The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Innovation สานฝันปันรัก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NIRAMON CHUMPHON SCHOOL, 2021-07-17 06:16:22

Innovation สานฝันปันรัก

Innovation สานฝันปันรัก

1



นวตั กรรม

๑. ชื่อผลงาน ส่งเสริมคุณคา่ ความเปน็ มนษุ ย์ รว่ มมอื สร้างเพ่ือสานฝนั ปันรัก

๒. ชอ่ื เจา้ ของผลงาน นางสาวนุจรินทร์ จิตต์อทุ ศั

โรงเรียน นริ มลชุมพร สงั กัด สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศกึ ษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธิการ

ทีอ่ ยู่ ๒๕๓หมู่ ๙ ตำบล ตากแดดอำเภอ เมือง จังหวัด ชุมพร รหสั ไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐

โทรศัพท์ ๐-๗๗๕๐-๒๑๔๕ เว็บไซต์ www.niramon.ac.th E – mail : [email protected]

๓. หลกั การเหตผุ ล/ความเป็นมา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๒ กำหนด

จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกายจิตใจ สติปั ญญา ความรู้

คุณธรรม มีจริยธรรม วัฒนธรรมในการดำรงชีวิต และเห็นคุณค่าศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โรงเรียนในฐานะ

หน่วยงานที่มีความใกล้ชิดกับรักเรียนมากที่สุดจึงมีภารกิจที่สำคัญในการพัฒนานักเรียนทั้งด้านความรู้ และ

คณุ ธรรมจริยธรรม โดยอาศัยความรว่ มมือในการพัฒนาจากทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง การศกึ ษาในยุคปัจจุบันนั้นมิได้

มุ่งหวังให้ผู้เรียนเป็นคนเก่งเท่าน้ัน แต่ยังมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนเป็นคนมีคุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม รู้จักช่วยเหลือ

ผู้อื่นตามกำลังความสามารถของตนเอง และหนึ่งในปัญหาที่ควรได้รับความช่วยเหลือคือ ปัญหาความยากจน

ของคนในสังคม ซึ่งทำให้หลายครอบครัวอยู่ในภาวะที่ขาดแคลนไม่มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจอีกทั้งใน

ครอบครัวยังมีผู้สูงอายุ ผู้เจ็บป่วย และผู้ที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ทำให้มีความยากลำบากในการดำเนินชีวิต

ฝา่ ยงานจติ ตาภบิ าลจึงเหน็ สมควรจดั ทำโครงการสานฝันปันรักขึ้น เพ่ือเปน็ การปลกู ฝงั ใหน้ ักเรียนรู้จกั รัก รับใช้

แบ่งปัน และช่วยเหลือผู้อื่น เพื่อให้พวกเขาเหล่านั้นมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมี

ประสิทธิภาพ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้นักเรียนเข้าใจในอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ รัก และรับใช้ รู้จักรัก

เสียสละเพื่อผู้อน่ื และร้จู ักมัธยัสถ์ อดออม โดยมงุ่ พัฒนานกั เรยี น ใหม้ ีทัศนคติ วิธคี ดิ และการประพฤติปฏิบัติท่ี

สะทอ้ นคุณธรรมจรยิ ธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสมกับสังคมไทย

ทั้งนี้ เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีความประพฤติด้านคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสังคม และจิตสำนึก

ตามวัฒนธรรมอันดีของสังคม ภาคภูมิใจในความเป็นมนุษย์ และเห็นคุณค่าในศักดิ์ศรีของตนเอง มีเหตุมีผล

และยอมรับเหตุผลความคิดเห็นของผู้อื่น มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างสงบสุข

โรงเรียนจงึ ไดก้ ำหนด “ส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนษุ ย์ ร่วมมือสร้างเพื่อสานฝันปันรัก” คือ การให้บุคลากรใน

โรงเรยี น ไมว่ า่ จะเปน็ ผบู้ ริหาร คณะครู และนกั เรยี นได้ตระหนักถงึ ศักด์ิศรีความเป็นมนุษยข์ องแตล่ ะบุคคล ไม่

ดูถูก เหยียดหยาม แต่ร่วมมือกันสร้างสังคมให้เป็นสังคมท่ีนา่ อยู่ โดยการแสดงความรกั การอกจากตัวเองเพอ่ื

ไปชว่ ยเหลือผทู้ ่ีต้องการความช่วยเหลือ ผู้ที่ถกู ทอดทง้ิ จากสงั คม อีกทง้ั เปน็ การสานฝนั ของบคุ คลเหล่านั้นได้อยู่

ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสุข และเห็นคุณค่าในตัวเองมากยิง่ ขน้ึ



๔.วตั ถปุ ระสงค์

๔.๑. เพือ่ สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นมีความเขา้ ใจในอัตลักษณ์ของโรงเรียน คอื รัก และรบั ใช้

๔.๒. เพอื่ พฒั นานักเรียนให้รจู้ ักรกั เสยี สละเพ่อื ผู้อื่น โดยการร้จู ักมธั ยัสถ์ อดออม
๕. แนวคดิ /ทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้อง

การดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมในโรงเรยี น ไดด้ ำเนนิ การโดยใช้นวตั กรรม ขัน้ ตอนของวงจร PDCA มา
จากคำภาษาอังกฤษ ๔ คำ ได้แก่ Plan (วางแผน) Do (ปฏิบัติ) Check (ตรวจสอบ) Act (ดำเนินการให้
เหมาะสม)

โครงสรา้ งของวงจร PDCA ขน้ั ตอนท้ัง ๔ ขั้นตอนของวงจร PDCA ประกอบด้วย "การวางแผน" อย่าง
รอบคอบ เพื่อ " การปฏิบัติ " อย่างค่อยเป็นค่อยไป แล้วจึง "ตรวจสอบ" ผลที่เกิดขึ้น วิธีการปฏิบัติใดมี
ประสิทธิผลที่สุด ก็จะจัดให้เป็นมาตรฐาน หากไม่สามารถบรรลุเป้าหมายได้ ก็ต้องมองหาวิธีการปฏิบัติใหม่
หรือใชค้ วามพยายามให้มากข้นึ กวา่ เดมิ

ข้ันที่ ๑ ขนั้ ตอนการวางแผน (Plan)

ขั้นตอนการวางแผนครอบคลุมถึงการกำหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึง
การพฒั นาส่งิ ใหม่ ๆ การแกป้ ญั หาที่เกดิ ขึ้นจากการปฏิบตั ิงาน ฯลฯ พรอ้ มกับพิจารณาวา่ มีความจำเป็นต้องใช้
ข้อมลู ใดบ้างเพื่อการปรับปรงุ เปลี่ยนแปลงนน้ั โดยระบุวธิ ีการเก็บข้อมูลใหช้ ัดเจน นอกจากน้ี จะต้องวิเคราะห์
ขอ้ มลู ท่ีรวบรวมได้ แลว้ กำหนดทางเลือกในการปรับปรงุ เปลีย่ นแปลงดังกล่าว

๑. “ คิดดี ” ( HAED ) คนไทยมีปัญญาเฉียบแหลม หมายถึง คนไทยที่มีความรู้ มีปัญญา ในการคิด
แก้ปัญหาต่างๆ อย่างเหมาะสม ด้วยสันติวิธี ได้แก่ การเสนอวิธีคิด วิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเองได้ กำหนด
เป้าหมาย คาดการณ์และตัดสินใจแก้ปัญหาได้โดยมีเหตุผลประกอบ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ

๒. “ จิตใจดี ” ( HEART ) มีจิตใจท่ีดงี าม หมายถงึ การปฏิบัตทิ ่มี จี ิตสาธารณะ ยึดประโยชน์ส่วนรวม
เป็นที่ตั้ง มีจิตใจที่ร่าเริงแจ่มใส รักการทำงาน สามารถทำงานและปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับผู้อื่นด้วยความสนุก
สามารถบังคับอารมณ์ จติ ใจไม่ให้ข่นุ มัว ขม่ อารมณโ์ มโห โกรธ ทำจติ ใจให้เบิกบานอยเู่ สมอ

๓. “ ทำดี ” ( HAND ) มีทักษะที่เน้นผล หมายถึง การมีทักษะในการปฏิบัติงานต่างๆตามที่ได้รับ
มอบหมายไดส้ ำเร็จ ดว้ ยความรบั ผิดชอบ มวี ินยั ทำงานร่วมกับผ้อู ื่นไดด้ ี

ขนั้ ท่ี ๒ ข้ันตอนการปฏบิ ตั ิ (DO)

ขั้นตอนการปฏิบัติ คือ การลงมือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้กำหนดไว้ในขั้นตอนการ
วางแผน ในข้ันนี้ตอ้ งตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติดว้ ยวา่ ได้ดำเนินไปในทิศทางที่ตั้งใจหรือไม่ พร้อมกับส่ือสาร
ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบด้วย เราไม่ควรปล่อยให้ถึงวินาทีสุดท้ายเพื่อดูความคืบหน้าที่เกิดขึ้น หากเป็นการ



ปรับปรุงในหน่วยงานผู้บริหารย่อมต้องการทราบความคืบหน้าอย่างแน่นอน เพื่อจะได้มั่นใจว่าโครงการ
ปรบั ปรงุ เกิดความผิดพลาดนอ้ ยทสี่ ดุ ดงั น้ี

ขนั้ ท่ี ๓ ข้นั ตอนการตรวจสอบ (Check)

ขัน้ ตอนการตรวจสอบ คอื การประเมินผลท่ีได้รับจากการปรับปรุงเปลย่ี นแปลง แตข่ ้นั ตอนนี้มักจะถูก
มองข้ามเสมอการตรวจสอบทำให้เราทราบว่าการปฏบิ ัติในขัน้ ท่ีสองสามารถบรรลเุ ป้าหมายหรือวตั ถุประสงค์ท่ี
ได้กำหนดไว้หรือไม่ สิ่งสำคัญก็คือ เราต้องรู้ว่าจะตรวจสอบอะไรบ้างและบ่อยครั้งแค่ไหน ข้อมูลที่ได้จากการ
ตรวจสอบจะเปน็ ประโยชนส์ ำหรับขน้ั ตอนถดั ไป

ขั้นที่ ๔ ขั้นตอนการดำเนนิ งานให้เหมาะสม (Act)

ขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมจะพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ ๒ กรณี คือ ผลที่
เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่วางไว้ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หากเป็นกรณีแรก ก็ให้นำแนวทางหรือ
กระบวนการปฏิบัตินั้นมาจัดทำให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจ
หมายถงึ สามารถบรรลเุ ป้าหมายไดเ้ รว็ กวา่ เดมิ หรอื เสยี ค่าใช้จา่ ยน้อยกว่าเดิม หรอื ทำใหค้ ณุ ภาพดียิง่ ขึ้นก็ได้แต่
ถ้าหากเป็นกรณีที่สอง ซึ่งก็คือผลที่ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ เราควรนำข้อมูลที่รวบรวมไว้มา
วิเคราะห์ และพจิ ารณาวา่ ควรจะดำเนนิ การอย่างไรตอ่ ไปน้ี

• มองหาทางเลือกใหม่ท่ีน่าจะเป็นไปได้
• ใช้ความพยายามให้มากข้นึ กวา่ เดิม
• ขอความช่วยเหลือจากผ้รู ู้
• เปล่ียนเปา้ หมายใหม่
๖. การดำเนนิ งาน /กระบวนการ/วธิ ีปฏบิ ตั ิ
๖.๑ การออกแบบผลงาน / นวัตกรรม
จากการพิจารณารูปแบบการ ส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์ ร่วมมือสร้างเพื่อสานฝันปันรัก พบว่า
รูปแบบมีความเหมาะสมในการนำไปใช้ มีความเป็นไปได้และเปน็ ประโยชนใ์ นการส่งเสริมและพัฒนานักเรียน
ให้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม โดยแบ่งการดำเนินงานออกเป็น ๔ ขั้นได้แก่ ขั้นตอนการ
วางแผน (Plan) ข้นั ตอนการปฏบิ ัติ (DO) ข้ันตอนการตรวจสอบ (Check) ขัน้ ตอนการดำเนินงานให้เหมาะสม
(Act) ดังนี้



แผงผงั การดำเนนิ งาน

ประชมุ วางแผนการดำเนินงาน ไม่บรรลุ
ครแู ละนักเรียนดำเนินงานกิจกรรมตามแผน

ติดตามผลและประเมินผล
สรุป/รายงาน/เผยแพร่

ดำเนนิ การพฒั นานวตั กรรมอยา่ งต่อเนือ่ ง

๖.๒ การดำเนนิ งานตามกจิ กรรม
สร้างความรู้ความเข้าใจกับบุคลากรทุกฝ่าย เพื่อนำโครงการส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์ ร่วมมือ

สร้างเพื่อสานฝันปันรักมาจัดกิจกรรมต่างๆ นำ Model ไปใช้ดำเนินงานในทุกภาคส่วน มีการกำหนดแนว
วิธดี ำเนินการ เพื่อให้บรรลเุ ปา้ หมายใน อนาคต เน้นการพฒั นาศักยภาพของคนให้สามารถพัฒนานวัตกรรม มี
การทำงานเป็นทีม เพื่อสร้างคุณค่าให้กับโรงเรียนและส่งเสริมคุณธรรมให้กับนักเรียนผ่านกระบวนการการ
จัดการความรูอ้ ย่างเป็นระบบกระบวนการพฒั นานวตั กรรมสานฝนั ปันรัก

ขัน้ PLAN : การวางแผน

๑. โรงเรียนได้แต่งตั้งฝ่ายดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม เพื่อศึกษาวิเคราะห์จุดเน้นด้านคุณธรรม และ
บรบิ ทของสถานศกึ ษาภายใต้กรอบหลกั การคุณธรรม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น และมจี ดุ เน้น ได้แก่
ความพอเพียง ความกตัญญู ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ ผสานหลักคุณธรรมตามหลั กศาสนาและหลัก
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กำหนดเป็นอตั ลักษณแ์ ละเป้าหมายความสำเรจ็ ดา้ นคณุ ธรรมของโรงเรียน



๒. ฝ่ายดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม (ฝ่ายจิตตาภิบาล) ประชุมปรึกษาทบทวนแนวทางพัฒนา เพ่ือ
กำหนดจดุ ประสงค์ การดำเนนิ งาน เปา้ หมายของการปฏบิ ัติท่ีสอดคล้องและชัดเจน อีกท้ังเปน็ การนำสิ่งที่ควร
พฒั นาใหด้ ขี ึ้นมาปรับเปลย่ี นให้เหมาะสม และใหเ้ กดิ คุณธรรม จริยธรรมทเ่ี ดน่ ชัดสำหรับนักเรียน และสังคม

ขัน้ DO : การดำเนนิ งาน

๑. โรงเรียนและฝ่ายดำเนินงานกำหนดแนวทาง วิธีการพัฒนาคุณธรรมของโรงเรียนโดยจัดทำ
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ด้วยกระบวนการ PDCA โดยมุ่งเน้นพัฒนาคนดี
เพ่ือใหอ้ ยรู่ ว่ มกันในสังคมได้อย่างมีความสุข ซ่งึ กำหนดเปน็ โครงงานของโรงเรียน และแตง่ ตั้งผรู้ ับผิดชอบอย่าง
ชัดเจน

๒. ฝ่ายดำเนินงานมอบหมายให้ครูประจำชน้ั และนักเรียนสำรวจหาครอบครัวที่เหมาะสมในการเข้าไป
ช่วยเหลือ ดูแล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดขี ึน้ ของบุคคลเหลา่ นัน้ โดยเน้นให้เป็นครอบครัวที่ต้องการความชว่ ยเหลอื
จรงิ มคี วามลำบากในความเป็นอยู่ การใช้ชวี ิต บุคคลท่ีถกู สงั คมมองขา้ ม ถูกละเลยในการได้รับความช่วยเหลือ
จากหน่วยงาน

๓. ฝ่ายดำเนินงานและครูประจำชั้นมีหน้าที่ในการอธิบายจุดประสงค์ของการดำเนินงาน ส่งเสริม
คุณค่าความเป็นมนุษย์ ร่วมมือสร้างเพื่อสานฝันปันรัก ให้กับนักเรียนได้ตระหนักและเข้าใจถึงคุณค่าศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย์ที่แต่ละคนพึงมี ให้นักเรียนได้ออกจากตนเองในการเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ โดยให้นักเรียนอด
ออม หรอื เสยี สละส่งิ ทีม่ ีเพอื่ นำไปชว่ ยเหลือบคุ คลท่ดี ้อยโอกาส บคุ คลที่ต้องการความชว่ ยเหลอื

๔. ฝ่ายดำเนินงานจัดทำรูปเล่มในการบันทึกกิจกรรมให้กับครูประจำชัน้ และนักเรียนไดท้ ำการบันทกึ
การเยยี่ มเยยี นในแต่ละครั้ง พร้อมทง้ั บนั ทึกความประทับใจและส่งิ ทนี่ ักเรียนได้รบั

๕. ครปู ระจำช้ันและนกั เรยี นเริ่มออกเยย่ี มเยียน โดยกำหนดเทอมละ ๑ ครัง้ ในการไปช่วยเหลอื ดูแล
และติดตามความเป็นอยู่ โดยกำหนดวนั เวลา และสถานที่ ที่จะไป พร้อมทั้งให้นักเรียนเตรียมสิ่งของที่จำเปน็
ในการดำรงชีวิต เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง หรือปัจจัยที่พอเหมาะสำหรับแต่ละครอบที่เข้าไปดูแลให้ความ
ชว่ ยเหลอื

ขนั้ CHECK : การตรวจสอบ

๑. ฝ่ายการดำเนินงานมีการติดตาม เป็นระยะๆ ให้คุณครูประจำชั้นส่งการบันทึกของตนเอง เพ่ือ
ตรวจสอบปีการศึกษาละ ๑ ครั้ง โดยมีการประเมินความพึงพอใจทุกครั้งที่ได้ไป เพื่อเป็นการส่งเสริมนักเรียน
ใหร้ กั ผอู้ น่ื มากข้นึ มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจซงึ่ กนั และกัน และรู้จกั เคารพความเป็นมนุษยข์ องแตล่ ะบุคคล



ขน้ั ACT : การสะท้อนผล

๑. โรงเรียนมีการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายในของสถานศกึ ษาปีการศึกษาละ ๑ ครง้ั เพ่ือประกัน
คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนและระบบควบคุมภายใน เพื่อสะท้อนผลการดำเนินงานทีม่ ีคณุ ภาพรายงานต่อ
ฝ่ายการดำเนินงาน และคณุ ภาพของนักเรยี นโรงเรียนนิรมลชุมพร

๖.๓ ประสิทธผิ ลของรูปแบบการดำเนินงาน
ผลท่เี กิดขึ้นกับผู้บรหิ าร
๑. ผบู้ รหิ ารตระหนักถึงความสำคัญในด้านการพฒั นาคณุ ธรรมขององค์กร มีภาวะผ้นู ำบรหิ าร

จัดการงานอย่างเป็นระบบตามหลักความรกั ยึดความโปร่งใสตรวจสอบได้ ปฏิบัติหน้าที่เต็มศักยภาพ ส่งเสรมิ
การขบั เคลอื่ นโรงเรยี นคุณธรรมใหบ้ รรลุเปา้ หมาย ประสบความสำเร็จ โดยติดตามดแู ลอย่างตอ่ เน่ือง ตลอดจน
พฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี

ผลทเ่ี กดิ ข้ึนกับครู
๑. ครปู ระพฤตปิ ฏบิ ัตติ นอยูใ่ นความดี อทุ ศิ ตนตอ่ สว่ นรวมเสยี สละเวลาเพอ่ื ผู้อน่ื มากขึ้น
๒. ครูมีจติ อาสาและเป็นผู้นำนกั เรียนในการออกไปเยยี่ มเยยี นชมุ ชน สังคม
๓. ครสู ามารถเป็นประจักษพ์ ยานในความดีและความรบั ผิดชอบต่อสงั คมทตี่ นอาศัยอยู่

ผลที่เกดิ ขนึ้ กบั นกั เรียน
๑. นกั เรยี นมคี วามเข้าใจในอตั ลักษณข์ องโรงเรียน คือ รัก และรบั ใช้
๒. นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม คุณลักษณะที่ดีตามที่โรงเรียน

กำหนด และได้ลงมือปฏิบัติในแต่ละระดับชั้น ตลอดจนมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและต่อสังคมส่วนรวม
เกิด ความมวี ินัย มจี ติ อาสามนี ้ำใจต่อผอู้ ื่น มีความเสียสละ

๓.นักเรียนได้เรียนรู้จักการเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ รู้จักออกจากตัวเองในการช่วยเหลือผู้อื่น
และแบง่ ปันสง่ิ ของสำหรับผทู้ ต่ี อ้ งการความชว่ ยเหลอื

๙๘.๐๐
๙๗.๐๐
๙๖.๐๐
๙๕.๐๐
๙๔.๐๐
๙๓.๐๐
๙๒.๐๐
๙๑.๐๐

ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๑ ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๒
ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒



ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ ปี ๒๕๖๐ ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒
๑. นักเรียนมีความเข้าใจในอัตลักษณ์ของโรงเรียน คือ ๙๓.๑๙ ๙๔.๖๘ ๙๖.๖๘
รกั และรับใช้
๒. นักเรียนรู้จักรัก เสียสละเพื่อผู้อื่น โดยการรู้จัก ๙๓.๕๗ ๙๕.๑๔ ๙๗.๒๓
มัธยัสถ์ อดออม

ผลทีเ่ กิดขึ้นกบั โรงเรยี น
๑. ผลการดำเนนิ งานด้านโรงเรียนคณุ ธรรมมีทิศทางท่ีชัดเจน จนเกิดเป็นแนวทางการปฏิบตั ิ

ที่เป็นเลิศ (Best practice) ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเชิงบวกในโรงเรียน ส่งผลต่อความเชื่อมนั่
และความไว้วางใจตอ่ ชมุ ชนในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนตอ่ โรงเรยี นนิรมลชุมพร

ผลทเ่ี กิดขน้ึ กับครอบครัวของนักเรยี น
๑. ผู้ปกครองเห็นการเปลี่ยนแปลงและพึงพอใจในการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรยี น

ทั้งทางด้านระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคมของนักเรียน ทำให้
ผู้ปกครองตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในดูแลเอาใจใส่นักเรียนและกิจกรรมของโรงเรียนมากข้ึน
ตลอดจนการเป็นแบบอยา่ งท่ีดี

ผลทเ่ี กิดข้ึนกบั ชุมชน
๑. ชุมชนและสังคมเลง็ เห็นและตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคณุ ธรรมให้กับนักเรยี น

เพอื่ สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นเปน็ คนดีของสังคม โรงเรยี นจงึ ได้รบั การสนบั สนนุ และสง่ เสริมการทำกิจกรรมเพื่อสังคม
อย่างต่อเนื่อง

๒. ชุมชนตระหนักและเหน็ ถึงความสำคัญในการพฒั นานักเรยี นให้เป็นเยาวชนท่ีดีของสงั คม
๗. แผนการดำเนนิ งาน / ระยะเวลาในการดำเนนิ งาน

พฤษภาคม ๒๕๖๐ – มีนาคม ๒๕๖๒
๘. ผลท่ีเกดิ จากการนำนวตั กรรมไปใช้

จากการดำเนินงาน ส่งเสรมิ คณุ ค่าความเป็นมนุษย์ ร่วมมอื สร้างเพ่ือสานฝันปนั รัก ดว้ ยการให้ทุกคนมี
สว่ นร่วมในการชว่ ยกันวางแผน ช่วยกนั คิด รว่ มมอื กนั พฒั นาดว้ ยการลงมอื ปฏบิ ัติ ทำให้เกดิ บทเรยี น ดงั นี้

การดำเนินงานในด้านคุณธรรมถือว่าเป็นจุดเด่นของการสร้างนักเรียนให้เป็นคนดีของสังคม เป็นการ
ปลูกฝังให้นักเรียนได้รู้จักรักและเคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ของตนเอง โรงเรียนนิรมลจึงได้เล็งเห็น
ความสำคัญในเรื่องคุณธรรมโดยมีการวางแผนการดำเนินงานจากฝ่ายงานที่รับผิดชอบและมอบหมายให้ครู
ประจำชั้นและนักเรียนได้มีส่วนในการรับผิดชอบด้วยกัน ซึ่งต้องมีความต่อเนื่อง ตลอดผู้ดำเนินงานต้องรู้
รายละเอียดขั้นตอน และเป้าหมายของงาน มีความรับผิดชอบรู้จุดแข็งจุดอ่อนแล้วร่วมกันปรับปรุงพัฒนา จึง
จะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย ได้เรียนรู้กระบวนการส่งเสริมคุณธรรม นำสู่ความเป็นเลิศ พัฒนาผู้เรียน
ให้เป็นผู้ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคม มี



จิตใจโอบอ้อมอารี อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มีทักษะในการดำเนินชีวิต รู้จักประหยัด รู้จักคิดเป็น ทำ
เปน็ และแกป้ ญั หาเป็น
๙. ปัจจัยท่ีทำใหป้ ระสบความสำเร็จ

๑. การจัดวางแผนการจดั การที่มีรูปแบบชดั เจน เนื่องจากโรงเรียนเปน็ สถานศกึ ษาขนาดใหญ่
มีครู บุคลากรและนักเรียนจำนวนมาก ต้องอาศัยการทำงานที่มีการวางแผน การกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจน
การบริหารจดั การบคุ ลากร การจัดการนำส่กู ารปฏิบตั ิ เปน็ กระบวนการทำงานท่ขี ับเคลอ่ื นอยา่ งเป็นระบบ

๒. การกำหนดภาระหน้าที่ของแต่ละฝ่ายงานให้เกิดความชัดเจน เพื่อให้การทำงานเกิดผลไปใน
ทิศทางเดยี วกนั และมกี ่อใหค้ วามร่วมมือของครูและนักเรียน

๓. ครแู ละนักเรยี นมีการวางแผนการทำงานร่วมกนั ช่วยกนั คดิ แบง่ งานใหแ้ ตล่ ะคนได้รับผิดชอบตาม
ความเหมาะและตามกำลงั ของตนเพื่อใหส้ ำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์

๔. การลงพื้นที่และออกสู่ชุมชน ทำให้ชุมชนยอมรับความช่วยเหลือจากโรงเรียน ช่วยกันสร้างให้
ชมุ ชน สังคม โรงเรียนสามารถเปน็ หน่ึงเดียวกัน

๕. ผู้ปกครอง ครแู ละนกั เรยี นให้ความรว่ มมือในการหาสิ่งของ เครื่องใชท้ ่จี ำเป็นต่อการดำรงชวี ติ และ
ปัจจยั ตามกำลงั ของแต่ละครอบครวั เพื่อนนำไปชว่ ยเหลือผทู้ ดี่ อ้ ยโอกาสในสงั คม ชมุ ชน ให้มชี วี ิตความเป็นอยู่ท่ี
ดีขนึ้ เหน็ คณุ คา่ ในความเป็นมนุษยข์ องตนเอง
๑๐. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรับ/และรางวัลท่ไี ดร้ บั

๑๐.๑ นกั เรยี นได้รบั คำชมเชยจากผบู้ ริหารโรงเรยี นและคณะครู
๑๐.๒ นักเรียนได้มีคุณธรรมต่อตนเอง ผู้อืน่ และสังคม โดยการออกจากตัวเองเพ่ือช่วยเหลือผู้อ่ืนและ
สังคม
๑๐.๓ ได้ทำการเผยแพร่ผลงาน / นวัตกรรม เรื่อง ส่งเสริมคุณค่าความเป็นมนุษย์ ร่วมมือสร้างเพื่อ
สานฝันปนั รัก ของนกั เรยี นโรงเรยี นนิรมลชุมพร ในเว็บไซต์ www.niramon.ac.th



ภาพประกอบ

กจิ กรรมวนั กตัญญู

๑๐

ครูประจำชนั้ เยี่ยมบา้ นนักเรยี น

นกั ศกึ ษาวิชาทหารร่วมบรจิ าคโลหติ

กจิ กรรมวนั เข้าพรรษา

๑๑

จิตอาสากิจกรรมวนั เด็กแห่งชาติ ณ ค่ายทหารมณฑลทหารบกที่ ๔๔

นศท.ฐาปกรณ์ ปฐวีศรสี ุธา
เข้ารับเกียรตบิ ัตรโครงการสมาส รด.
จากผ้บู ญั ชาการมณฑลทหารบกท่ี ๔๔
ณ มณฑลทหารบกที่ ๔๔

รด.จิตอาสาโรงเรยี นนิรมลชุมพร
หนว่ ยฝกึ นักศกึ ษาวิชาทหารมณฑลทหารบกท่ี ๔๔
เข้าร่วมโครงการจติ อาสา Big Cleaning Day
เรอื นจำจงั หวัดชุมพร

จิตอาสาเป็นสตาฟในงานชมุ นุมลูกเสือรตั นโกสินทร์
ครัง้ ท่ี ๘ ณ คา่ ยลูกเสอื วชิราวุธ
อำเภอศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี

๑๒

สานฝันปนั รกั


Click to View FlipBook Version