The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NIRAMON CHUMPHON SCHOOL, 2021-07-09 01:57:14

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย

Best Practice (ระดับปฐมวัย) การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย

วธิ กี ารปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ

(Best Practices)
เร่อื ง การจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย

นางสาวเพญ็ นภา เผ่าวหิ ค
ตำแหน่ง ครูผสู้ อน

โรงเรียนนริ มลชมุ พร
ตำบลตากแดด อำเภอเมอื งชมุ พร จงั หวดั ชมุ พร
สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน

วธิ ปี ฏบิ ตั ิทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practices)

๑.ช่อื ผลงาน การจัดประสบการณ์แบบบรู ณาการวัฒนธรรมไทย

๒. ชอื่ เจ้าของผลงาน นางสาวเพญ็ นภา เผา่ วหิ ค ผูช้ ่วยผ้อู ำนวยการฝา่ ยวิชาการปฐมวยั

โรงเรียน นิรมลชุมพร สังกดั สำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน กระทรวงศึกษาธกิ าร

อำเภอ เมือง จังหวัด ชมุ พร รหสั ไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐ โทรศพั ท์ ๐๗๗ – ๕๐๒๑๔๕

E – mail [email protected]

๓. สอดคลอ้ งกับหัวข้อต่อไปนี้ (ทำเคร่ืองหมาย / ใน ทสี่ อดคล้อง)

การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

การจัดประสบการณ์การเรียนรู้/การประเมินพัฒนาการ

การแก้ไขปญั หาผเู้ รยี น

อนื่ ๆ ระบุ…………………………………………………..

๔. หลกั การเหตุผล/ความเป็นมา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ บัญญัติถึงความสำคัญของการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรมใหเ้ กดิ ขึ้นกบั คนไทยไวใ้ น มาตรา ๖ ซง่ึ ได้กำหนดวา่ การจดั การศึกษาต้องเปน็ ไปเพื่อพฒั นาคนไทยให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม ให้มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการ
ดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ดังนั้น จึงเห็นว่าคุณธรรมจริยธรรม คุณงามความดีที่เปน็
ข้อประพฤติปฏิบัติของบุคคล เป็นสิ่งที่มีคุณค่า ส่งเสริมให้บุคคลที่ปฏิบัติอยู่รวมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมี
ความสุข

ปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงล้ำหน้าไปหลายด้าน มีการรับเอาวัฒนธรรมจากต่างประเทศเข้า
มาจำนวนมาก เช่น การทักทายกันโดยการจับมือกัน โบกมือให้กัน เดินชนไหล่กัน เป็นต้น และการทักทาย
เหล่านี้ได้แพร่หลายไปอย่างรวดเร็ว โดยเด็กเกิดการคล้อยตามวัฒนธรรมที่ไม่เหมาะสม ส่งผลให้เกิด
กริ ยิ ามารยาททีแ่ ข็งกระดา้ ง ขาดความนอบนอ้ ม และขาดการแสดงความเคารพตอ่ ผอู้ าวุโส

จากความสำคญั และทีม่ าของปัญหาดงั กลา่ ว โรงเรยี นนิรมลชมุ พร ระดับการศกึ ษาปฐมวยั จงึ เห็นควร
จัดจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย การไหว้เพื่อทักทายกันของเด็ก เพื่อสร้างความตระหนัก
ปลูกฝังคุณธรรมด้านการไหว้ อันเป็นการส่งสัญญาณแห่งมิตรภาพ เป็นวัฒนธรรมที่ดีงามของชาติ ที่ควรธำรง
รักษาไว้อยู่คู่สังคมไทยสืบไป การไหว้ทักทายกันจะทำให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ซึ่งนำไปสู่ความปรองดอง
กันภายในโรงเรียน ตลอดจนทำให้เด็กเป็นผู้ที่มีสัมมาคารวะ มีความสุภาพอ่อนน้อมต่อผู้อื่น และเป็นผู้ที่มี
บคุ ลิกภาพท่ดี ี สรา้ งความประทบั ใจตอ่ ผทู้ ี่พบเห็น

๕. วัตถปุ ระสงค์
๑. เพอื่ ใหเ้ ด็กปฐมวยั รูจ้ กั ไหว้ทำความเคารพเมอ่ื พบผใู้ หญ่

๒. เพอื่ ให้เด็กปฐมวยั มมี ารยาทในการอยรู่ ่วมกนั

๖. แนวคดิ และทฤษฎที ี่เก่ยี วขอ้ ง
แนวคดิ ของ กีเซล (Gesell) เชอ่ื วา่

• พฒั นาการของเด็กเปน็ ไปอยา่ งมแี บบแผนและเปน็ ขน้ั ตอน เดก็ ควรพัฒนาไปตามธรรมชาตไิ ม่ควรเร่งหรอื
บงั คบั
• การเรียนรู้ของเด็กเกดิ ข้ึนจากการ การเคลื่อนไหว การใช้ภาษา การปรับตัวเขา้ สังคมกับบคุ คลรอบข้างการ
ปฏิบตั ิการพัฒนาเด็ก
• จัดกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
• ให้เดก็ ได้เลน่ กลางแจง้
• จดั กิจกรรมสร้างสรรค์ ฝึกการใชม้ อื และ ประสาทสมั พันธ์มอื กับตา
• จัดกจิ กรรมใหเ้ ด็กได้ฟงั ได้พูดท่องคำคล้องจอง ร้องเพลง ฟังนทิ าน
• จดั ให้เดก็ ทำกจิ กรรมเด่ียวและกิจกรรมกลุ่ม

แนวคดิ ของ ฟรอยด์ (Freud) เช่ือว่า
ประสบการณ์ในวัยเดก็ ส่งผลต่อบุคลิกภาพ ของคนเราเมอื่ เติบโตเปน็ ผ้ใู หญ่ หากเดก็ ไม่ได้รับการตอบสนอง
อย่างเพยี งพอ จะเกิดอาการชะงัก พฤติกรรมถดถอย คบั ข้องใจสง่ ผลตอ่ พัฒนาการของเด็ก
การปฏิบตั ิการพัฒนาเด็ก
• ครูเป็นแบบอยา่ งท่ีดี ท้งั การแสดงออก ทา่ ทีวาจา
• จัดกจิ กรรมเปน็ ขนั้ ตอน จากจ่ายไปหายาก
• จดั สง่ิ แวดลอ้ มทีบ่ ้านและโรงเรียนเพอ่ื สง่ เสรมิ พัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก

แนวคิดของ ดิวอ้ี (Dewey) เช่ือว่า
เดก็ เรียนรโู้ ดยการกระทำการปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
• จดั กจิ กรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จพงึ พอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียนเพ่ือน ครู
• จดั บรรยากาศในห้องเรยี น ใหเ้ ดก็ มีโอกาสสรา้ งปฏสิ มั พันธ์ทดี่ ตี อ่ สภาพแวดลอ้ ม ครูและเพื่อน ๆ

แนวคิดของ สกนิ เนอร์ (Skinner) เชื่อวา่
• ถา้ เดก็ ได้รบั การชมเชย และประสบผลสำเร็จในการทำกจิ กรรม เด็กสนใจที่ทำต่อไป
• เดก็ แต่ละคนมีความแตกต่างกัน ไม่มใี ครเหมือนใคร
การปฏิบตั ิการพฒั นาเด็ก
• ใหแ้ รงเสริม เชน่ ชมเชย ช่ืนชม เม่ือเด็กทำกจิ กรรมประสบผลสำเร็จ
• ไม่นำเด็กมาเปรยี บเทียบแข่งขันกนั
ทฤษฎีการเรียนร้ทู างสงั คม (Social Learning Theory) ของแบนดูรา

อัลเบริ ์ต แบนดรู า (Albert Bandura, 1986) นักจิตวทิ ยาร่วมสมัย (An Contemporary
Phychologist) ณ มหาวิทยาลัยแสตนดฟ์ อร์ด (Stanford University) อัลเบริ ์ต แบนดูรา กล่าวว่า การเรียนรู้
ของมนุษย์นัน้ เกิดจากพฤติกรรมบคุ คลน้นั มีการปฏิสัมพนั ธ์ (Interaction) อย่างตอ่ เน่ืองระหวา่ งบุคคลนัน้
(Person) และสงิ่ แวดล้อม (Environment) ซง่ึ ทฤษฎนี เี้ น้นบุคคลเกิดการเรียนรโู้ ดยการให้ตวั แบบ (Learning
Through Modeling) โดยผูเ้ รียนจะเลยี นแบบจากตวั แบบ และการเลยี นแบบนเ้ี ป็นกระบวนการทเ่ี กิดข้นึ
อยา่ งต่อเนอื่ ง โดยอาศยั การสังเกตพฤติกรรมของตัวแบบ การสงั เกตการณ์ตอบสนองและปฏกิ ิริยาต่าง ๆ ของ
ตวั แบบ สภาพแวดล้อมของตัวแบบ ผลการกระทำ คำบอกเลา่ และความน่าเช่ือถือของตัวแบบได้ การเรียนรู้
ของเด็กปฐมวัยจึงเกิดข้นึ ได้ ซึ่งกระบวนการต่าง ๆ ของการเลยี นแบบของเด็ก ประกอบด้วย 4 กระบวนการ
คอื

๑. กระบวนการดึงดูดความสนใจ (Attentional Process) กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีเด็กไดส้ งั เกตตัว
แบบ และตวั แบบน้นั ดงึ ดดู ให้เด็กสนใจทจ่ี ะเลียนแบบ ควรเป็นพฤติกรรมง่าย ๆ ไมส่ ลับซับซ้อน งา่ ยต่อการเอา
ใจใส่ของเดก็ ท่ีเกดิ การเลยี นแบบและเกดิ การเรยี นรู้

๒. กระบวนการคงไว้ (Retention Process) คอื กระบวนการบันทึกรหสั เปน็ ความจำ การที่เด็ก
จะต้องมีความแม่นยำในการบันทกึ สง่ิ ที่ได้เห็นหรือไดย้ ินเกบ็ เป็นความจำ ท้ังนี้ เด็กดึงข้อมูลทไ่ี ด้จากตัวแบบ
ออกมาใช้กระทำตามโอกาสที่เหมาะสม เด็กท่ีมีอายุมากกวา่ จะเรยี นรู้จากการสงั เกตการณก์ ระทำท่ฉี ลาดของ
บคุ คลอื่น ๆ ได้มากกว่า โดยประมวลไวใ้ นลักษณะของภาพพจน์ (Imaginal Coding) และในลกั ษณะของ
ภาษา (Verbal Coding) และเดก็ โตขึน้ นำประสบการณ์และสัญลกั ษณ์ต่าง ๆ มาเช่ือมโยงและต่อมาจะใชก้ าร
เรียนร้มู เี ทคนิคท่นี ำมาช่วยเหลอื ความจำ คือ การทอ่ งจำ การทบทวน หรอื การฝึกหัด และการรวบรวมสง่ิ ที่
เก่ียวพันกันในเหตกุ ารณ์ ซึ่งจะช่วยให้เขาไดเ้ กบ็ สะสมความรู้ไว้ในระดบั ซึ่งสามารถนำมาใช้ไดเ้ มอื่ ต้องการ

๓. การะบวนการแสดงออก (Motor Reproduction Process) คอื การแสดงผลการเรียนร้ดู ว้ ย
การกระทำ คือ การทีเ่ ดก็ เกดิ ผลสำเรจ็ ในการเรยี นรจู้ ากตวั แบบต่างๆ เพอ่ื ใหเ้ กิดความแม่นยำ เด็กจะตอ้ ง
แสดงพฤติกรรมไดจ้ ากการเรียนรู้ด้วยการเคล่ือนไหวออกมา เปน็ การกระทำออกมาในรูปของการใช้กล้ามเน้ือ
ความรสู้ กึ ด้วยการกระทำครง้ั แรกไมส่ มบรู ณ์ ดงั น้ัน เด็กจำเป็นตอ้ งลองทำหลาย ๆ ครง้ั เพ่อื ให้ไดล้ กั ษณะ
พฤติกรรมทต่ี ้องการ แลว้ เขากจ็ ะได้รบั ทราบผลของการกระทำจากประสบการณเ์ หลา่ นั้น เพ่ือนำมาแก้ไข
พฤติกรรมท่ียงั ไมเ่ ขา้ รปู เขา้ รอย สงิ่ นีจ้ ะทำให้เกดิ พัฒนาการในการเรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เด็กที่มีอายุ
มากกวา่ จะมีกล้ามเนื้อที่แขง็ แรงและสามารถควบคุมได้ดีกวา่ เดก็ ทม่ี ีอายนุ ้อยกวา่

๔. กระบวนการจูงใจ (Motivational Process) คอื กระบวนการเสริมแรงใหก้ บั เดก็ เพื่อแสดง
พฤติกรรมตามตัวแบบได้ถกู ต้อง โดยเด็กเกิดการเรยี นรู้จากการเรียนรูจ้ ากการเลยี นแบบตวั แบบที่จะมาจาก
บุคคลที่มีชื่อเสียงมากกวา่ บคุ คลทไ่ี ม่มชี ่อื เสยี ง จากการเลยี นแบบตัวแบบทม่ี าจากบุคคลท่ีเปน็ เพศเดียวกบั เด็ก
มากกวา่ จะเปน็ เพศตรงขา้ มกัน จากการเลียนแบบตวั แบบทเี่ ป็นรางวัล เชน่ เงนิ ช่อื เสียง สถานภาพทาง
เศรษฐกิจสงู จากพฤติกรรมของบุคคลที่ถูกลงโทษ มแี นวโน้มที่จะไมถ่ ูกนำมาเลียนแบบ และจากการทีเ่ ด็ก
ได้รับอิทธิพลจากตัวแบบทม่ี ีความคล้ายคลึงกบั เด็ก ได้แก่ อายุ หรอื สถานภาพทางสังคม

แนวคิดของแบนดรู า เน้นพฤติกรรมใด ๆ ก็ตามสามารถปรับหรือเปลีย่ นได้ตามหลกั การเรียนรู้
เปน็ การกระตุน้ เด็ก มีการเรียนรู้พฒั นาการทางดา้ นสังคม โดยใช้การสังเกตตัวแบบท่เี ด็กเหน็ เดก็ มีระดับการ
เรยี นร้แู ล้ว เด็กจะมที างเลือกใหม่ ๆ เพมิ่ มากข้นึ เพ่ือเกบ็ สะสมพฤตกิ รรมทเ่ี ป็นไปได้เอาไว้ และย่งิ กว่าน้นั ตวั
แปรจะชว่ ยให้เขาเลอื กสถานการณ์ที่ดีทส่ี ดุ ไวใ้ ช้ปฏิบตั ติ ่อไป
๗. การดำเนินงาน/กระบวนการ/วิธปี ฎิบัติ

ทางโรงเรียนได้กำหนดปฏิทินในการดำเนินการโดยใช้ ตามหลกั การ PDCA

P = Plam การกำหนดเป้าหมายและวางแผนการดำเนนิ การ

D = Do ลงมือปฏิบตั งิ านตามแผนทวี่ างไว้

C = Check ตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน หาข้อผดิ พลาด

A = Action ปรบั ปรุง แก้ไขใหด้ ีข้นึ

P = Plam

ขั้นที่ ๑ วเิ คราะห์จดุ เนน้ ของโรงเรียน ในระดบั การศกึ ษาปฐมวยั

ขน้ั ท่ี ๒ ประชมุ สร้างความตระหนักใหก้ บั ผูบ้ ริหาร คณะครรู ะดบั ปฐมวยั และผปู้ กครอง

ให้เห็นความสำคญั ของการแสดงความเคารพแบบวัฒนธรรมไทย

ข้นั ท่ี ๓ มกี ารจัดทำแผนการดำเนินการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมไทย

ในกจิ กรรม 6 หลกั

- กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจงั หวะ - กิจกรรมสรา้ งสรรค์

- กิจกรรมเสรี - กิจกรรมเสรมิ ประสบการณ์
- กจิ กรรมกลางแจง้ - กจิ กรรมเกมการศึกษา

D = Do
ขน้ั ที่ ๔ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา คณะครู และเดก็ ปฐมวยั ปฏบิ ัติตนในการจดั ประสบการณ์

แบบบูรณาการวฒั นธรรมไทย ในกิจกรรม 6 หลกั
ขน้ั ท่ี ๕ ดำเนนิ การตามแผนการจดั ประสบการณท์ ่ีบูรณาการวนั ธรรมไทย ในกจิ กรรม 6

หลกั
กิจกรรมเคลอื่ นไหวและจังหวะ
บรู ณาการในการออกกำลังกายตอนเชา้ โดยการแสดงท่าทางประกอบ
- เพลง “สวัสดยี ามเชา้ ”
- เพลง “เพลงสวสั ดี ขอบคุณและขอโทษ”
- เพลง “มารยาทเด็กไทย”
กจิ กรรมสรา้ งสรรค์
บูรณาการในการจดั กจิ กรรมบรู ณาการ โดยการจดั ทำใบงานศลิ ปะ
- ระบายสีใบงานเดก็ ไหว้
- วาดรปู เดก็ แสดงพฤตกิ รรมการไหว้บคุ คลต่างๆตามจินตนาการ
กิจกรรมเสรี
ใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนในขณะที่ทำกิจกรรม การเล่น

เสรี ภายในหอ้ งเรยี น
- การแสดงการขอบคุณเม่อื เพื่อนแบง่ ปนั
- การแสดงการขอโทษ เมือ่ ทำผดิ

กิจกรรมเสริมประสบการณ์
มีการจัดประสบการณ์แบบบูรณาการวัฒนธรรมในแผนการจัดประสบการณ์สาระ

การเรียนรู้ เรอื่ งราวเกย่ี วกับบุคคลและสถานที่แวดล้อมเด็ก ใน หนว่ ย โรงเรียน และ หน่วย บ้านของ
ฉัน โดยครูทุกท่านจะต้องมีเทคนิคในการจัดกิจกรรมที่แตกต่างกันออกไป เช่น การเล่านิทาน การ
แสดงบทบาทสมมตุ ิ การปฏิบัตติ ามคำส่ัง

กิจกรรมกลางแจง้
ใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมการแสดงออกของนักเรียนในขณะที่ทำกิจกรรม การเล่น

เสรี ภายในห้องเรียน
- การแสดงการขอบคณุ เมอ่ื เพือ่ นแบ่งปัน
- การแสดงการขอโทษ เม่ือทำผดิ

กิจกรรมเกมการศกึ ษา
มีการจัดเกมการศึกษาที่เกี่ยวกับการบูรณาการวัฒนธรรมไทย การไหว้ โดยการให้

นกั เรยี นเลน่ เกมภาพตดิ ต่อ รูปภาพการไหว้ การเล่นเกมปรศิ นาคำทาย

C = Check

ขั้นที่ ๖ สรุปผลและประเมินผลการดำเนินการ โดยมีการประเมินผลการดำเนินการ ๖

ครั้ง ใน ๑ ปีการศึกษา โดยใช้วิธีการประเมิน ใน สมุดบันทึกพัฒนาการนักเรียนปฐมวัย

(อบ. ๒/๑, อบ. ๒/๒ ,อบ. ๒/๓)

ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒

เดอื น พฤษภาคม เดอื น พฤศจกิ ายน

เดอื น กรกฎาคม เดอื น มกราคม

เดือน กันยายน เดือน มีนาคม

A = Action
ขัน้ ที่ ๗ นำผลการประเมนิ พฒั นาการมาวิเคราะห์ เปรยี บเทียบพัฒนาการของนกั เรยี นใน

แตล่ ะหอ้ งเรียน เพื่อวางแผนพัฒนารปู แบบการจดั ประสบการณ์แบบบรู ณาการวัฒนธรรมไทยให้มี
พัฒนาการทีด่ ยี ่ิงขึ้น

แผนผงั การดำเนินงาน

วางแผนการดำเนนิ การจัดประสบการณ์
แบบบูรณาการวฒั นธรรมไทย

คณะผู้บริหาร ครู รับทราบการดำเนินงาน

ระดับปฐมวัย ระดับปฐมวยั ระดับปฐมวยั
ปีที่ ๑ ปีที่ ๒ ปีท่ี ๓

ประเมินพฒั นาการนกั เรยี น เป็นรายบคุ คล

ไม่บรรลุ

ประเมนิ พัฒนการนักเรียนเป็นรายบุคคล

๘. แผนการดำเนนิ งาน/ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน ระยะเวลา
พฤษภาคม ๒๕๖๐ - มนี าคม ๒๕๖๒
พฤษภาคม ๒๕๖๐ - มนี าคม ๒๕๖๒

ขน้ั ตอนการดำเนนิ งาน
๑.ศึกษาจุดเนน้ ของการจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็ก
เปน็ สำคัญ
๒. ออกแบบกจิ กรรมตามแผนท่ีวางไว้
๓. ตรวจสอบและประเมนิ ผล
๔. สรุป/รายงานผล/นำผลการประเมนิ ไปพฒั นาใน
การจัดประสบการณใ์ นปีการศกึ ษาตอ่ ไป

๙. ผลจากการปฏิบัติงาน
ผลการดำเนนิ งานการจดั ประสบการณแ์ บบบรู ณาการวฒั นธรรมไทย ในระยะเวลาตลอดปีการศึกษา

๒๕๖๐ - ๒๕๖๒ พบวา่ เด็กปฐมวัย รจู้ กั การไหว้ทำความเคารพเมื่อพบผูใ้ หญ่ และ มีมารยาทในการอย่รู ว่ มกัน
มพี ฒั นาการที่สงู ขนึ้ ตามลำดับ

๙.๑ รจู้ กั การไหวท้ ำความเคารพเมอ่ื พบผ้ใู หญ่

88

87.5

87

86.5

86

85.5

85

84.5

84 ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๒ ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๓
ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๑

ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดบั ปฐมวัยปีที่ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

๒ ๘๖.๒๘ ๘๗.๐๒ ๘๗.๑๗
๓ ๘๕.๙๖ ๘๖.๔๐ ๘๗.๒๔
๘๕.๓๖ ๘๕.๘๑ ๘๗.๓๖

๙.๒ มมี ารยาทในการอยู่รว่ มกัน

๘๗.๕๐

๘๗.๐๐

๘๖.๕๐

๘๖.๐๐

๘๕.๕๐

๘๕.๐๐

๘๔.๕๐

ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๑ ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๒ ระดบั ปฐมวยั ปีท่ี ๓
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐
ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒

ระดับปฐมวยั ปีที่ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒

๑ ๘๕.๗๒ ๘๗.๑๓ ๘๗.๑๕
๒ ๘๖.๐๘ ๘๖.๔๓ ๘๗.๓๑
๓ ๘๕.๖๒ ๘๕.๖๗ ๘๗.๑๗

๑๐. ปจั จยั ความสำเรจ็
๑๐.๑ ผู้บริหารใหค้ วามสำคญั และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน
๑๐.๒ ครใู นระดบั ปฐมวยั ทุกคนให้ความร่วมมือในการจัดประสบการณ์แบบบรู ณาการวฒั นธรรม

ไทย
๑๐.๓ ผ้ปู กครองให้ความร่วมมือในการอบรมสง่ั สอนนกั เรยี นในดา้ นการแสดงออกทาง

วฒั นธรรมไทย (การไหว้)
๑๐.๔ นกั เรยี นใหค้ วามร่วมมือและสนใจในการจัดกิจกรรม
๑๐.๕ มกี ารวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ตามหลักการ PDCA

๑๑. การเผยแพร/่ การไดร้ ับการยอมรบั
๑๑.๑ การเผยแพร่
๑) เผยแพร่ผลงานการปฏิบตั ิทเ่ี ป็นแบบอยา่ งทดี่ ี การจดั ประสบการณ์แบบบูรณาการ

วฒั นธรรมไทย ทางเฟซบุ๊ก https://www.facebook.com/niramonchumphon
๒) ได้รับเกยี รตบิ ัตรการปฏิบตั ิท่เี ป็นแบบอย่างท่ดี ี ระดับ ดีมาก จากฝ่ายการศึกษาสังฆมณฑลสุ

ราษฎรธ์ านี เมอื่ วนั ที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒

๓) เผยแพรก่ ารดำเนินงานและผลที่ไดร้ ับจากการดำเนินงานแก่คณะผ้บู ริหาร คณะเครอื ขา่ ย

ผปู้ กครองและผู้ปกครองทกุ ท่าน ตลอดจนการเผยแพรผ่ ลการจัดประสบการณแ์ บบบรู ณาการแก่คณะผู้ทเี่ ข้า

มาเย่ียมชมโรงเรียน

ปีการศกึ ษา วนั /เดอื น/ปี คณะดูงาน หวั ข้อในการดูงาน

๒๕๖๐ ๒๖ ก.พ. ๖๑ ศกึ ษาธิการจังหวัดชมุ พร การจัดการศึกษาปฐมวัย

๒๕๖๑ ๘ สิ.ค. ๖๑ คณะผู้บรหิ ารโรงเรียน การจัดการเรยี นการสอน

เอกชน จ.ราชบุรี ระดับปฐมวัย

๒๕๖๒ ๑๗ มิ.ย. ๖๒ ศึกษานิเทศกศ์ ึกษาธกิ าร โครงการพฒั นา

จงั หวัดชมุ พร การศกึ ษาปฐมวัย

๒๕๖๒ ๑๓ ก.พ.๖๓ คณะผ้บู ริหารและ การจดั การเรยี นการสอน

ศกึ ษานเิ ทศก์ศึกษาธกิ าร ระดบั ปฐมวยั

จงั หวัดชมุ พร

๒๕๖๓ ๒๑ ก.ค. ๖๓ คณะผ้บู ริหารและ การจัดประสบการณ์การ

ศึกษานเิ ทศก์ศึกษาธิการ เรยี นรเู้ ดก็ ปฐมวัย

จังหวัดชมุ พร

๑๑.๒ การไดร้ ับการยอมรับ
- ครเู พ็ญนภา เผา่ วหิ ค ซง่ึ เป็นครูผ้สู อนในระดบั ปฐมวัย ได้รับรางวัลดีเด่น ผลงานวิธกี าร
ปฏบิ ตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practices) ด้านการจัดประสบการณ์ปฐมวัย ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวดั ชมุ พร
- คณะผู้บริหาร ครู ผูป้ กครอง นักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษา มีความพึงพอใจต่อการ
ดำเนนิ งานพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รยี นในระดับปฐมวัย ผา่ นการจัดประสบการณ์แบบบรู ณาการวัฒนธรรมไทย
(การไหว้)

ภาพประกอบ

การศึกษาดงู านจากบุคคลภายนอกดา้ นการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูร้ ะดับปฐมวยั
การได้รบั รางวลั และการเผยแพร่การปฏิบตั ทิ เี่ ป็นแบบอยา่ งท่ีดี

คณะผบู้ รหิ าร
โรงเรยี นเอกชน

จ.ราชบรุ ี

คณะผบู้ รหิ ารและ
ศกึ ษานิเทศก์
ศกึ ษาธิการ
จ.ชมุ พร

คณะผบู้ รหิ ารและ
ศกึ ษานิเทศก์
ศกึ ษาธิการ
จ.ชมุ พร

ศกึ ษานิเทศน์
สานกั งาน
ศกึ ษาธิการ
จ.ชมุ พร

รางวัลการปฏบิ ตั ทิ เี่ ป็ นแบบอย่างที่ดี

เกยี รติบัตรครูผู้สอนระดับปฐมวยั ได้รับรางวลั ดเี ด่น ผลการ
ปฏบิ ัติงานทเ่ี ปน็ เลศิ (Best Practices) ด้านการจดั ประสบการณ์
ปฐมวัย ของสำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดชมุ พร


Click to View FlipBook Version