The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuananong5695, 2019-06-05 21:10:34

unit 1 ความหมายและความสำคัญของศรัตรูพืช

unit 1

1

หน่วยท่ี 1
ความหมาย ความสาคญั และความเสียหายที่เกิดจากศัตรพู ชื

2

หนว่ ยที่ 1
ความหมาย ความสาคญั และความเสยี หายทเี่ กิดจากศตั รพู ชื

ความหมายของศตั รูพชื
ศัตรูพืชจัดว่าเป็นปัญหาสาคัญของการกสิกรรม ท้ังนี้เพราะว่ากว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิต

พชื อาหารของโลกต้องลดลง เนอ่ื งจากการทาลายและการรบกวนของศตั รพู ชื ทาให้กสิกรต้องหาหนทาง
และวิธีการต่าง ๆ นามาใช้ เพื่อการควบคุมศัตรูพืช พบว่าในแต่ละปีกสิกรได้ใช้จ่ายท้ังเงิน เวลา และ
ความรู้ต่าง ๆ รวมกันเป็นมูลค่าถึง 10 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าผลผลิตท่ีได้รับ ดังน้ันจึงกล่าวโดยสรุป
รวมกันว่าในแต่ละปกี สิกรได้สูญเสียแก่ศัตรูพืช และการควบคุมศัตรูพืชถึงกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่า
ผลผลิตรวม (Shaw, 1982) สาหรับในประเทศไทยก็ได้มีรายงานว่าในแต่ละปีประมาณการสูญเสีย
ผลผลิตพืชถึง 10-30 เปอร์เซ็นต์ เน่ืองจากศัตรูพืชชนิดต่าง ๆ (Soontorn et al., 1996) ได้มีผู้ให้
ความหมายหรอื คาจากดั ความของคาว่า “ศัตรูพืช” กันอย่างหลากหลายความหมาย ดงั นี้

ศัตรพู ชื หมายถงึ สิง่ ซง่ึ เปน็ อันตรายแก่พชื เช่น เชื้อโรคพืช แมลง สัตว์ หรือพืชท่ีอาจก่อให้เกิด
ความเสียหายแก่พืช (พระราชบญั ญตั ิกกั พชื (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2542, 2542)

ศัตรูพืช หมายถึง สัตว์ท่ีทาความเสียหาย หรือรบกวนมนุษย์ สัตว์เลี้ยง พืชปลูก เช่น แมลง ไร
ไส้เดือนฝอย หนู นก รวมไปถึงส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ เช่น เช้ือรา แบคทีเรีย ไวรัส และวัชพืช (ไอพีเอ็มไทย
แลนด์, 2546, พฤษภาคม 5)

กล่าวโดยสรุปกค็ อื ศตั รพู ชื หมายถงึ ส่ิงทเ่ี ปน็ อนั ตรายกับต้นพืช ผลผลิตของพืช ความเสียหาย
ไม่ไดท้ าลายแตเ่ ฉพาะผลผลติ เท่านน้ั หากแตย่ ังสง่ ผลถึงคุณภาพของผลผลิตของพชื ที่ลดต่าลงด้วย ทาให้
มนษุ ยต์ ้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการปกป้องดูแล ซึ่งมีท้ังแมลงศัตรูพืช ไรศัตรูพืช เช้ือจุลินทรีย์ที่ทาให้เกิดโรค
เชน่ แบคทีเรยี เชื้อรา ไวรัส ไส้เดือนฝอย วัชพืช และสัตว์บางชนิด เช่น นก หนู หอย หอยทาก ทาก ปู
นา ค้างคาว เปน็ ตน้

ภาพที่ 1.1 ศตั รพู ืช

หนอนกระทู้ผกั (บนซา้ ย) โรคแคงเกอร์ (บนขวา)

หญา้ ลน้ิ งู (ล่างซ้าย) หอยเชอรี่ (ล่างขวา)

3

ความสาคญั ของศตั รูพชื
ในแตล่ ะวงรอบของการปลูกพืช เกษตรกรมักประสบกับปัญหายุ่งยากหลายประการ เช่น พันธุ์

พืชที่ให้ผลผลิตต่า สภาพดินปลูกที่ไม่อุดมสมบูรณ์ ความแปรปรวนของสภาพอากาศ หรือภัยธรรมชาติ
ยังพบว่า พืชยังมีคู่แข่งตามธรรมชาติอีกมากมาย นั่นก็คือศัตรูพืชที่มาทาลายพืช (injury) โดยท่ีศัตรูพืช
เหลา่ นี้ สามารถเข้าทาลายพชื ตัง้ แต่เร่ิมปลูก จนถึงชว่ งเก็บเก่ียว อีกท้ังยังพบว่ายังมีศัตรูพืชบางประเภท
ที่ตามไปทาลายผลผลิตพืชที่เก็บรักษาไว้ในยุ้งฉาง ศัตรูพืชจึงมีความสาคัญทั้งต่อพืชปลูก มนุษย์และ
สังคม ดังน้ัน เพ่ือการอารักขาพืชเราควรศึกษารายละเอียดพื้นฐานเช่น ลักษณะการทาลายและความ
เสียหายของพืชท่ีเกิดขึ้น ทาให้มนุษย์รู้จุดอ่อนหรือจุดที่จะเตรียมการป้องกันศัตรูพืช เพื่อท่ีจะสามารถ
ปกป้องพชื และแก้ไขปญั หาท่ีเกดิ จากศตั รูพืช

1. ศัตรพู ชื ทาลายผลติ ผลทางการเกษตร พบวา่ มศี ตั รูพืชมากมายหลายชนิดในแปลงปลูกพืช ซ่ึง
ลักษณะของการทาลายพืชก็แตกต่างกันไปขึ้นกับประเภทและชนิดของศัตรูพืชด้วย ดังน้ัน เราควรแบ่ง
ลักษณะการทาลายพชื ตามประเภทของศตั รพู ชื ได้ ดังน้ี

1.1 การทาลายท่ีเกิดจากแมลงศัตรูพืช รูปแบบหรือลักษณะของการทาลายข้ึนอยู่กับชนิด
ของแมลงศัตรูพืช ชนดิ พชื ส่วนต่าง ๆ ของลาต้นพชื และวยั ของพชื ทีถ่ กู ทาลาย เช่น

1.1.1 กัดกินใบ ตาดอก ลาต้น ยอดอ่อน เปลือก ผล หรือรากของพืช ได้แก่ หนอนผีเส้ือ
แมลงคอ่ มทอง เสี้ยนดิน ด้วงเต่าทอง หนอนเจาะฝัก ฯลฯ

ภาพที่ 1.2 ด้วงหมัดกระโดด ภาพที่ 1.3 แมลงค่อมทอง

1.1.2 เจาะเข้าไปอาศัยอยู่ในลาต้น ผล เมล็ด หรือชอนใบ เช่น หนอนชอนใบ หนอนเจาะ
ลาต้น หนอนเจาะเมล็ด ดว้ งงวงเจาะหวั มันเทศ เสย้ี นดนิ ฯลฯ

4

ภาพท่ี 1.4 เสย้ี นดนิ
1.1.3 ทาให้เกิดป่มุ ปมหรือสร้างหลอดตามต้นพืช เชน่ แมลงวนั สร้างปม บ่ัว

ภาพท่ี 1.5 ระยะการเจริญเติบโตของบวั่
1.1.4 โดยการนาส่วนต่าง ๆ ของพืชไปสร้างรวงรงั เช่น leaf cutter bee

ภาพท่ี 1.6 ผึ้ง (Leaf cutter bee)

5

1.1.5 โดยการดูดกินน้าเล้ียงจากส่วนต่าง ๆ ของพืช เช่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพล้ียหอย
มวนเขียวข้าว แมลงหว่ีขาว ฯลฯ ซ่ึงแมลงปากดูดเหล่านี้ บางชนิดเป็นแมลงพาหะนาโรคมาสู่พืชได้
ตัวอย่างเช่น เพล้ียไฟเป็นพาหะนาโรคใบด่างถ่ัวเหลือง โรคยอดแห้งมาสู่ต้นพืช (พิสิษฐ์ เสพสวัสด์ิ และ
คนอ่นื ๆ, 2535, สุธรรม อารีกลุ , 2524 และ Rappapart, 1993)

ภาพที่ 1.7 เพล้ยี อ่อน (Aphids) ภาพท่ี 1.8 เพลย้ี หอย (scale insect)

1.2 การทาลายที่เกิดจากไรศัตรูพืช พบว่า ไรศัตรูพืชท้ังตัวอ่อนและตัวเต็มวัยทาลายพืชใน
ส่วนตา่ ง ๆ ดังนี้

1.2.1 โดยการดูดกินน้าเล้ียงท่ีใบอ่อน ทาให้ใบม้วนงอ ผิวใบหนาแข็งเปราะ หลังใบมีสี
น้าตาลหรือสเี ขียวเข้ม ระยะแรกจะมีอาการแสดงจดุ เล็ก ๆ บนใบ มสี ีขาวทีห่ น้าใบและขยายจนใบเป็นสี
เหลืองทัง้ ใบและรว่ งในท่สี ดุ

1.2.2 โดยการดูดกินน้าเล้ียงท่ียอดอ่อน ทาให้ยอดอ่อนท่ีเกิดใหม่แตกเป็นฝอย อีกท้ังยัง
ชะงักการเจรญิ เตบิ โต

1.2.3 โดยการดูดกินน้าเล้ียงที่ดอก จะทาให้กลีบดอกบิดเบ้ียว ดอกแคระแกร็น ทาให้เกิด
จุดด่างขาวเล็กและคราบสีขาวของไรกระจายทั่วไปคล้ายฝุ่นจับผิว บริเวณที่ถูกทาลายจะยุบตัวและ
เปล่ียนเป็นสีนา้ ตาล และอาจหลุดรว่ งได้

ภาพที่ 1.9 ไรแดงทเุ รยี น ภาพที่ 1.10 ลกั ษณะของไร

6

1.3 การทาลายที่เกิดจากโรคพืช เนื่องจากโรคพืชอาจเกิดจากส่ิงที่ไม่มีชีวิตหรืออาจเกิดจาก
เชอ้ื สาเหตโุ รคพืช ดงั นั้น อาการท่ีเกดิ กบั พืชจะแตกตา่ งกันไป เชน่

1.3.1 ใบจะมีสีและรูปร่างเปล่ียนไป เช่น ใบบิดเบี้ยว หงิกงอ ใบอาจมีสีเหลือง สีเขียวสลับ
เหลือง เช่น โรคท่เี กิดจากไวรัส

1.3.2 เห่ียวเฉา (wilt) ถ้าเชื้อโรคเข้าไปทาลายขัดขวางส่วนที่ดูดซึมน้า เช่น ท่อน้า ก็จะทา
ใหพ้ ชื ทเี่ ปน็ โรคเหีย่ วเฉาและตายไปในท่สี ุด

1.3.3 เนื้อเย่ือตายปรากฎท่ี ใบ ผล ต้น หรือราก ในรูปของจุดกลม หรือท้ังหมด การเน่า
เป่ือยของเนื้อเยื่ออวบน้า เช่น โรคโคนเน่าในต้นกล้าอ่อน โรคแคงเกอร์ (canker) ทาให้เน้ือเยื่อตาย
และยบุ ต่ากว่าเน้ือเยอื่ ปกติ

1.3.4 การร่วงหลน่ ของใบ ถา้ การระบาดมากจะทาใหใ้ บพืช และผลร่วง
1.3.5 การเพิ่มขนาดของเน้ือเยื่อ โรคพืชบางชนิดจะเพ่ิมจานวน หรือขนาดของเซลล์ของ
พืช พืชจะแสดงลักษณะ เช่น ใบบิดงอ การแตกแขนงหรือแตกกอมากกว่าปกติ หรือสร้างปมในลาต้น
หรอื ราก
1.3.6 เกิดอาการยางไหลที่กิ่งกา้ นหรอื โคนเนา่
1.3.7 ตน้ แคระแกร็น (dwarf) โดยท่ีเช้ือโรคจะลดจานวนและขนาดของเซลล์พืช ทาให้พืช
แสดงอาการแคระแกรน็
1.3.8 เปลี่ยนเนื้อเย่ือของพืชแทนด้วยเนื้อเย่ือของเช้ือโรค มักพบบนส่วนดอก หรือผลของ
พชื เป็นโรค เช่น โรคสมทั (smut) ของขา้ วโพด จะมสี ว่ นของเช้ือโรคเขา้ ไปแทนทสี่ ่วนของฝกั

ภาพท่ี 1.11 การทาลายผลผลิตทเ่ี กดิ จากโรคพืช

7

ความเสียหายท่ีเกิดจากศัตรูพชื
ส่ิงท่ีมีความสาคัญและความเก่ียวข้องกับการผลิตอาหารให้เพียงพอต่อการบริโภคของพลโลก

โดยตรงในปัจจุบัน กล่าวคือ ความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตรหรือพืชอาหารท่ีเกิดจากการ
ทาลายของศตั รูพชื ความเสยี หายที่เกิดข้ึนในแต่ละรอบปีที่เกิดจากโรค แมลง และวัชพืช มีการประเมิน
รวมกันแล้ว พบว่า ในแต่ละปีมีความเสียหายเกิดขึ้นประมาณ 34 % ของผลผลิต โดยแยกเป็นความ
เสยี หายได้ ดังน้ี

- ความเสียหายทเี่ กดิ จากโรคมีประมาณ 11.9 %
- ความเสียหายที่เกิดจากแมลงมีประมาณ 12.3 %
- ความเสยี หายทีเ่ กิดจากวัชพชื มีประมาณ 9.8 % (FAO, 1982)
นอกจากนั้นยังพบว่า ผลผลิตทางการเกษตรยังพบมีความเสียหายเกิดข้ึนอีกในช่วงระยะ
ภายหลังการเก็บเกี่ยวท่ีเกิดจากโรคและแมลงอีกประมาณ 15 % (Cramer, 1967) จะเห็นได้ว่า ความ
เสียหายของผลผลิตอาหารเกอื บประมาณ 50 % สญู เสยี ไปโดยศตั รูพืช การสูญเสียดังกล่าวจะเกิดขึ้นใน
ประเทศทพ่ี ัฒนาแล้ว ในปริมาณท่ีน้อยและเกิดข้ึนมาก หรือมีความเสียหายในปริมาณท่ีสูงในประเทศที่
กาลังพัฒนา ขณะเดียวเดียวกันในประเทศท่ีกาลังพัฒนาส่วนใหญ่ของประชากรประมาณ 57 %
ประกอบอาชีพในทางเกษตรกรรม ความสาเรจ็ ส่วนใหญ่ในการกาจดั ศัตรูพืชในประเทศที่กาลังพัฒนาจะ
ได้จากการใช้สารเคมีสังเคราะห์ การควบคุมศัตรูพืช จากการใช้หลาย ๆ ปีต่อมา พบว่า สารกาจัด
ศัตรูพืชบางชนิดใช้ไม่ได้ผล เน่ืองจากศัตรูพืชได้มีการปรับตัวและด้ือต่อสารกาจัดศัตรู (pesticide
resistance) สารกาจัดศัตรูพืชบางชนิดถูกห้ามใช้ เน่ืองจากมีผลตกค้างในสภาพแวดล้อมยาวนาน มี
ผลเสียต่อโซ่อาหาร (food chain) ในระบบนิเวศน์เป็นสาเหตุทาให้พืชและสัตว์ลดความหลากหลาย
(bio-diversity) หรือสญู พนั ธุ์


Click to View FlipBook Version