The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NIRAMON CHUMPHON SCHOOL, 2021-07-14 03:24:00

Beat Practice NIRAMON Model

Beat Practice NIRAMON Model

วธิ ีปฏิบตั ิท่ีเป็นเลิศ (Best Practice)

๑. ชือ่ ผลงาน การบริหารจัดการโรงเรียนนิรมลชุมพรที่มีประสิทธิภาพ NIRAMON MODEL โดยใช้การ
บรหิ ารแบบธรรมาภิบาลด้วยระบบคุณภาพ PDCA

๒. ช่ือเจา้ ของผลงาน นางสาวสุนิดา ศิริมงคล นางสาวศรปี ระไพ พลนลิ
โรงเรียนนิรมลชุมพร
สังกัดสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ทอี่ ยู่ ๒๕๓ หมู่ ๙ ตำบล ตากแดด อำเภอเมือง
จังหวดั ชุมพร รหัสไปรษณีย์ ๘๖๐๐๐
โทรศพั ท์ ๐๗๗-๕๐๒๑๔๕ เว็บไซต์ www.niramon.ac.th
E–mail : [email protected]

๓. สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา (ทำเครื่องหมาย ในช่อง ☐ ท่สี อดคล้อง )

☐ คณุ ภาพผเู้ รยี น

☑ กระบวนการบริหารและการจดั การ

☐ กระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่เนน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคัญ
๔. ที่มาและความสำคญั

กระแสโลกาภิวัตน์ (Globalization) และความก้าวหน้าของระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ
(Information Technology : IT) ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงต่างๆขึ้นในโลกมากมาย ทั้งในเชิงที่ได้
ผลประโยชน์ ที่เป็นโอกาสในการเรียนรู้วิทยาการและระบบบริหารจัดการที่ก้าวหน้า และในเชิงที่เสีย
ผลประโยชน์ ผ้มู ขี ้อมลู มากกวา่ มีความรู้มากกวา่ สามารถสรา้ งกฎระเบียบโลก (New World Order) ระบบ
เศรษฐกจิ ใหม่ (New Economy) และใช้ความก้าวหนา้ ของ IT ออกมาหาประโยชนจ์ ากประเทศท่ีลา้ หลังกว่า
หรือปรับตวั ไมท่ ันรวมทัง้ ประเทศไทย ดงั เชน่ ท่ีสงั คมไทยสามารถตดิ ตอ่ คา้ ขายกบั ต่างประเทศสะดวกรวดเร็ว
ขึ้นจากระบบพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์ (E- Commerce) รับรู้ข่าวสารที่เกิดขึ้นในอีกซีกโลกหนึ่งไปได้พร้อมๆ
กับประชาชนเจา้ ของประเทศน้ันๆ สามารถเรยี นรู้องคค์ วามรู้จากมหาวิทยาลัยหรือแหลง่ ความรู้ รูปแบบอื่นๆ
ในต่างแดน ฯลฯ ในขณะเดียวกันสังคมไทยก็ต้องเผชิญกับปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจจากการรู้ไม่เท่าทัน เปิด
เสรีทางการเงินโดยที่ยังมิได้เตรียมการด้านระเบียบและโครงสร้างทางการเงินไว้รองรับความเปลี่ยนแปลงอัน
เกดิ จากความกา้ วหน้าและความเปลี่ยนแปลงของโลกเหล่านั้น อันนำมาซง่ึ ปญั หาสังคมต่างๆ ตามมามากมาย

ทั้งทางตรง คือ การไหลเข้ามาของวัฒนธรรมอันไม่พึงประสงค์จากต่างประเทศผ่านระบบเครือข่ายข้อมูล
ระหวา่ งประเทศ (Internet) และแม้แต่ระบบสอ่ื สารมวลชนปกติ เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ หนังสอื พมิ พ์ ฯลฯ

เป็นต้น และ ทางอ้อมที่ต้องมีคนตกงาน เป็นโรคเครียดและป่วยทางจิต ปัญหายาเสพติด ฯลฯ ผลกระทบ
อันเกิดจากกระแสโลกาภิวัตน์ได้ก่อให้เกิดกระแสต่อต้านขึ้นทั่วโลก จากผู้ที่ได้รับผลกระทบในเชิงที่เสีย

ผลประโยชน์เพราะมองเห็นว่าเป็นการเอาเปรียบจากผู้ที่เจริญทางวัตถุและมีโอกาสมากกว่า ซ่ึงเราเรียก
กระแสการต่อต้านนี้ว่าเป็นกระแสของ “คลื่นลูกที่สาม” (The Third Wave) ที่ต้องการสร้างความเป็นธรรม

ขึ้นในสังคมโลก โดยมีแนวคิดว่าจะต้องเริ่มต้นจากการกระจายอำนาจในการตัดสินใจจากรัฐบาลที่มีระบบ
และโครงสร้างการบริหารไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตามบริบทของโลก เพื่อนำไปสู่การกระจายอำนาจด้าน

อื่นๆ ในสังคม ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การสื่อสาร พลังงาน ระบบการศึกษา ลักษณะการ
ประกอบการ จึงอาจเกิดจากความ ขัดแย้งกัน ระหว่างคลื่นลูกที่สอง คือ สังคมอุตสาหกรรมแบบดั้งเดิม กับ

คลื่นลูกที่สาม เพื่อให้สังคมไทยเป็นสังคมแห่งสันตสิ ุขไม่เกดิ ความขดั แย้งระหวา่ งแนวคิดของคลื่นลูกที่สองกบั
แนวคิดคลื่นลูกที่สาม สังคมไทยจึงต้องปรับตัวเริ่มตั้งแต่การปรับกระบวนทัศน์ใหม่ (Paradigm

Shift Change) ในการพัฒนาประเทศ ดังจะเห็นได้จากการกระจายอำนาจการตัดสินใจผ่านกระบวนการ
กำหนดนโยบายการพัฒนาประเทศให้ประชาชนทุกระดับ ทุกอาชีพ ทั่วประเทศ เข้ามาร่วมร่างแผนพัฒนา

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๘ และ ๙ ทีต่ ่างกเ็ นน้ ท่กี ารพัฒนา “คน” เพื่อใหค้ นไทยเป็นคนดีมีความรู้
ปรับตัวไดท้ ว่ั โลก (Empowerment) และการพฒั นา “ระบบรอบตวั คนเก่ง” อนั ได้แก่ กฎ ระเบยี บ วิธีบริหาร
จัดการ ใหเ้ อ้อื ต่อการพฒั นาคน (Enabling Environment) ให้คนไทยทุกคนมโี อกาสรว่ มสร้างความสุขและ

คณุ ภาพชีวิตอยา่ งเท่าเทยี มกนั ขน้ึ ในสงั คมไทย อกี ท้งั ยังได้ใหป้ ระชาชนทวั่ ประเทศไดร้ ว่ มกัน รา่ งรัฐธรรมนญู
แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ข้นึ มาเป็นกรอบในการบรหิ ารจัดการการบรหิ ารประเทศโดยทั้งนี้

จะเหน็ ได้ว่าทงั้ แผนพฒั นาฉบับที่ ๘ และ ๙ รวมทง้ั รัฐธรรมนญู ฯ พ.ศ.๒๕๔๐ ต่างยดึ หลัก
“ธรรมาภิบาล”(Good Governance) ขึ้นมาเป็นหลักการไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งย่อมหมายถึง ความจำเป็นที่

จะต้องปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงระบบบริหารจัดการ เช่น ระบบบริหารราชการ ระบบการเงินการคลัง
ตลอดจนระบบการควบคมุ คณุ ภาพการบริหารจดั การ เป็นตน้ เพื่อใหผ้ ู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี (Steak Holder)

ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการบริหารจัดการ ซึ่งในด้านการ
จดั การศกึ ษาอนั เป็นกลไกท่ีสำคญั ท่ีสดุ ในการพฒั นา “คน”

ดังนั้น โรงเรียนนิรมลชุมพร จึงได้นำแนวคิดในการบริหารจัดการวางรูปแบบการบริหารสถานศึกษา
ตามหลักการการบริหารแบบธรรมาภิบาลด้วยระบบคุณภาพ PDCA มาเป็นแนวทางในการบริหารพร้อมสร้าง

แรงจูงใจในการทำงาน จนทำใหป้ ระสบความสำเร็จ ซึ่งในการบริหารโรงเรียนน้ันการมีส่วนร่วมเป็นปัจจัยท่ี
สำคัญ จึงได้นำความรู้ ประสบการณ์ ตลอดจนการแสวงหาความรู้จากแนวคิด ทฤษฎีในการบริหาร
จัดการด้านการศึกษา ผู้มสี ่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา ตลอดจนนโยบายการศึกษาคาทอลิก เพ่ือนำมา
สร้างนวัตกรรมทางด้านการบริหารศึกษา ซึ่งเป็นการบริหารจัดการโรงเรียนนิรมลชุมพรที่มีประสิทธิภาพ
NIRAMON MODEL โดยใช้การบริหารแบบธรรมาภิบาลด้วยระบบคุณภาพ PDCA เพื่อนำมาใช้ในการ
บรหิ ารสถานศกึ ษาให้มคี ณุ ภาพยิง่ ขึ้น

๕. วัตถปุ ระสงค์
เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการโรงเรียนนิรมลชุมพรที่มีประสิทธิภาพ NIRAMON MODEL โดย

ใช้การบริหารแบบธรรมาภิบาลดว้ ยระบบคณุ ภาพ PDCA
๖. หลกั การและแนวคิดและทฤษฎีทเ่ี กี่ยวข้อง

หลักธรรมาภิบาลกับการศึกษา (Good Governance) การกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม ทาง
การศึกษานับเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดในการปฏิรูปการศึกษา ตามเจตนารมณ์แห่ง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ เพราะจะช่วยให้มีคณะบุคคลเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษา/หน่วยงานทางการศึกษา และบริหารจัดการโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ อาทิ การสร้างหลักสูตร
อันเหมาะสมของท้องถิ่นที่ทันสมัยทันโลกผสมผสานกับภูมิปัญญาของท้องถิ่นสอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เรียน และชุมชน (People Needed) ทำให้เกิดการประหยัดการใช้ทรัพยากรในด้านต่างๆ อาทิ
ทรัพยากรบุคคล งบประมาณ เพราะทุกภาคส่วนร่วมพัฒนาโดยเข้ามามีส่วนร่วม (Participation) ในความ
รับผิดชอบ เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ผลจากการเข้ามามีส่วนร่วมในพัฒนาคุณภาพ การ
ติดตามตรวจสอบ มีผลทำให้การจัดการศึกษาในท้องถิ่นดีขึ้น สอดคล้องกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่า
ด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.๒๕๔๒ ไว้ใน ข้อ ๔ หลักการบริหารกิจการ
บ้านเมอื งและสังคมทดี่ ี ทร่ี ะบไุ ว้ในข้อย่อย ๔.๒ ว่าในการบริหารกิจการบ้านเมืองและสงั คมทีด่ ี ควรจัดหรือ
ส่งเสริมให้สังคมไทยอยู่บนพื้นฐานของหลักสำคัญอย่างน้อย ๖ ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่าคุ้มทุน โดยเฉพาะ
“หลักการมีส่วนร่วม” เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้และเสนอความเห็นในการตัดสินใจปัญหา
สำคัญของประเทศ ไม่ว่าด้วยการแจ้งความเห็น การไต่สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์ การแสดง
ประชามติหรอื อน่ื ๆ และข้อ ๖ แนวทางปฏบิ ัตใิ นขอ้ ย่อย ๖.๓ เรง่ รดั ใหเ้ กดิ การปฏริ ูปและเปลีย่ นแปลงในการ
บรหิ ารภาครฐั อยา่ งเปน็ รปู ธรรม โดยเฉพาะอย่างย่ิงการปฏริ ูประบบราชการและการปฏิรูปการศกึ ษา

การบริหารทดี่ มี ปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลนน้ั จะขาดเสียมไิ ด้ คือการบรหิ ารงานโดยใช้
หลกั ธรรมาภบิ าล คอื คุณธรรมของนกั ปกครอง นกั บริหารท่ีดี (Good Governance) ตามพระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วย หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาต้องมีวิธีการ
ประยกุ ต์ใช้หลักธรรมาภิบาลท่ีเป็นกฎหมาย เพ่ือใช้ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาให้บรรลุเจตนารมณ์ของ
พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ มนี ยั ดงั ต่อไปนี้

๑. หลักนิติธรรม ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความถูกต้อง คือมีการพิจารณาวินิจฉัยปัญหา การทำการ
ตดั สนิ ใจ (Decision Making) และส่ังการ (Command) ด้วยความถกู ตอ้ งตามกฎหมายบ้านเมือง
และกฎระเบียบข้อบังคับ ระเบียบ วินัยข้าราชการ และจรรยาบรรณครู ซึ่งเป็นข้อบังคับภายใต้
ข้อตกลงร่วมกัน ให้ถูกต้องตามหลักศีลธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีของสังคม ถูกต้อง ตาม
นโยบายของผู้บังคับบัญชาหน่วยเหนือ และถูกต้องตรงประเด็นตามหลักวิชาและได้รับความพึง

พอใจจากผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ในระบบงานของสถานศึกษาอันได้แก่ งานบริหารวิชาการ งาน
บริหารธุรการ-การเงิน งานบริหารบุคคลากร และงานบริหารกิจการนักเรียน งานบริหารงาน
นโยบายและแผน งานบริหารงานจติ ตาภบิ าล
๒. หลักคุณธรรม ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความเหมาะสม คือ รู้จักคิด รู้จักพูด ทำกิจการงาน และ
ปฏิบัติงานได้เหมาะสม ถูกกาลเทศะ บุคคล สังคม และสถานการณ์ ตามหลักสัปปุริสธรรม ๗
และหลักความยุติธรรม คือ การวินิจฉัย สั่งการ และปฏิบัติต่อผู้อยู่ใต้ปกครอง และบุคคลที่
เกี่ยวข้อง ด้วยความชอบธรรมบนพื้นฐานแห่งหลักธรรม หลักการ เหตุผลและข้อมูลที่ถูกต้อง
เชื่อถือได้และตรงประเด็น และด้วยความเที่ยงธรรม คือ ไม่อคติ หรือลำเอียงด้วยความหลงรัก
หลงชัง ด้วยความกลัวเกรง และด้วยความหลง ไม่รู้จริง คือขาดข้อมูลที่ถูกต้องเชื่อถือได้ และ
สมบรู ณ์ เป็นเคร่ืองประกอบการวนิ จิ ฉัย ตดั สนิ ใจ ให้ความเที่ยงธรรม
๓. หลักความโปร่งใส ผู้บริหารจะต้องยึดหลักความบริสุทธิ์ คือ มีการวินิจฉัย สั่งการ กระทำกิจการ
งานด้วยความบริสุทธิ์ใจ คือ ด้วยเจตนา ความคิดอ่าน ที่บริสุทธิ์ โปร่งใส ใช้ระบบสารสนเทศ
สามารถตรวจสอบไดต้ ลอดเวลา โดยใช้หลักการ PDCA ในระบบงานของสถานศกึ ษาทุกงาน
๔. หลักการมีส่วนร่วม ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษา ทั้งครู นักเรียน
ผู้ปกครอง ตลอดทั้งชุมชนมีส่วนร่วมดำเนินการจัดการศึกษาในโครงการและกิจกรรมของ
สถานศึกษาที่จัดขน้ึ ตลอดปีการศึกษา ในรูปแบบของคณะกรรมการ
๕. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหารจะต้องให้ผู้ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการศึกษาได้ตระหนัก
ถึงความรับผิดชอบร่วมกันในผลของการจัดการศึกษาที่มีผลผลิตคือตัวผู้เรียนที่มีคุณลักษณะอัน
พงึ ประสงค์ที่แตกต่างกนั
๖. หลักความคุ้มค่า ผู้บริหารจะต้องใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินการกับ
ทรัพยากรทางการศึกษาอย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยใช้หลักการ PDCA เข้ามา
ตรวจสอบคุณภาพของระบบงานอย่างครบถ้วน หากผู้บริหารสถานศึกษาได้ใช้หลัก
“ธรรมาภิบาล” นี้ ในการบริหารจัดการสถานศึกษาและกระจายเป็นข้อ ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ
พึงใช้ประกอบในการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ให้บรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายของการจัด
การศึกษาแล้วน้ัน จะกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนส์ ขุ แก่สว่ นรวมได้เปน็ อย่างดแี ละย่งั ยนื ตลอดไป

หลักธรรมาภิบาลผ้บู ริหารโรงเรยี นนริ มลชุมพร

หลัก หลกั หลกั
ความคุ้มค่า นิติธรรม คุณธรรม

หลัก หลกั ธรรมภิบาล หลกั
ความ (๖ ประการ) ความ
รบั ผดิ ชอบ โปร่งใส
หลกั
ความมี
สว่ นร่วม

๗. กระบวนการพฒั นา
โรงเรียนนิรมลชุมพร ดำเนินการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาโดย ยึดหลักวงจรการทำงาน

แบบ PDCA ของเดมม่งิ ในการขบั เคลือ่ นการบริหารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาดงั นี้
๑. ขั้น Plan (P) เป็นการวางแผนและออกแบบนวัตกรรมและการดำเนินกิจกรรม โดยมีวิธีการหรือ
แผนปฏิบัติงานที่มุ่งบรรลุผลองค์กร ตามสภาพปัญหาและความต้องการ ให้เหมาะสมกับความ
พร้อมและบริบทของโรงเรียนนิรมลชุมพร โดยอาศัยหลักการบริหาร NIRAMON MODEL ๗
ประการ ประกอบดว้ ย

N – Network การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหว่างกันในทีมงาน และในชมุ ชน
การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ระหว่างกันในทีมงาน และในชมุ ชนเพื่อเปล่ยี นพฤติกรรมในการจัดการ

เรียนการสอน มีความเป็นกัลยาณมิตร เกิดความรักสามัคคี สมานฉันท์ เป็นเครือข่ายและพันธมิตร
ทางความรู้ และความร่วมมอื อยา่ งต่อเน่ือง
I - Identity ความมเี อกลักษณ์เฉพาะของโรงเรยี นคาทอลกิ

โดยโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการหลักธรรมตามศาสนาที่ตนเองนับถือท่ี
เน้นการปฏบิ ัติจรงิ
R - Relationship การสร้างความสัมพันธ์และความรว่ มมือภายในองคก์ ร

การสร้างความสัมพันธ์ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการระหว่างบุคลากร ให้มี
ความสัมพันธอ์ ันดีระหวา่ งกนั โดยใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อสร้างความร่วมมือในการทำงาน
รว่ มกันเพือ่ ใหบ้ รรลผุ ลตามเปา้ ประสงค์
A - Attitude การยึดหลักคุณธรรม จรยิ ธรรมและความโปรง่ ใส

มาบริหารจัดการสถานศกึ ษา
M - Management การบรหิ ารจดั การโดยใชห้ ลักการคดิ เชงิ ระบบ

มีขน้ั ตอนกระบวนการเปน็ การบรหิ ารจัดการเพอ่ื สนองนโยบายการศึกษาของชาติ ดำเนนิ งาน
บริหารใหเ้ ป็นไปตามระเบียบ กฎเกณฑ์ และขน้ั ตอนของทางราชการ
O – Oneness ความเปน็ อันหนึ่งอันเดียวกนั ขององค์กร

ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันขององค์กร ทั้งทางด้านการบริหาร ทางวิชาการ หรือจัด
ระเบียบของส่วนต่าง ๆให้เกิดความเป็น หนึ่งเดียว เพื่อผลรวมอันไม่อาจแบ่งแยกส่วนใดส่วนหนึ่ง
ออกไป โดยเฉพาะนักเรียนท่ีเรยี นรวมชนั้ กนั เป็นอนั หนึง่ อันเดยี วกนั ขององค์กร
N - NETWORK เครือข่ายความรว่ มมอื การมสี ่วนรวม ประสานสัมพันธ์ ร่วมกันทุกฝ่าย

เครือข่ายความร่วมมือ การมีส่วนรวม การระดมทรัพยากรทางการศึกษา ภาค ประชาสังคม
ต่างๆ ใช้ทฤษฎีการบริหารแบบมีสว่ นร่วม ใช้หลักการสรา้ งความร่วมมือ โดยการ ปรับตัวยืดหยุน่ มุ่ง
การส่ือสาร ประสานสมั พนั ธ์ รว่ มกันทุกฝา่ ย ทฤษฎีการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ใชห้ ลักการสร้างความ
ร่วมมอื โดยการ ปรบั ตวั ยดื หยุ่น มุ่ง การส่ือสาร ประสานสัมพันธ์ รว่ มกันทกุ ฝ่าย

NIRAMON MODEL

๒. ขั้น Do (D) เป็นการดำเนินการตามที่ได้วางแผนไวโ้ ดยถ่ายทอดเพื่อนำไปสู่การปฏิบัติอยา่ งทั่วถงึ
ทั้งองค์กร โดยใช้รูปแบบการบริหาร NIRAMON MODEL ในการขับเคลื่อนอาศัยแนวคิดที่สำคญั
๓ ประการคือ
- หลกั การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน ( School Based Management )
- หลักการพัฒนาคุณภาพนกั เรยี น (Learner Development)
- หลกั การประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ( Education Quality Assurance)
ทั้งนี้ไดม้ ีการดำเนินงานตามขั้นตอนและแผนงานที่วางไว้อยา่ งถูกต้องครบถว้ น มีการกำหนด

หน้าที่และมอบหมายความรับผิดชอบของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เกี่ยวข้องและมีการปฏิบัติ
ตามทกี่ ำหนดไวด้ ว้ ยความมงุ่ ม่ันและตัง้ ใจ โดยพยายามไปสคู่ วามสำเรจ็
๓. ขั้น Check (C) เป็นการตรวจสอบประเมินและการปรับปรุง ในการประเมินผลและตรวจสอบ

การดำเนินงานและการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยประเมินจากคุณภาพของผู้เรียน เพื่อ
ปรับปรุงแนวทางการดำเนินการให้ดีขึ้น โดยได้มีการติดตามประเมินผลและปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง มีการประเมินผลลัพธ์เทียบกับค่าเป้าหมายการดำเนินการ และผลลัพธ์ตาม

วัตถุประสงค์เพื่อการแก้ไขปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลการ
ปรบั ปรงุ ท่ีดีขึ้นในองค์กรอย่างเป็นระบบ
๔. ขั้น Action (A) เป็นการนำผลการประเมินที่ใช้แนวทางที่สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกันกับ
ความตอ้ งการของสถานศึกษาตามท่ีระบุไว้ตามแผนพัฒนาคุณภาพเพ่ือสนับสนุนเป้าประสงค์ของ
สถานศกึ ษาโดยมงุ่ เนน้ ท่คี ุณภาพของผเู้ รยี น

๘. ผลการพฒั นา
สถานศึกษามีการบริหารจัดการโดยใช้รูปแบบ NIRAMON MODEL ท่ีทุกฝ่ายมีส่วนร่วม ยึดหลัก

ธรรมาภิบาลและน้อมนำศาสตร์พระราชา โดยมุ่งพัฒนาผู้เรียนตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา แผนพัฒนา
คุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี สอดคล้องกับพัฒนาผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมาย
สอดคล้องกบั นโยบายการปฏริ ูปการศึกษา โดยเปดิ โอกาสให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ีความรู้ ความเช่ยี วชาญตามมาตรฐานสถานศึกษา มีการระดม
ทรัพยากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากเครือข่ายในการร่วมรับผิดชอบต่อผลของการจัด
การศึกษาให้มคี ุณภาพตามมาตรฐาน

๘.๑. ผลการประเมินสมรรถนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา ระดับ ดีเลิศ
๘.๒. โรงเรียนนิรมลชุมพรมีการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน แบ่งการ

บริหารงานเป็น ๖ ฝ่าย ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝ่ายอาคารสถานที่ ฝ่ายบุคลากร
ฝ่ายจติ ตาภบิ าล ฝ่ายธุรการ - การเงนิ ใหม้ ีความสอดคล้อง ครอบคลมุ ขอบขา่ ยงานและภารกิจ

การบริหารและจัดการศึกษาของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงและสำนักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการศึกษาเอกชนใน ระดบั ดีขนึ้ ไป
๘.๓. การบริหารงานจัดการโครงสร้างพื้นฐาน มีระบบประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษาที่มี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลโดยเปิดโอกาสให้เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการ
สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่น ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำและร่วมประเมนิ โดยมุง่ ผลสัมฤทธิ์เพ่อื
เพิ่มประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลในการบรหิ ารจัดการศึกษาของโรงเรยี นให้มากยงิ่ ขึ้น
๘.๔. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของสถานศึกษา ในระยะเวลาตลอดปี
การศกึ ษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒ สรปุ ไดด้ ังนี้

แผนภมู ิที่ ๑ แสดงความพึงพอใจผู้ของเก่ียวข้อง
โครงการสง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มในการบรหิ ารจัดการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ – ๒๕๖๒

93 92 92.2
91.2

92

91 89.8 90.4
90.2

89.2 89.4
90 88.6

89

88

87

86 ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562
ปกี ารศกึ ษา 2560

คณุ ภาพผเู้ รยี น กระบวนการบริหารและการจัดการ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั

จากแผนภมู ทิ ่ี ๑ แสดงความพึงพอใจจากผู้ที่เกย่ี วข้อง ได้แก่ ผบู้ ริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา
ผู้ปกครอง นักเรียน พบว่าตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ โรงเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตาม
มาตรฐานการศึกษาเปน็ ที่นา่ พอใจ

แผนภมู ิท่ี ๒ แสดงความสำเร็จดา้ นการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นนริ มลชมุ พรทีม่ ีประสิทธิภาพ
NIRAMON Model โดยใชก้ ารบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าลด้วยระบบคณุ ภาพ PDCA

96

95

94

93

92

91

90

89

88

87

86 การบรหิ ารจัดการ ศกั ยภาพครบู คุ ลากรทาง ความสาเรจ็ ของผเู้ รยี น
การศึกษา
ปีการศกึ ษา 2560 91.25 90.25 89.75
ปกี ารศกึ ษา 2561 93.75 94.25
ปกี ารศกึ ษา 2562 95.92 92.5 95.25

95.75

จากแผนภมู ทิ ่ี ๒ แสดงความสำเรจ็ ดา้ นการบริหารจดั การ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐-๒๕๖๒ ดา้ นการพฒั นา

ระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมาภิบาลด้วยระบบคุณภาพ PDCA) ด้านการพัฒนาศักยภาพของครูและ
บุคลาการทางการศกึ ษาให้มีความเชีย่ วชาญตามมาตรฐานวชิ าชพี

๙. ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ
๙.๑. ครูและบุคลาการทางการศึกษาทุกคนพัฒนาศักยภาพอย่างเต็มความสามารถมีความเชี่ยวชาญตาม
มาตรฐานวิชาชีพ
๙.๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาประสบความสำเร็จในการใช้นวัตกรรม โดยเกิดจากความร่วมมือของ
ทุกฝ่าย คอื ผู้บริหาร ครู นักเรยี นผูป้ กครองและชุมชน
๙.๓. โรงเรยี นนิรมลชมุ พรมีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดว้ ยระบบคุณภาพ (PDCA)

๑๐. ปจั จัยความสำเรจ็
10.1 บคุ ลากรของโรงเรยี นมีความตง้ั ใจและให้ความรว่ มมือในการทำงานเป็นอย่างดี
10.2 ผูบ้ รหิ ารให้การสนับสนุนและให้ความสำคญั ในการพฒั นาบุคลากร
10.3 ได้รับความรว่ มมอื และการสนับสนุนจากชุมชนและองค์กรต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วข้อง

๑๑. การเผยแพร่ / การได้รบั การยอมรบั
๑๑.๑. โรงเรียนได้รบั การยอมรับจากผูป้ กครอง ชุมชนและผู้ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
๑๑.๒. ผ้บู ริหาร / ครู / นักเรียนไดร้ บั รางวลั จากหนว่ ยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน
๑๑.๓. โรงเรยี นได้เผยแพร่ผลงานทางเว็บไซต์ www.niramon.ac.th
๑๑.๔. ไดร้ บั รางวัลการปฏบิ ตั ทิ ่ีเปน็ เลศิ ระดับดมี าก จากฝา่ ยการศกึ ษาสังฆมณฑลสรุ าษฎรธ์ านี เมื่อวนั ท่ี
๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๒





รปู ภาพประกอบ
“การบริหารจัดการโรงเรยี นนิรมลชุมพรท่มี ปี ระสิทธิภาพ
โดยใช้การบริหารแบบธรรมาภิบาลด้วยระบบ NIRAMON MODEL”

การสรา้ งแรงบันดาลใจจากคณะผ้บู รหิ าร
























Click to View FlipBook Version