร ครดู ีศรเี อกชนชุมพร สำนกั งานคุณธรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
รางวลั ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศึกษาธิการ
นางสาวกรรณกิ า ธรรมสิงหรัตน์ รางวลั ๑๐๐ ปี ครูดีศรีเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ าร
รางวลั ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศึกษาธิการ
นางสาวเพ็ญนภา เผา่ วหิ ค รางวลั ๑๐๐ ปี ครูดีศรเี อกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
รางวัล ๑๐๐ ปี ครูดศี รีเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
นางสรุ ิยงค์ ตณั ฑวิบลู ย์ รางวัล ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
รางวลั ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศึกษาธิการ
นางอรณุ วรรณ คงเจริญ รางวัล ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
รางวัล ๑๐๐ ปี ครดู ศี รีเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ าร
นางสมศรี แกว้ ก่ิง รางวลั ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
รางวัล ๑๐๐ ปี ครดู ศี รีเอกชน กระทรวงศึกษาธิการ
นางจรุ ยี ์ ครองพุ่มวจิ ติ ร รางวลั “สดุดีครเู อกชน” เนื่อง กระทรวงศึกษาธิการสมาคมคณะกรรมการ
ในวนั การศึกษาเอกชนปี ประสานและสง่ เสริมการศึกษาเอกชน
นางอนญั ญา พรมพชิ ยั ๒๕๖๒
รางวัล ๑๐๐ ปี ครดู ีศรเี อกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ
นางวาสนา น้อยศรีอยู่ รางวลั ๑๐๐ ปี ครดู ีศรีเอกชน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

นางสจุ ิตรา สขุ วิสทุ ธ์

นางสาวหนพู วน โพธิข์ าว

นางสาวมารนิ ชุ่มช่นื จติ ร

นางสาวกุมารี ชมุ่ ชน่ื จติ ร

นางสาวเพ็ญนภา เผา่ วหิ ค

นางสาวกุมารี ชุม่ ช่ืนจิตร

นางสมศรี แกว้ ก่ิง
นางสาวมารนิ ชมุ่ ชนื่ จติ ร

ภาคผนวก








Click to View FlipBook Version