The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือวิทยการคำนวณ (ฉบับปรับปรุง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ritthikrai Yothasri, 2020-03-14 06:29:01

คู่มือวิทยการคำนวณ

คู่มือวิทยการคำนวณ (ฉบับปรับปรุง)

วทิ ยาการคํานวณ (Computing Science)

ความหมายของวิทยาการคาํ นวณ (Computing Science)
วทิ ยาการคํานวณ (Computing science) เปนวชิ าท่มี ุง เนน การเรยี นการสอนใหเ ดก็ สามารถคดิ

เชิงคํานวณ (Computational thinking) มคี วามรูพน้ื ฐานดานเทคโนโลยดี จิ ิทัล (Digital technology)
และมีพ้ืนฐานการรูเทาทันสื่อและขาวสาร (Media and information literacy) ซ่ึงการเรียนวิชา
วิทยาการคํานวณ จะเปนกระบวนการความคิดเชิงวิเคราะหเพื่อนํามาใชแกปญหาของมนุษย โดยเปน
การส่งั ใหค อมพวิ เตอรท ํางานและชว ยแกไขปญหาตามทีเ่ ราตอ งการไดอยา งมปี ระสิทธภิ าพ
จุดประสงคของการสรา งวชิ าวทิ ยาการคํานวณ (Computing science)

การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาการคํานวณ มีจุดประสงคที่สําคัญในการพัฒนาผูเรียน
กลาวคือเพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถใชทักษะการคิดเชิงคํานวณในการคิดวิเคราะห แกปญหาอยาง
เปนข้ันตอนและเปนระบบ มีทักษะในการคนหาขอมูลหรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห
สังเคราะห และนําสารสนเทศไปใชในการแกปญหา สามารถประยุกตใชความรูดานวิทยาการ
คอมพิวเตอร ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกปญหาในชีวิตจริง การทํางาน
รวมกันอยางสรางสรรคเพ่ือประโยชนตอตนเองหรือสังคม และสามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารอยา งปลอดภัย รเู ทาทันมีความรบั ผิดชอบมจี ริยธรรม

สาระสาํ คัญชว งช้นั ท่ี 1

ระดับช้นั ตัวชวี้ ัด จุดประสงค สาระการเรยี นรู สาระสาํ คญั
(ตวั อยาง)
ชน้ั ประถมศกึ ษาป แสดงลาํ ดับ เลาเหตกุ ารณ -การเลา นทิ าน การเลา เหตกุ ารณ หรอื
ท่ี 1 ขนั้ ตอนการ หรือเรอื่ งราวได -การเลากิจวัตร เรอ่ื งราว จะตองลําดับ
ตัวอยางเชน ทาํ งานหรอื การ อยางถูกตอง ประจําวัน ขัน้ ตอนใหถ กู ตอง ใน
เรือ่ ง ครอบครัว แกป ญหาท่เี ปน ตามลาํ ดับ บางครงั้ อาจมีลาํ ดบั ท่ี
ของเรา อัลกอรทิ มึ อยา ง ถกู ตองมากกวา 1 แบบ
งา ยโดยใชภาพ
สัญลักษณ หรือ
ขอ ความ
ชัน้ ประถมศึกษาป ใชเหตุผลเชิง - รูจกั - การใช อัลกอริทึม (algorithm)
ท่ี 4ตวั อยา งเชน ตรรกะในการ ความหมายของ อัลกอรทิ มึ เ ป น ขั้ น ต อ น วิ ธี ท่ี ใ ช
เร่อื ง เทยี่ วบา น แกปญหา การ อัลกอรทิ มึ แกปญหาใน แกปญหาตาง ๆ ทั้งใน
คุณยา อ ธิ บ า ย ก า ร - ยกตวั อยา ง ชีวติ ประจําวนั ชี วิ ต จ ริ ง แ ล ะ ในการ
ทํ า ง า น ก า ร อัลกอรทิ มึ ทีใ่ ช - การใชเหตผุ ล สั่งงานคอมพวิ เตอร
ค า ด ก า ร ณ แกป ญหาใน เชิงตรรกะ
ผ ล ลั พ ธ จ า ก ชีวติ ประจาํ วัน
ปญ หาอยางงา ย - ใชเ หตุผลเชงิ
ตรรกะในการ
แกปญหา
ชั้นประถมศกึ ษาป ใชเ หตผุ ลเชงิ ใชเหตุผลเชิง ใชเ หตผุ ลเชงิ การใชเ หตผุ ลเชิงตรรกะ
ที่ 5 ตรรกะในการ ตรรกะในการ ตรรกะในการ เปน การหาขอ สรปุ ของ
ตัวอยางเชน แกป ญ หา การ แกปญหา แกป ญหา ปญ หาอยา ง
เรอ่ื ง กีฬาฮาเฮ อธิบายการ สมเหตสุ มผลการ
ทาํ งาน การ แกปญ หาโดยใชเหตผุ ล
คาดการณ เชิงตรรกะทาํ ไดโ ดย
ผลลพั ธจ าก เขยี นแนวทางที่เปนไป
ปญหาอยา งงาย ไดท ง้ั หมดแลว

สาระสาํ คัญชวงชัน้ ที่ 2

ระดบั ชน้ั ตวั ชวี้ ัด จดุ ประสงค สาระการเรยี นรู สาระสําคัญ
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ แกปญหา การแกป ญ หา การลองผิดลองถูก การลองผดิ ลองถกู เปน
1 อยางงา ยโดย โดยการลองผิด การแกป ญ หารูปแบบ
ตัวอยางเชน ใชก ารลองผดิ ลองถูก หนึ่ง สามารถทาํ ได
เร่ือง เสน ทางกลบั ลองถูก การ โดยทดลองแกปญ หา
บาน เปรยี บเทยี บ หลายๆวิธี แลว
พจิ ารณาผลลพั ธเพ่ือ
เลือกวธิ ีทเี่ หมาะสม
ช้นั มัธยมศกึ ษาปท่ี ออกแบบและ ออกแบบ - การออกแบบ การแกป ญ หาทาง
2 เขียน อัลกอรทิ มึ เพ่ือ อลั กอรทิ ึมเพ่อื คณติ ศาสตรหรอื
ตวั อยางเชน โปรแกรมที่ใช แกปญหาอยา ง แกปญ หา อาจใช วทิ ยาศาสตร หรอื งาน
เรื่อง การ ตรรกะและ เปน ขัน้ ตอน แนวคดิ เชิงคาํ นวณ ในชวี ติ ประจําวนั
ประยุกตใ ชงาน ฟงกชนั ในการ เพื่อใหก าร สามารถใชโ ปรแกรม
แกป ญหา แกปญหามี คอมพวิ เตอรมาชว ยให
ประสิทธภิ าพ การแกปญหามี
- การแกปญ หา ประสทิ ธภิ าพ ถูกตอง
อยา งเปนขน้ั ตอน และรวดเรว็
จะชว ยใหแ กปญ หา
ไดอ ยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

สาระสําคัญชวงช้นั ที่ 3

ระดบั ชน้ั ตวั ช้ีวัด จดุ ประสงค สาระการเรียนรู สาระสําคญั
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ี่ ประยุกตใ ช 1. วเิ คราะห - แ น ว คิ ด เ ชิ ง การแยสว นประกอบ
4 แนวคดิ เชิง องคป ระกอบของ คํานวณ ไดแกการ และการยอ ยปญหา
ตวั อยา งเชน คาํ นวณในการ สง่ิ ของตางๆ ใน คิดแบบแยกสวน (decom position)
เรือ่ งการแยก พัฒนา การพฒั นาผลงาน ประกอบและการ เปนข้นั ตอนของ
สวนประกอบและ โครงงานท่มี ี ใหม ยอยปญหาการหา กระบวนการ
การยอ ยปญหา การบูรณาการ 2. ใชทกั ษะการ รูปแบบของปญหา แกปญ หาดว ยแนวคิด
กบั วชิ าอน่ื คดิ แบบแยก ก า ร คิ ด เ ชิ ง เชิงคํานวณซึง่ แบง
อยา ง สว นประกอบและ นามธรรม และ ปญหาหรอื งานออก
สรางสรรค การยอยปญหา ก า ร อ อ ก แ บ บ เปน สวนยอยทาํ ให
และเช่อื มโยง แกป ญ หาใน ขั้นตอนวิธีในการ สามารถจดั การกบั
กบั ชีวิตจรงิ ชีวติ ประจาํ วัน แกปญหา ปญ หาหรอื งานไดง า ย
ขน้ึ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ประยุกตใช 1. วเิ คราะห - ความหมายของ การทํานายเชิง
5 แนวคิดเชิง องคประกอบของ กา ร ทํ า น า ย เ ชิง หมวดหมูเปน การ
ตัวอยา งเชน คาํ นวณในการ สิ่งของตางๆ ใน หมวดหมู ทํานายขอ มลู ทส่ี นใจ
เรื่องการทํานาย พฒั นา การพฒั นาผลงาน - การทํานายโดย ท่ไี มใชขอ มลู ตัวเลข
เชิงหมวดหมู โครงงานท่ีมี ใหม ใ ช K-NN เ พ่ื อ ซึ่งจะใชข อ มูลในอดีต
การบรู ณาการ 2. ใชทักษะการ จําแนกขอมูล ทม่ี กี ารระบหุ มวด
กับวิชาอ่ืน คดิ แบบแยก - ก า ร ป ร ะ เ มิ น หมมู าแลว มา
อยา ง สวนประกอบและ ความถูกตองใน วเิ คราะหเพอื่ ทาํ นาย
สรา งสรรค การยอยปญ หา การจําแนกขอ มลู ขอ มลู ชุดใหม ทีย่ งั ไม
และเช่อื มโยง แกปญหาใน ทราบโดยใชวธิ ีการ
กบั ชีวติ จริง ชวี ติ ประจาํ วนั คนหาเพอื่ นบาน
ใกลเคยี งทส่ี ดุ K ตวั
(K-NN)

วิธีการสอน

การพัฒนาผูเรียนใหสามารถสรางองคความรูไดดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพในการจัดการ
เรยี นรูสาระเทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ผสู อนอาจใชว ธิ กี ารตอ ไปน้ี

- สงเสรมิ การเรียนรูแบบเพือ่ นสอนเพอ่ื น
- สงเสรมิ การใชค วามคดิ สรา งสรรคใ นการสรา งชน้ิ งาน
- สง เสริมใหผ ูเรยี นเผยแพรส ิ่งท่ีเรยี นรู
- ใหผเู รยี นทาํ งานเดย่ี วและงานกลมุ
- ใหผเู รียนสรา งชิ้นงานทเี่ ชอื่ มโยงกับสถานการณในชีวิตประจาํ วนั
ในการจัดการเรียนรูสาระเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) มีแนวทางและสงิ่ ที่ตองนํามาพิจารณา
ประกอบการจดั กิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
1) การสอนวิทยาการคํานวณโดยไมใชคอมพิวเตอร
จากเปาหมายของสาระเทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) เนนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิด
วิเคราะหแกปญหาซ่ึงการพัฒนาทักษะเหลาน้ีอาจไมจําเปนตองใชคอมพิวเตอรในการเรียนการสอนก็
ไดผูสอนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใชกลวิธีการสอนเชนการสอนอัลกอริทีมโดยใชกิจกรรมท่ี
ผูสอนสรางข้ึนการใหผูเรียนแสดงบทบาทสมมุติตามเร่ืองราวที่เขียนอยางสรางสรรคการเขียนขั้นตอน
การแกปญหาลงในกระดาษนอกจากน้ียังสามารถใชโจทยป ญหาเก่ียวกับการเขียนโปรแกรมจากแหลง
เรยี นรูตา ง ๆ เชนเว็บไซต CS Unplugged เวบ็ ไซต Code. org (www. Code. org)
2) การสอนการเขียนโปรแกรม
สําหรับผูเรียนท่ีเร่ิมตนเขียนโปรแกรมอาจไมคุนเคยกับการแกปญหาหรือการเขียนโปรแกรมท่ี
ตองใชเวลาในการคนหาหรือแกไขขอผิดพลาดในการทํางานของโปรแกรมหลายครัง้ ผูสอนจึงตองสรา ง
สภาพแวดลอมในช้ันเรียนใหเกิดการเรียนรูท่ีมีเปาหมายรวมกันเคารพซึ่งกันและกันและยอมรับไดวา
ทกุ คนสามารถเรยี นรจู ากความผิดพลาดท่เี กดิ ข้นึ ได
ผูสอนควรฝก ใหผูเรยี นเขยี นโปรแกรมโดยทําความเขาใจกับขอความทีแ่ สดงความผิดพลาดของ
โปรแกรมแนะนําเทคนิคในการตรวจหาขอผดิ พลาดและแกไ ขเม่ือผเู รียนตองการความชวยเหลือในการ
ดีบักโปรแกรมควรใหผูเรียนไดหาวิธีแกปญหาดวยตนเองใหเพ่ือนชวยแนะนําหรือใหคนหาวิธีการ
แกปญ หาจากหนงั สอื หรอื อินเทอรเนต็
นอกจากน้ีผูสอนสามารถพัฒนาทักษะของผูเรียนใหสูงขึ้นโดยใหผูเรียนศึกษาการเขียน
โปรแกรมจากแหลงเรียนรูบนเว็บไซตดวยตนเองแสดงความเขาใจโดยการอธิบายการทํางานของ
โปรแกรมที่ละบรรทดั เพมิ่ เงอื่ นไขหรือความยากของโจทยใหผเู รียนไดแกปญหาดวยตนเองหรือทําการ
โปรแกรมตามขนั้ ตอนท่ผี ูส อนกาํ หนด

3) ภาษาโปรแกรม (Programming Language)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเปนทักษะท่ีสําคัญอยางหน่ึงของการเรียนสาระเทคโนโลยี
(วิทยาการคํานวณ) ภาษาโปรแกรมมีอยมู ากมายซึ่งแตละภาษามีความเหมาะสมกับผูเ รยี นในระดับช้นั
ที่แตกตา งกัน
ภาษาโปรแกรมที่เหมาะกับผูเรียนระดับประถมศึกษาควรใชงานงายมีกราฟกที่กระตุนความ
สนใจของผูเรียนเนนใหเขาใจพ้ืนฐานของการส่ังงานคอมพิวเตอรซึ่งทํางานตามลําดับข้ันตอนตัวอยาง
ภาษาโปรแกรมและแหลง เรยี นรมู ีดังนี้ โปรแกรม Scratch เวบ็ ไซต Code. org
สําหรับระดับช้ันมัธยมศึกษาสามารถเลือกใชภาษาโปรแกรมและแหลงเรียนรูไดเชนเดียวกับ
ระดับประถมศึกษาแตค วรเลือกเน้ือหาท่ีเหมาะสาํ หรบั ผูเรยี นในระดับมธั ยมศึกษาและอีกแนวทางหน่ึง
คือการเลือกใชโปรแกรมภาษาแบบขอความ (text based programming language) ซึ่ตัวอยางของ
ภาษาโปรแกรมสําหรับระดับช้ันมัธยมศึกษามีดังนี้ ภาษาโปรแกรม Logo ภาษาโปรแกรมอื่น ๆ เชน
Python, C #, C / C + +, R, App Inventor
4) การเพมิ่ โอกาสในการเรียนรู
ผูสอนสามารถนําเทคโนโลยีมาใชสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรูเชนเว็บไซตกระดาน
ปฏิสัมพันธสภาพแวดลอมการเรียนรูเสมือนการประชุมผานวิดีโอบล็อกวิกิวิดีโอเทคโนโลยีเหลาน้ีได
เพมิ่ โอกาสในการเรียนรูแ กผูเรยี นดังน้ี
• ความไมเทาเทยี มในการเขา ถึงอุปกรณดิจทิ ัล
• ความแตกตา งทางเพศ
• ความตองการใชเ ทคโนโลยอี ํานวยความสะดวก
• ผเู รียนทม่ี คี วามสามารถพิเศษ
• การจดั การเรยี นรสู ําหรบั ผเู รียนทไ่ี มใ ชสายวิทยาศาสตร
5) การเรยี นรตู ามอัธยาศยั
ผูเรียนสามารถเรียนรูเพิ่มเติมเก่ียวกับวิทยาการคํานวณไดตามความสนใจท้ังในชั้นเรียนและ
แบบออนไลนมีโปรแกรมและเอกสารใหศึกษาจํานวนมากซ่ึงจะนําไปสูการเปนผูสรางงานดิจิทัลบน
เว็บไซตตาง ๆ โปรแกรมเชิงพานิชยบางโปรแกรมจะอนุญาตใหใชเพ่ือการศึกษาโดยไมเสียคาใชจาย
ชุมชนออนไลนหลายแหงจะมีผูเรียนหรือนักพัฒนาซอฟตแวรมาแบงปนแนวคิดการเรียนรูการสราง
ส่ิ ง ป ร ะ ดิ ษ ฐ ท า ง ดิ จิ ทั ล ตั ว อ ย า ง เ ช น เ ว็ บ ไ ซ ต Scratch (http:/Scratch.mit.edu) เ ว็ บ ไ ซ ต
programming.in.th
นอกจากนผ้ี สู อนควรแนะนาํ ผูเรียนไดพฒั นาความรูแ ละทักษะเพมิ่ เตมิ สงเสรมิ ใหเ ขารวมแขงขัน
ในโครงการตาง ๆ เชนการประกวดโครงงานสะเต็ม การแขงขันคอมพิวเตอรโอลิมปกงาน
ศิลปหัตถกรรมผูเรยี น การแขง ขัน RoboCup Thailanddvcx

การวดั และประเมินผล

การวัดและประเมินตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูเปนกระบวนการที่มีความสําคัญและจําเปน ตอการ
จัดการเรียนรู ผลการประเมินแสดงถึงพัฒนาการในการเรยี นรแู ละสามารถนํามาใชตัดสินผลการเรียน
ไดดวย การประเมินผูเรียนควรเปนการประเมินตามสภาพจริง (authentic assessment) ท่ี
สอดคลองกบั เปาหมายของหลักสูตร คณุ ภาพผเู รียน มาตรฐานการเรียนรู และตัวช้วี ัด/ผลการเรียนรูท่ี
กําหนด การวัดและประเมินตัวชี้วัด/ผลการเรียนรูตองเลือกใช เคร่ืองมือวัดที่เหมาะสม มีคุณภาพ
ดําเนินการดวยวิธีที่ถูกตองและหลากหลาย รวมทั้งพิจารณา ถึงความแตกตางของผูเรียนแตละกลุม
และแตละระดับ

1. การประเมนิ เพ่อื ปรับปรุงการเรียนรู (formative assessment) คอื การติดตามตรวจสอบ
การเรียนรูของผูเรียนระหวางที่ผูสอนจัดการเรียนรู เพ่ือใหไดขอมูลไปพัฒนา ผูเรียนและปรับปรุง
วิธกี ารสอนตอ ไป การวดั และประเมินผลเพอ่ื ปรับปรุงการเรยี นรูทําได หลายรูปแบบ ดังน้ี

1) การประเมนิ ตนเอง (self-assessment)
2) การประเมินโดยเพอื่ น (peer-assessment)
3) การใชคาํ ถาม
4) การใชกลวธิ ี KWL (know, want to know, learned)
2. การประเมนิ เพอื่ สรุปผลการเรียนรู (summative assessment) คือ การประเมนิ ตวั ชว้ี ดั /
ผลการเรียนรูของผูเรียนเมื่อส้ินสุดการเรียนการสอนดวยการเปรียบเทียบกับมาตรฐานท่ีกําหนดไว
ภายใตกรอบการประเมินทงั้ ดานความรู ทักษะ และเจตคติเพือ่ ตัดสินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและอาจ
ใชเสนอแนะแนวทางการศึกษาตอ ในการตัดสนิ ผลการเรยี นอาจใชคะแนนสอบรวมกับผลการประเมิน
จากเครือ่ งมืออ่ืนๆ เชน แฟม สะสมผลงาน ชนิ้ งาน โครงงาน
1. การประเมินจากแฟม สะสมผลงาน (learning portfolio)
2. การวดั ตัวช้วี ัด / ผลการเรียนรูด วยแบบทดสอบ
3. การวดั ตวั ชว้ี ดั / ผลการเรียนรูจ ากโครงงานหรอื นวตั กรรม
4. การประเมินผลจากการปฏบิ ตั ิ

ตวั อยา ง ระดับชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 4

ตวั อยาง ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1

บรรณานกุ รม

วัชรพฒั น ศรีคําเวียง. (2561). วิทยาการคาํ นวณ (Computing Science). สบื คน 5 มีนาคม 2563,
จาก https://www.scimath.org/lesson-technology/item/8808-computing-science

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2560). คูมือการใชหลักสูตร
รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ)
ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา. สบื คน 4 มนี าคม 2563,
จาก https://www.iswww.scimath.org/ebook-technology/item/8376-2560-2551
fbclid=IwAR3lYkvARN1DmWi1oVTUa9_QwUO6RJW7D4os13Xg-z0gHa1VGvvub47wEww

กระทรวงศึกษาธกิ าร สถาบนั สง เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2561). คมู ือครูรายวิชาพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ระดับชนั้ ประถมศึกษาปท1ี่ (พิมพค รั้งท่ี 1).
กรุงเทพมหานคร: จฬุ าลงกรณแหง มหาวทิ ยาลัย

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2561). คูมอื ครูรายวชิ าพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 4 (พมิ พครั้งท่ี 1).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณแหง มหาวิทยาลยั

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบันสง เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2561). คูมือครูรายวชิ าพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 1 (พมิ พค รั้งท่ี 1).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณแ หงมหาวิทยาลยั

กระทรวงศึกษาธกิ าร สถาบันสงเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2561). คมู อื ครรู ายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4 (พมิ พครัง้ ท่ี 1).
กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณแ หง มหาวทิ ยาลยั

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบนั สง เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2562). คูม ือครูรายวชิ าพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ระดับชน้ั ประถมศึกษาปท่ี2 (พิมพครัง้ ที่ 1).
กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณแหง มหาวทิ ยาลัย

กระทรวงศึกษาธิการ สถาบนั สง เสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2562). คูมือครรู ายวชิ าพื้นฐาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี (วิทยาการคาํ นวณ) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 (พมิ พคร้งั ที่ 1).
กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณแหง มหาวิทยาลยั

กระทรวงศกึ ษาธิการ สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2562). คูมือครรู ายวชิ าพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (วทิ ยาการคํานวณ) ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 2 (พมิ พค รั้งท่ี 1).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณแ หงมหาวิทยาลัย

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สถาบนั สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลย.ี (2562). คมู ือครรู ายวชิ าพน้ื ฐาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี (วทิ ยาการคาํ นวณ) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 5 (พิมพค รง้ั ที่ 1).
กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณแ หง มหาวทิ ยาลัย


Click to View FlipBook Version