แบบรายงานการวจิ ยั (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวจิ ยั
เรื่อง
เครือ่ งรดนำ้ ต้นไม้อตั โนมัติ
Automatic watering machine
นายอาณุพงษ์ ประกอบทรัพย์
.นายทตั เทพ .ขนั ติวิรยิ ะโยธนิ
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
ปพี ุทธศักราช 2564
วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง
อาชีวศึกษาจงั หวัดระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
ก
หัวข้อวจิ ยั เคร่อื งรดน้ำตน้ ไมอ้ ตั โนมัติ
ผ้ดู ำเนนิ การวจิ ัย 1) นายทตั เทพ ขันตวิ ิริยะโยธิน
2) นายอาณุพงษ์ ประกอบทรพั ย์
ทป่ี รกึ ษา นายมงคล พรมประเสรฐิ
ครผู สู้ อน นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพรอ้ ม
หน่วยงาน วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
ปี พ.ศ. 2564
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อสร้างเครื่องรดน้ำอัตโนมัติที่ควบคุมการเปิด-ปิดผ่านมือ
ถือทาง แอพพลิเคชั่น Blynk 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อเครื่องรดน้ำต้นไม้
อัตโนมัติ 3) เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง นกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสูง ชน้ั ปี
ที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่อง
รดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ และ แบบสอบถามความพึงพอใจระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1
ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทัล วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่ีมตี ่อเครอ่ื งรดน้ำต้นไม้อัตโนมตั ิ สถิติ
ที่ใช้ในงานวิจัย ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ร้อยละ
(percentage)
ผลการวิจัยมีดังนี้ ผลจากการสร้าง เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด
จำนวน 30 คน สรุปได้ดังนี้ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ส่วนใหญ่เพศหญิง คิด
เป็นร้อยละ 73.33 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด มากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 26.67
ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด ตามลำดับ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
ส่วนใหญ่อายุ19-20ปี คิดเป็นร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด มากกว่าอายุ 17-18
ปี คิดเป็นร้อยละ 40 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดตามลำดับ ความพึงพอใจด้านโครงสร้าง
ของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.05, S.D.=0.14) เมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อแลว้ สรุปได้ว่า วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้สร้างเครื่องรดนำ้ ต้นไมอ้ ัตโนมัติมีความแขง็ แรง ( ̅ =4.20,
S.D.=0.55) ขนาดของเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.03, S.D.=0.81) ความทนทาของวัสดุที่ใช้
( ̅ =4.00, S.D.=0.69) ตามลำดับ ความพึงพอใจด้านด้านการใช้งานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับดี ( ̅ =4.11, S.D.=.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ความสะดวกในการใช้งานของ
เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.30, S.D.=0.65) ระยะเวลาการทำงานเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ
( ̅ =4.10, S.D.=0.61) การควบคุมการทำงาน ( ̅ =4.07, S.D.=0.64) ตามลำดับ ความพงึ พอใจด้าน
ก
ความคุ้มค่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.04, S.D.=.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว
สรุปได้ว่า ลดเวลาในการรดน้ำด้วยตัวเอง ( ̅ =4.17, S.D.=0.65) เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติสามารถ
ใช้งานได้จริง ( ̅ =4.10, S.D.=.66) ระยะเวลที่ใช้ในการทำเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ
( ̅ =4.07, S.D.=0.52) ตามลำดับ
ข
กติ ติกรรมประกาศ
โครงงานวชิ าประจำปนี ้ี สำเร็จไปดว้ ยดตี ้องขอขอบคณุ อยา่ งยิ่ง นางสาวอจั ฉราภรณ์ เกล้ยี งพรอ้ ม
อาจารผู้สอน และ นายมงคล พรมประเสรฐิ อาจารยท์ ปี่ รึกษาโครงงาน ท่ีให้ความรูแ้ ละคำปรกึ ษาด้าน
การพัฒนาโครงงาน
ขอขอบคุณนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่1ห้อง2ที่ให้ความร่วมมือในการตอบ
แบบสอบถามและให้ข้อเสนอแนะในการต่อยอดพัฒนาโครงงาน ซึ่งผู้จัดทำซาบซึ่งเป็นอย่างยิ่งและ
ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี
คณะผูว้ ิจัย
2564
สารบัญ ค
บทคัดย่อภาษาไทย หน้า
กติ ติกรรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบัญตาราง ค
สารบญั ภาพ ง
จ
บทท่ี 1 บทนำ
ความเป็นมาและความสำคญั 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1
ขอบเขตการวิจัย 2
ขอ้ จำกัด 2
สมมติฐานการวจิ ัย 2
คำจำกดั ความที่ใช้ในงานวิจัย 2
ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รับ 2
บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ยี วข้อง 4
แนวคิดเก่ียวกบั เครอ่ื งรดน้ำตน้ ไมอ้ ัตโนมัติ 6
แนวคิดเกย่ี วกับต้นไม้ 7
แนวคิดเกี่ยวกบั แอพพลเิ คชน่ั Blynk 9
แนวคิดเกย่ี วกับ ESP8266 14
กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
15
บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวิจยั 15
ประชากรและการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่าง 21
21
การสรา้ งเครื่องมือในการวจิ ยั
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
สถติ ทิ ใี่ ช้และวิธวี เิ คราะหข์ อ้ มลู
บทที่ 4 ผลการวิจัย ค
แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 23
แสดงความพงึ พอใจดา้ นโครงสร้าง 24
แสดงความพึงพอใจด้านด้านการใช้งาน 25
แสดงความพงึ พอใจด้านดา้ นความคุ้มคา่ 26
27
บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผลการวิจัย 28
อภิปรายผล .29
ข้อเสนอแนะในการวิจยั 29
การเสนอแนะการนำเสนองานวิจยั ไปใชป่ ระโยชน์ 29
การเสนอแนะการทำการวจิ ัยตอ่ เน่ืองหรอื วจิ ยั ต่อยอด 29
30
บรรณานกุ รม
31
ภาคผนวก 49
ก ว-สอศ-2 .51
ข แบบสอบถามความพึงพอใจ 53
QR Code Video ชิ้นงาน
ประวัติผ้วู ิจยั
สารบญั ตาราง ง
ตารางที่ หน้า
3.1 ตารางแสดงอุปกรณ์ 20
4.1 ตารางแสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 23
4.2 ตารางแสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 24
4.3 ตารางแสดงความพึงพอใจด้านโครงสรา้ ง 25
4.4 ตารางแสดงความพงึ พอใจดา้ นดา้ นการใช้งาน 26
4.5 ตารางแสดงความพึงพอใจด้านดา้ นความคุ้มคา่ 27
จ
สารบัญภาพ หน้า
4
รูปที่ 5
2.1 รปู แสดงการรดนำ้ 6
2.2 รปู แสดงระบบอตั โนมัติ 7
.2.3 รูปแสดงต้นไม้ 8
.2.4 รปู แสดงการเชอื่ มระหว่า2อุปกรณ์ 9
.2.5 รูปแสดงภาพรวมของระบบ Network Blynk 10
.2.6 รปู แสดงข้อมลู หน้าจอทีจ่ ะมาแสดงใน App 11
.2.7 รูปแสดงESP8266 12
.2.8 รปู แสดงขาของโมดู 13
.2.9 รูปแสดงรปู แบบการทำงาน 18
..2.10 รูปแสดงกรอบแนวคิดการวจิ ัย 19
.3.1 รปู แสดงผังงานโครงงาน 19
.3.2 รปู แสดงผังงานโปรแกรม
23
.3.3 รูปแสดงการทำงานของวงจร 24
25
.4.1 รปู แผนภมู ิแสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 26
.4.2 รปู แผนภมู ิแสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 27
.4.3 รปู แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจด้านโครงสรา้ ง
.4.4 รูปแผนภมู ิแสดงความพงึ พอใจดา้ นการใชง้ าน
.4.5 รปู แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านดา้ นความคมุ้ คา่
จ
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคัญ
ปัจจุบันผู้ที่เพราะปลูกต้นไม้ส่วนใหญ่ประสบปัญหากับการให้น้ำต้นไม้ เช่น ไม่มีเวลามาก
พอที่จะดูแลต้นไม้ได้ คือ ในหนึ่งวันของแต่ละคนจะแบ่งเวลาไม่เท่ากันสำหรับคนที่มีเวลาน้อยก็จะไม่
ค่อยมีเวลามาดูแลต้นไม้ รดน้ำไม่ทั่วถึง คือ หลายคนที่ปลูกต้นไม้จำนวนมากการรดน้ำก็ต้องรดน้ำ
เพิ่มขึ้นซึ่งการรดน้ำไม่ทั่วถึงอาจจะทำให้ต้นไม้บางต้นเติบโตช้า หรือติดภารกิจที่ทำให้จำเป็นต้อง
เดินทางไปต่างจังหวัดเป็นระยะเวลานาน คือ สำหรับผู้ที่ต้องเดินทางไปทำ งานนอกสถานที่
ซ่ึงในช่วงเวลาท่ไี ม่อยูบ่ ้านตน้ ไม้ของหลายคนจะไมไ่ ด้รดน้ำเลย โดยเฉพาะในหนา้ รอ้ นซง่ึ ตน้ ไม้ต้องการ
น้ำปริมาณมาก ถ้าต้นไม้ไม่ได้รับน้ำที่เพียงพอจะส่งผลให้ ต้นไม้ใบร่วง ต้นเหี่ยว หรือ ยืนต้นตายได้
เป็นต้น ซึ่งการรดน้ำทั่วไปไม่สามารถแก้ปัญหาตามข้างต้นได้ ท่าหากไม่ใส่ใจดูแลหรือไม่สนใจต้นไม้
ทางเราจึงแก้ไขโดยการสร้างเครื่องรดน้ำอัตโนมัติ ที่มีการควบคุมการรดน้ำโดยการใช้
เซนเซอรต์ รวจจบั อณุ หภมู ิดินท่าดินแหง่ เกินกำหนดเคร่ืองกจ็ ะทำงานโดยการรดน้ำใหด้ ินชื้นพอดินชืน้
ตามกำหนดเครื่องก็จะหยุด ซึ่งเราจะประหยัดเวลาไม่เสียเวลาในการรดน้ำ เราเชื่อว่าเครื่องรดน้ำ
ต้นไมอ้ ัตโนมตั ิสามารถตอบสนองความต้องการในปจั จบุ นั ได้
ดังนั้นจึงไดจ้ ัดทำ เครื่องรดน้ำอัตโนมัตทิ ่ีระบบเนเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิและควบคุมผ่าน
มือถือ เป็นโครงงานทีเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีประกอบเข้ากับปัญหาในการดูแล
รดน้ำต้นไม้ในปจั จบุ ัน
1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1.2.1 เพื่อสร้างเครอ่ื งรดน้ำอัตโนมตั ทิ ค่ี วบคุมการเปิด-ปดิ ผา่ นมือถอื ทาง แอพพลเิ คชน่ั Blynk
1.2.2 เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนกั ศึกษาประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สูง ช้ันปีที่ 1 ห้อง 2
สาขาวิชา เทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทลั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่มี ีต่อเครื่องรดนำ้ ต้นไม้
อตั โนมตั ิ
1.2.3 เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
2
1.3 ขอบเขตการวจิ ัย
1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา
1.3.1.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวขอ้ งกับเครอื่ งรดน้ำตน้ ไม้อัตโนมตั ิ
1.3.1.2 ศึกษาการเขยี นโปรแกรมภาษา C และ แอป Blynk
1.3.2 ขอบเขตด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
กลมุ่ นักศึกษาประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสงู ปที ่ี 1 ห้อง 2 จำนวน 1 หอ้ ง สาขาวชิ า
เทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ลั วทิ าลยั เทคนิคระยอง จำนวน 30 คน
1.3.3 ขอบเขตด้านเวลา
เดือนมถิ นุ ายน 2564 - เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2564
1.4 ขอ้ จำกดั (ถ้าม)ี
มีพ้ืนทใี่ ช้งานท่ีจำกดั และ ระยะเวลาการทำงานในช่วงเวลาเช้าและเย็น
1.5 สมมตฐิ านการวจิ ยั (ถ้ามี)
ตวั แปรต้น คือ เครื่องรดน้ำ
ตวั แปรตาม คือ ระบบรดน้ำอตั โนมตั ิ
ตวั แปรควบคมุ คอื ตวั ตรวจวัดอณุ หภมู ิกบั แอป Blynk
1.6 คำจำกดั ความทใี่ ช้ในงานวิจัย
1.6.1 เครอื่ งรดนำ้ หมายถึง เปน็ เครื่องท่ีใชต้ ่อกับก๊อกน้ำ ซึ่งจะมกี ารให้ตงั้ ค่าอ่ืน ๆ ทงั้ ต้งั
เวลารดนำ้ ระยะเวลาในการรดนำ้ แต่ละคร้งั ปรมิ าณน้ำทีส่ ง่ ออก เปน็ ตน้
1.6.2 อตั โนมัติ หมายถงึ เป็นไปไดใ้ นตวั เอง ทาํ หน้าทไ่ี ดใ้ นตัวเอง มีกลไกทาํ หนา้ ท่ไี ดเ้ อง
1.7 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ บั
1.7.1 ไดเ้ ครอื่ งรดน้ำอัตโนมัตทิ ี่ควบคุมการเปดิ -ปิดผ่านมือถือทาง แอพพลิเคชน่ั Blynk
1.7.2 ได้ความพึงพอใจของนักศกึ ษาในระดับวชิ าชพี ช้ันปีที่ 1 หอ้ ง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยี
ธรกจิ ดจิ ิทัล วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ที่มตี ่อเครื่องรดน้ำตน้ ไมอ้ ัตโนมัติอยใู่ นระดบั ดี
1.7.3 ไดเ้ ผยแพร่ผา่ นโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรม วชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง
4
บทที่ 2
แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวข้อง
ในการวิจัยเรื่องการวิจัยเรื่องเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ โดยมีการพัฒนาทักษะการเขียน
โปรแกรมเบื่องต้น โดยการพัฒนาเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีและงานท่ี
เกย่ี วข้อง เพอ่ื เป็นพน้ื ฐานในการดำเนินการวิจัย ตามหัวขอ้ ดงั นี้
2.1 แนวคดิ เกี่ยวเครื่องรดนำ้ อัตโนมตั ิ
2.1.1 ความหมายของการรดน้ำ
2.1.2 ความหมายขออัตโนมตั ิ
2.2 แนวคิดเก่ียวกับต้นไม้
2.2.1 ความหมายของตน้ ไม้
2.3 แนวคดิ เกี่ยวกบั แอพพลิเคชน่ั Blynk
2.3.1 ความหมายของแอพพลเิ คชนั่ Blynk
2.3.2 ความหมายเกย่ี วกับการทำงานของ Blynk
2.4 แนวคิดเกีย่ วกับ ESP8266
2.4.1 ความหมายเก่ยี วกับ ESP8266
2.4.2 ความหมายเก่ียวกับการทำงานของ ESP8266
2.5 แนวคิดเกย่ี วกับการทำงาน
2.5.1 รปู แบบการทำงาน
2.5.2 เงอื นไขการทำงาน
2.6 งานวิจัยทเ้ี กี่ยวข้อง
2.7 กรอบแนวคิดการวจิ ัย
รายละเอยี ดแต่ละหัวขอ้ ดงั นี้
4
2.1 แนวคดิ เกี่ยวกบั เครือ่ งรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ
ในการนำเสนอเกย่ี วกบั เครื่องรน้ำต้นไม้อัตโนมตั ิ มหี ัวขอ้ ย่อยคอื ความหมายของการรดนำ้
และ ความหมายของอตั โนมัติ รายละเอียดของแตล่ ะหวั ข้อดงั นี้
2.1.1 ความหมายของการรดนำ้
ผทู้ ่กี ล่าวถึงการรดน้ำมีดังนี้
(MThai.com-Décor 2561) กลา่ ววา่ การปลกู ต้นไมไ้ วใ้ นบา้ น ถือเป็นอกี หนง่ึ ตัวชว่ ย
ให้บรรยากาศในบ้านของเรานั้นหน้าอยู่เย็นสบาย แถมยังช่วยฟอกอากาศได้อีกด้วย แต่
อย่างไรการดูแลก็ถือ ไดว้ ่าเป็นสิ่งสำคัญ ท้ังการพรวนดิน รดนำ้ ใส่ปยุ๋ ถอื เป็นองคป์ ระกอบ
สำคัญที่ชว่ ยใหต้ น้ ไม้ของเรานนั้ เจรญิ เติบโตและงอกงามได้อยา่ งสวยงาม
(บริษัท เวิลด์ แพลนท์ เซ็นเตอร์ จำกัด 2556) กล่าวว่า เคยสังเกตกันไหมว่าทำไมต้นไม้ใบ
หญ้าในสวนบ้านเราถึงไดเ้ หี่ยว เหลอื ง ไม่เขียวชอุ่ม ทง้ั ๆ ทก่ี ร็ ดนำ้ ต้นไม้จนชมุ่ ฉ่ำทุกวนั
หนำซ้ำต้นไม้บางต้น หรือต้นหญ้าบางหย่อมยังพากันเหี่ยวตายเป็นหลักฐานทิ้งไว้ซะอีก
หรือจะเปน็ เพราะเรารดน้ำตน้ ไมไ้ ม่ถูกวธิ ีกนั อยูร่ เึ ปล่านะ ถ้ากำลังสงสัยอยา่ งนี้เหมือนกัน
เอาเปน็ วา่ มาดูวิธีรดนำ้ ต้นไมท้ ่ถี กู ต้องกันกอ่ นดกี วา่
รปู ที่ 2.1 แสดงการรดนำ้
5
2.1.2 ความหมายของอัตโนมัติ ผ้กู ลา่ วถึงอัตโนมัติมีดงั น้ี
(บริษัท ไชยเจริญเทค จำกัด 2564) กล่าวว่า เครื่องจักรอัตโนมัติสามารถแบ่งได้
เปน็ 2 ประเภท
2.1.2.1 ระบบเคร่ืองจกั รกึง่ อตั โนมตั ิ
หมายถึง เครื่องจักรที่นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเพื่อช่วยควบคุมการทำงาน
หรือเพื่อใช้สำหรัทำงานในบางขั้นตอน ซึ่งระบบเครื่องจักกึ่งอัตโนมัตินี้จะถูก
นำมาใช้สำหรับควบคุมการทำงานบางประเภทที่ต้องการความแม่นความ
ละเอียด หรืองานที่มีอันตรายสูง ส่วนสำหรับขั้นตอนอื่นๆนั้นจะเน้นการทำงาน
ดว้ ยแรงงานคนเป็นหลัก
2.2.1.2 ระบบเคร่อื งจักรอัตโนมัติ
หมายถึง เครื่องจักรที่นำระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาเพื่อช่วยควบคุมการทำงาน
หรือเพื่อใช้สำหรับทำงานในทุกขั้นตอน เหมาะสำหรับงานที่ต้องอาศัยการ
ควบคุมอย่างเต็มที่ในด้านความสะอาดหรือด้านคุณภาพ รวมทั้งเหมาะสำหรับ
งานที่ต้องใช้อุณหภูมิสูงมากซึ่งเป็นระดับอุณหภูมิที่มนุษย์ไม่สามารถทำงานได้
ตัวอย่างเช่นการทำงานในอุณหภูมิ 100-1000 องศาเซลเซียส เป็นต้น โดยการ
ทำงานของเครื่องจักรอัตโนมัติสามารถทำงานเองได้ เพียงแค่ต้องการมนุษย์ใน
การดูแลควบคมุ ระบบและออกคำสงั่ เครอ่ื งเทา่ น้ัน
รูปท่ี 2.2 แสดงระบบอตั โนมัติ
6
2.2 แนวคดิ เก่ียวกบั ต้นไม้
ในการนำเสนอเก่ยี วกับตน้ ไมค้ ือ ความหมายของตน้ ไม้ รายละเอยี ดแต่ละหวั ขอ้ มีดังน้ี
2.2.1 ความหมายของตน้ ไม้ ผกู้ ล่าวถึงตน้ ไมม้ ดี ังนี้
(กภน .ร่วมใจ รักต้นไมใ้ นโรงเรยี น 2549) กล่าวว่า ตน้ ไม้ คือ พชื ยืนต้นขนาดใหญต่ ้นไม้มี
อายยุ ืนยาวเมอ่ื เปรยี บเทยี บกับพชื ในลกั ษณะอน่ื ๆและตน้ ไมก้ ม็ มี ากมายหลายชนิดมที ้งั
แบบยนื ตน้ และลม้ ลุก ต้นไม้เปน็ ส่วนประกอบสำคญั ของภมู ิประเทศตามธรรมชาตเนื่อจาก
มนั สามารถปอ้ งกันภมู ปิ ระเทศจากการกดั เซาะของนำ้ และเป็นส่วนสำคญั ของการปรบั ภมู ิ
ทศั นแ์ ละการเกษตร เน้ือไม้จากตน้ ไมเ้ ป็นวสั ดุทใ่ี ช้ทว่ั ไปในการกอ่ สรา้ ง ตน้ ไมป้ ระกอบด้วย
อวยั วะที่สำคัญตอ่ การดำรงชีวิต (Bloggang.com 2556) กลา่ วว่า พนื้ ทส่ี เี ขียวช่วยใหบ้ า้ น
น่าอยแู่ ละทำให้เกดิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ท่ี เสริมสรา้ งพลงั กายพลงั ใจใหก้ บั สมาชิกภายในบา้ น
สวนกระถาง เป็นการจดั สวนทางเลอื กของบา้ นทมี่ พี ื้นท่จี ำกดั คุณสามารถจับต้นไมก้ ระถาง
ใหอ้ ยูม่ มุ ใดมมุ หนึ่งของบ้านหรือจะจับโยกยา้ ยเปล่ียนมมุ เปล่ียนบรรยากาศ ยามเมอื่ มดี อก
มผี ลให้ชืน่ ชม กย็ กมาโชว์ประดับบ้าน เปน็ หนา้ เป็นตาของเจ้าของบ้าน แต่ยามทต่ี น้ โทรมดู
ไม่เจริญหูเจริญตา ก็ยกแอบไปหลบมุม อนบุ าลให้ดดู แี ลว้ ค่อยยกมาโชวส์ ลับกบั ต้นอ่นื ๆ
ต้นไม้กม็ ีชีวติ จิตใจเหมอื นกัน ใช่ว่าเราจะปรับเปลย่ี นไดต้ ามใจเราไดเ้ สมอไป แม้มนั จะไมม่ ี
ปากเสยี งด้วยแต่มนั ก็มวี ิธีบอกเราได้เหมอื นกนั ว่ามนั พอใจหรือไมพ่ อใจ สงั เกตวา่ บางท่ี ๆ
เราเอาไปวางไว้ มันจะเจรญิ งอกงามดีแต่บางท่ีไม่ แถมทำทา่ นอ้ ยอกน้อยใจ ตายไปเลยกม็ ี
รูปที่ 2.3 แสดงต้นไม้
7
2.3 แนวคดิ เกีย่ วกบั แอพพลเิ คชน่ั Blynk
ในการนำเสนอเก่ียวกบั แอพพลเิ คชัน่ Blynk มีดงั น้ี ความหมายของแอพพลเิ คชนั่ Blynk
และความหมายเก่ียวกบั การทำงานของ Blynk
2.3.1 ความหมายของแอพพลเิ คชน่ั Blynk
Blynk คอื Application สำเร็จรปู สำหรบั งาน IOT มีความน่าสนใจคอื การเขยี นโปรแกรม
ทง่ี า่ ย ไม่ตอ้ งเขียน App เองสามารถใช้งานได้อย่าง Real time สามารถเชือ่ มต่อ Device
ตา่ งๆเขา้ กบั Internet ได้อย่างงา่ ยดาย ไม่ว่าจะเป็น Arduino, Esp8266 นำมาแสดงบน
Application ไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย แลว้ ที่สำคญั Application Blynk ยงั ฟรี และ รองรบั ใน
ระบบ IOS และ Android
2.3.2 ความหมายเก่ียวกับการทำงานของ Blynk
ในยุคสมัยกอ่ น การเขียนโปรแกรมเชอ่ื มต่อกันระหว่าง อปุ กรณ์ 2 ชน้ิ เข้าดว้ ยกันมักจะ ใช้
งานในลักษณะของ Server >>> Client ทำให้เกดิ ขอ้ จำกดั ต่างๆมากมาย ยกตัวอยา่ ง เรา
ต้องการเปิดปิดไฟ ผา่ นหนา้ เวบ็ เราก็จะให้ Arduino เปน็ Server และ เครื่อคอมพวิ เตอร์
(Client) เปน็ เคร่ืองลูก ขอ้ จำกดั ที่เกิดขึ้นคือทรพั ยากร เช่น CPU RAM ROM ของเรา
อาจจะไมพ่ อ มักจะเจอปัญหาเออ๋ บอ่ ย คา้ งไปด้อื ๆ ก็มี ทำใหก้ ารเขียนโปรแกรมเปน็ ไปได้
ยากต้องประหยัดทรพั ยากรใหไ้ ด้มากทีส่ ุด เพอ่ื จะให้สามารถทำงานได้ และการเซ็ต
Netword เปน็ ไปได้ยาก สว่ นใหญ่มกั จะใชใ้ นวง Lan หรือถ้าต้องการ ควบคบุ ผา่ น Wan
จะต้อง Forword Set ระบบ Network
รปู ที่ 2.4 แสดงการเชอ่ื มระหว่า2อปุ กรณ์
ตอ่ มาเปน็ ยุคของ Cloud เกดิ ขึ้น บวกกับมี Chip Wifi ราคาถกู Esp8266 ถกู ผลติ ขึ้นมา
แตด่ ้วยขอ้ จำกดั ทางด้านทรพั ยากร จงึ มอื วิธีการคดิ วา่ ถ้านำขอ้ มูลไปใสล่ งใน Server เลย
ละแล้วให้ Device ของเราเรียกเขา้ ไปแกไ้ ข หรอื อ่านข้อมูลโดยตรง ทำให้ความฉลาดของ
8
ตวั อุปกรณ์ของเราไมม่ ีวันส่นิ สดุ หมดข้อจำกัดหลายอยา่ ง Device กลายเป็นตวั รบั Data
และส่ง Data มาแสดงเทา่ นน้ั ทำให้ Chip Esp8266 จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน
รปู ที่ 2.5 แสดงภาพรวมของระบบ Network Blynk
วิธีการทำงานของ Blynk เริ่มจาก อุปกรณ์ เช่น Arduino esp8266 Esp32 Rasberry Pi
เชื่อมต่อไปยัง Server ของ Blynk โดยตรง สามารถรับส่งข้อมูลหากันได้คอมพิวเตอร์
Smartphone ก็จะเชื่อมต่อกับ Server ของ Blynk โดยตรง กลายเป็นว่า มี Server เป็น
สะพานให้เชื่อต่อหากันจึงหมดปัญหาและข้อจำกัดทุกอย่างทำให้อุปกรณ์ของเรามีความ
ฉลาดมากขึ้นการออกแบบในลักษณะ ภาพที่ 3 เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เพราะไม่
จำเป็นต้อง Set อุปกรณ์ Network ต่างๆ ให้ปวดหัว พูดถึงระบบไปแล้วคราวนี้เราจะมาดู
ความสามารถของ Application Blynk ดบู ้างวา่ สามารถทำอะไรได้บา้ ง
9
รปู ท่ี 2.6 แสดงข้อมูลหนา้ จอทจ่ี ะมาแสดงใน App
2.4 แนวคิดเกีย่ วกับ ESP8266
ในการนำเสนอ เกี่ยวกับ ESP8266 มีดังนี้ ความหมายเกี่ยวกับ ESP8266 และ ความหมาย
เก่ียวกบั การทำงานของ ESP8266
2.4.1 ความหมายเก่ยี วกับ ESP8266
ESP8266 คือโมดูล WiFi จากจีน ที่มีความพิเศษตรงที่ตัวมันสามารถโปรแกรมลงไปได้
ทำให้สามารถนำไปใช้งานแทนไมโครคอนโทรลเลอร์ได้เลย และมีพื้นที่โปรแกรมที่มากถึง
4MB ทำให้มีพื้นท่ีเหลือมากในการเขียนโปรแกรมลงไปESP8266 เป็นชื่อของชิปไอซีบน
บอร์ดของโมดูล ซึ่งไอซี ESP8266 ไม่มีพื้นที่โปรแกรม (flash memory) ในตัว ทำให้ต้อง
ใช้ไอซีภายนอก (external flash memory) ในการเก็บโปรแกรม ที่ใช้การเชื่อมต่อผ่าน
โปรโตคอล SPI ซึ่งสาเหตุนี้เองทำให้โมดูล ESP8266 มีพื้นที่โปรแกรมมากกว่าไอซี
ไมโครคอนโทรลเลอรเ์ บอรอ์ ื่นๆ
10
รูปท่ี 2.7 แสดงESP8266
2.4.2 ความหมายเกีย่ วกบั การทำงานของ ESP8266
ESP8266 ทำงานท่แี รงดนั ไฟฟ้า 3.3V - 3.6V การนำไปใช้งานร่วมกบั เซน็ เซอรอ์ ่นื ๆท่ีใช้
แรงดนั 5V ตอ้ งใชว้ งจรแบง่ แรงดันมาชว่ ย เพอื่ ไมใ่ ห้โมดูลพังเสียหาย กระแสท่โี มดูลใชง้ าน
สูงสดุ คือ 200mA ความถคี่ รสิ ตอล 40MHz ทำให้เมอ่ื นำไปใช้งานอปุ กรณ์ท่ีทำงานรวดเร็ว
ตามความถ่ี เช่น LCD ทำใหก้ ารแสดงผลขอ้ มลู รวดเร็วกวา่ ไมโครคอนโทรลเลอร์ยอดนยิ ม
Arduino มากขาของโมดูล ESP8266 แบ่งได้ดังน้ีVCC เป็นขาสำหรับจ่ายไปเข้า
โมดูลทำงานได้ ซึ่งแรงดันที่ใช้งานได้คือ 3.3 - 3.6VGNDReset และ CH_PD (หรือ EN)
เป็นขาที่ต้องต่อเข้าไฟ + เพื่อให้โมดูลสามารถทำงานได้ ทั้ง 2 ขานี้สามารถนำมาใช้รีเซ็ต
โมดูลได้เหมือนกัน แตกต่างตรงที่ขา Reset สามารถลอยได้แต่ขา CH_PD (หรือ EN)
จำเป็นต้องต่อเข้าไป +เท่านัน้ เมื่อขานี้ไม่ตอ่ เข้าไฟ + โมดูลจะไมท่ ำงานทันทีGPIO เป็นขา
ดิจิตอลอินพุต / เอาต์พุต ทำงานที่แรงดัน 3.3VGPIO15 เป็นขาที่ต้องต่อลง GND
เพอ่ื ให้โมดูลทำงานไดG้ PIO0 เปน็ ขาทำหรับการเลือกโหมดทำงาน หากนำขานี้ลง GND จะ
11
เข้าโหมดโปรแกรมหากลอยไว้ หรือนำเข้าไฟ + จะเข้าโหมดการทำงานปกติADC เป็นขา
อนาล็อกอินพุต รับแรงดันได้สูงสุดที่ 1V ขนาด 10 บิต การนำไปใช้งานกับแรงดันที่สูงกวา่
ต้องใชว้ งจรแบ่งแรงดนั เขา้ ชว่ ย
รปู ท่ี 2.8 แสดงขาของโมดู
2.5 แนวคดิ เกย่ี วกบั การทำงาน
ในการนำเสนอเกย่ี วกับการทำงาน มีดงั น้ี รูปแบบการทำงาน และ เงอื นไขการทำงาน
2.5.1 รปู แบบการทำงาน
การทำงานของเครอ่ื งรดนำ้ ตน้ ไมอ้ ัตโนมตั จิ ะทำงานตามขั้นตอน ดังน้ี
เซนเซอร์วัดความชื้นในดินจะตรวจจับอุณหภูมิในดินท่าดินแห้งเกินกำหนดหรือที่ตั้งค่าไว้
เซนเซอร์ก็จะทำการส่งค่าดินไปที่ บอร์ด ESP8266 จากนั้นตัวบอร์ดพอได้รับค่าของดิน
แล้วบอร์ดก็จะสั่งการไปที่ตัว ดีเลย์เพื่อให้ดีเลย์สั่งให้ปั๊มน้ำทำงาน พอปั๊มน้ำทำงานทำให้
อุณภมู ใิ นดนิ ชื้นขึน้ เซนเซอรว์ ดั คา่ ในดนิ ก็จะสง่ ค่าในดินให้กบั ESP8266 พอความตรงตาม
ทต่ี ้ังค่าไว้ บอรด์ กจ็ ะส่งั การดเี ลยใ์ หด้ ีเลย์ส่งั ใหห้ ยดุ การทำงานของปม๊ั นำ้
12
2.5.2 เงือนไขการทำงาน
ในการของเคร่ืองรดนำ้ ตน้ ไม้อัตโนมตั ิ ได้มีการกำหนดเง่ือนไขในการทำงานไว้ดงั น้ี
2.5.2.1 ความชนื้ ในดนิ
2.5.2.2 ชว่ งเวลาในการทำงาน
รปู ท่ี 2.9 แสดงรปู แบบการทำงาน
2.6 งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
กุลยศ มิตรมุสิกการ,2559 สร้างผลงานสิ่งประดิษฐ์เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติเป็น
สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ตามแผนงบประมาณ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและ
นวัตกรรม ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยี เงินอุดหนุนโครงการเสริมสร้างนวัตกรรม
การพัฒนาเทคโนโลยีสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่อาชีวศึกษาเพื่อสนองตอบต่อนโยบายของ
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติจัดสร้างเพื่อแก้ไขปัญหาการ
รดน้ำต้นไม้ในกรณีที่ไม่มีคนอยู่โดยมีวิธีการทดสอบเป็นแบบทดสอบทางด้านวิศวกรรม ทำการ
ออกแบบระบบการรดน้ำต้นไม้โดยการเช็คความชืน้ ในดิน และทดลองใช้งานจริงให้สามารถรดน้ำ
ต้นไม้ในขณะที่ดินแห้งไม่มีความชื้นและจะหยุดทำงานเมื่อดินมีความชื้น ผลการทดลองใช้งาน
เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติพบว่าเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติสามารถทำงานได้ เป็นไปตาม
วตั ถปุ ระสงค์
13
โรงเรียนวัดไผ่ดำ แผลกสามัญศึกษา,2560 กลุ่มของเรามีแนวคิดที่จะประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์นี้
ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอยู่ ณ ตอนนี้เกี่ยวกับการขาดคนดูแลแปลงผักและรดน้ำผักอย่าง
สม่ำเสมอ ซ่ึงในส่วนนท้ี มี่ ปี ัญหาอย่คู อื สามเณรก็ตดิ กิจธรุ ะ บางสว่ นบางรูปเป็นผู้ดแู ลแปลงผักก็ไม่
สามารถมารดน้ำแปลงผักของโรงเรียนได้ต่อเนื่องเนื่องจากตัวเองบางครั้งก็บางกิจธุระเหมือนกัน
จากการสังเกตมาเป็นระยะเวลานานหรือทุกๆปีและอีกปัญหาหนึ่งที่นอกเหนือจากนี้ คือสามเณร
ถูกสัตว์มีพิษที่อยู่ในที่ชุ่มชื้นแถวๆบริเวรแปลงผักกัดต่อยอยู่เป็นบ่อยครั้ง เช่น ตะขาบ,แมงป่อง,งู
เป็นต้น เมื่อมีปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นแล้วผักที่อยู่ในแปลงผักก็ขาดการดูแลไม่ได้รดน้ำและไม่
เจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ ปัญหาดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งในการดูแลแปลงผักของโรงเรียน
ในการขาดคนดูแลผักในแปลงอย่างสม่ำเสมอเพราะฉะนั้นเราจึงเล็งเห็นปัญหาในส่วนนี้และเลือก
ที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้น เพื่อที่จะไม่ให้เกิดปัญหานี้ขึ้นอีก กลุ่มของเราจึงประดิษฐ์ชิ้นงาน
นี้ขน้ั มาเพ่อื แกไ้ ขปัญหาเหลา่ นค้ี อื “เครื่องรดนำ้ ผักอตั โนมตั ”ิ
เกียรติศักดิ์ ปานใจ,2558 การปลูกต้นไม้ในคอนโดฯ หรือที่พัก จะทำให้มีความสวยงามทำให้
รสู กึ สบายตา ต้นไม้ยงั ชว่ ยใหอ้ ากาศสดชืน่ และผอ่ นคลายความเครียดได้ ความเครียดจะทำให้เกิด
โรคต่างๆ เช่น ไมเกรน โรคความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ ปวดหลัง หอบหืด แผลในกระเพาะ
อาหาร มะเล็ง ฯลฯ เป็นเหตุทำให้สูญเสียชีวิตปัญหาในการดูแลต้นไม้เป็นอีกปัจจัยหนึ่งท่ีทำให้
ต้นไม้ตายโดยเฉพาะคนในเมืองงานยุ่งที่ไม่มีเวลาดูแลต้นไม้จึงเป็นเหตุทำให้เสีย
ทรัพยากรธรรมชาติและทำให้เสียเงินในการปลูกทดแทนซึ่งถ้าไม่มีต้นไม้จะทำให้เกิดความเครียด
เปน็ เหตทุ ำใหเ้ กดิ โรคต่างๆ เชน่ ไมเกรน โรคความดนั โลหิตสูง ปวดศรี ษะ ปวดหลัง หอบหืด แผล
ในกระเพาะอาหาร มะเล็ง ฯลฯ เป็นเหตุทำให้สูญเสียชีวิต การทดลองการทำงานของปั้มน้ำที่
ความชื้น 45% ทำการทดลอง 10 ครั้ง ป้ัมน้ำทำงาน 10 ครั้ง คิดเป็น x=10 (100%) การทดลอง
การตดั ของป้มั นำ้ จะหยดุ การทำงานท่ี 90% ทำการทดลอง 10 คร้ัง ปม้ั นำ้ ตัดการทำงาน 10 ครั้ง
x=10 (100%) จากการประเมินความพงึ พอใจในการใชง้ านเคร่ืองรดน้ำตน้ ไม้อัตโนมัติ ในครั้งนี้ มี
ภาพรวมระดับความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x= 4.4 ) คิดเป็นร้อยละ 88 ส่วนระดับ
ความเหมาะสมในด้านต่างๆเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ย 3 อันดับแรกได้แก่ คู่มือในการใช้งาน อยู่ใน
ระดับมากที่สุด (x= 4.60 ) รองลงมาคือ ความสะดวกในการใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด
(x=4.50 ) ความปลอดภัยในการใช้งาน อยู่ในระดับมาก (x= 4.50 ) ตามลำดับ คะแนนที่น้อย
ท่ีสุดคือความค้มุ ค่ากับราคาท่ีเหมาะสม อยใู่ นระดบั มาก (x= 4.oo ) เพราะอปุ กรณ์มีราคาแพง
ไฟซอล มะแซ,2558 ปัจจุบันเทคโนโลยี IoT ( Internet of Things) เข้ามามีบทบาทในการ
ควบคุมอุปกรณ์ในชีวิตประจำวันของเราเป็นอย่างมากเนื่องจากปัจจุบันทุกมีโอกาสเข้าถึงการใช้
งานอินเตอร์เน็ตประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมีการเพาะปลูกพืช ตน้ ไม้ ไม้ประดบั การรด
น้ำต้นไม้อาจเป็นปัญหาใหญ่สำหรับคนปลูกต้นไม้ แต่ไม่ค่อยมีเวลาว่างดังนั้นเครื่องรดน้ำต้นไม้
14
อัตโนมัติจึงจำเป็นกับเหล่าบรรดาผู้รักต้นไม้ เราขอแนะนำในส่วนของเครื่องรดน้ำต้นไม้อัจฉริยะ
สามารถสั่งรดน้ำต้นไม้ด้วยระบบ IoT ที่ทันสมัย รวดเร็ว ทันใจ สะดวกสบาย หมดห่วงเรื่อง
ระยะทาง ลดเวลา ในการรดน้ำตน้ ไม้ มีการรายงานและเกบ็ ขอ้ มลู คา่ ความชื้นผ่านระบบเครือข่าย
อย่างอัตโนมัติ
เกวรีย์ สุฤทธ์ิ,2548 ระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายมีการออกแบบให้
ระบบมีการควบคุมการทํางาน ด้วยบอร์ดอาดุยโน่ 2 บอร์ด โหนดเอ็มซียู 1 บอร์ด ทั้ง 3 บอร์ด
ทําการควบคุมรีเลย์ บอร์ดละ 1 ตัว และรีเลย์ สั่งการให้ปั้มน้ําทํางาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือ
สร้างระบบรดน้ําอัตโนมัติและศึกษาการทํางานของระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครอื ข่ายเซ็นเซอร์ไร้
สายการทดสอบระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย สามารถรดน้ําตามเวลาที่
กําหนดโดย การรดน้ําอัตโนมัติแบ่งออกเป็น 2 ช่วงเวลา คือช่วงเช้าเวลา 07.00-07.30 น. และ
ช่วงเย็น 17.00-17.30 น. เครื่องรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายไร้สายสามารถรดน้ําได้ตามเวลาที่
กําหนดไว้ได้ทั้ง 2 ช่วง การวัดค่าความชื้น ของดินเซ็นเซอร์ได้ทํางานตามค่าที่กําหนดลงในบอร์ด
และการสั่งการผ่านโทรศัพท์มือถือ ผลการทดสอบระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้
สายทั้ง 3 ระบบ ระบบสามารถใชง้ านได้ ถกู ตอ้ ง และเม่ือเปรียบเทยี บกับการใช้แรงงานคนในการ
ทาํ งาน ระบบสามารถทํางานไดด้ ี สามารถลดตน้ ทนุ ในการจา้ งแรงงานในการรดน้ำ
2.7 กรอบแนวคดิ การวิจัย
ตัวแปรตน้ ตวั แปรตาม
รดน้ำ
เคร่ืองรดน้ำตน้ ไม้
อัตโนมัตทิ ่คี วบคุม
เปิด-ปิดผา่ นทาง
แอพพลเิ คชน่ั
Blynk
รูปที่ 2.10 แสดงกรอบแนวคิดการวิจัย
15
บทท่ี 3
วิธีดำเนินการวจิ ยั
ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ เพื่อศึกษาความพึง
พอใจของนักศึกษาวิชาชีพระดับชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 ห้องสาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง ที่มีต่อเครื่องรน้ำต้นไม้อัตโนมัติ เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพ
เทคโนโลยีธรุ กจิ ดิจทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ซ่งึ คณะผู้วิจยั ไดน้ ำเนนิ การศึกษา ตามข้นั ตอนดังนี้
3.1 การสร้างเครื่องมอื ในการวจิ ัย
3.1.1 เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ได้แก่ NodeMCU ESP82661
โมดูลดีเลย์ 2แชร์แนล,ปั๊มน้ำ5v,ตู้ปลา,เซนเซอร์วัดความชื้นในดิน,ตู้ปลา,สายไฟ ซึ่งได้
จาก ร้านอิเล็กทรอนกิ ส,์ รา้ น อปุ กรณ์ IT,ร้านขายปลาสวงาม,ร้านเครื่องมอื ไฟฟ้า
3.1.2 แบบสอบถามความพงึ พอใจของกลุ่มนักศกึ ษาวิชาชีพระดับชนั้ ปีที่ 1 หอ้ ง 2 จำนวน 1
หอ้ งสาขาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ลั วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ท่มี ีต่อเครื่องรดน้ำต้นไม้
อตั โนมตั ซิ ง่ึ ได้จากการประเมนิ ความพงึ พอใจของนกั ศึกษาวชิ าชีพระดับชั้นปที ่ี 1 หอ้ ง 2
สาขาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจทิ ัลวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 30 คน
3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
นกั ศกึ ษาวิชาชีพระดบั ชัน้ ปีท่ี 1 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง
จำนวน 30 คน
3.3 การดำเนนิ การทดลอง
การดำเนนิ การทดลอง มีข้ันตอนดังนี้
3.3.1 ข้ันเตรยี ม
3.3.1.1 สบื ค้นขอ้ มลู เกยี่ วกับโครงการทส่ี นใจและอปุ กรณท์ ใี่ ชใ้ นการทำโครงการ
3.3.1.2 เตรียมอุปกรณ์การจัดทโครงงาน NodeMCU ESP82661 โมดูลดีเลย์ 2
แชร์แนล,ปม๊ั นำ้ 5v,ตปู้ ลา,เซนเซอรว์ ัดความช้นื ในดนิ ,ต้ปู ลา,สายไฟ
3.3.2 ข้ันดำเนินการ
3.3.2.1 นำ เซนเซอร์วัดความชื้นในดิน โมดูลดีเลย์ 2แชร์แนล ต่อเข้ากับ ตัวESP8266
จากนั้น ต่อ ปั๊มน้ำ5vเข้ากับ โมดูลดีเลย์ 2แชร์และจากน้ันก็ ติดอุปกรณ์
ทง้ั หมดไว้บนตปู้ ลา
16
3.3.2.2 แล้วเริ่มเขียนโค้ด จากนั้นก็อัพโหลดโค้ดลงในบอร์ด ESP8266 เป็นอันเสร็จ
เรยี บร้อย
3.3.3 ขนั้ ทดลองและนำไปใช้
3.3.3.1 ใสถ่ า่ นเขาไปเปดิ สวชิ ให้เครือ่ งทำงาน
3.3.3.2 ได้นำเซนเซอร์ไปเสยี บเข้ากบั ดินท่แี ห้งเครอ่ื งกจ็ ะทำงาน จากนัน้ นำเซนเซอร์
ไปเสยี บกบั ดนิ ที่ชนื้ เครอื่ งกจ็ ะไม่ทำงาน
3.3.3.3 และไดร้ บั การแจ้งเตอื นทางแอพ Blynk
3.3.4 ข้ันตอนการทำบรรจุภณั ฑ์ (กรณเี ปน็ ส่งิ ประดิษฐป์ ระเภท ผลติ ภัณฑส์ ำเรจ็ รูป)
เครือ่ งรดนำ้ ต้นไม้ต้นไมอ้ ัตโนมตั ิ ประสบผลสำเรจ็
17
3.4 แผนผงั งาน
3.4.1 แผนผงั งานโครงงาน
เริม่ ต้น
วิเคราะปญั หา
ศกึ ษางานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง
กำหนดขอบเขตของชิน้ งาน
ออกแบบชนิ้ งาน
สร้างชิน้ งานจาการออกแบบ
ทดสอบช้ินงาน ไม่ผา่ น
ผา่ น
ประกอบช้นิ งานกับวงจร
ทดสอบประสิทธภิ าพ ไม่ผา่ น
ผา่ น
1
18
1
ใช้ช้ินงาน
ประเมินการใช้งาน
จัดทำรปู เล่ม
จบ
รูปที่ 3.1 แสดงผังงานโครงงาน
3.4.2 แผนผงั งานโปรแกรม
เริ่มตน้
ประกาศตวั แปร
Int Soil moisture probe , Pump
รับค่าอุณหภูมิดนิ จาก Soil moisture probe
Soil moisture probe =50 ไมผ่ ่าน ดินช้นื
2
ผ่าน
1
1 19
ดินแหง้
Pump ON 2
Pump OFF
จบ
รปู ท่ี 3.2 แสดงผงั งานโปรแกรม
3.5 วงจรการทำงาน
รูปท่ี 3.3 แสดงการทำงานของวงจร
ตรารางท่ี 3.1 แสดงอปุ กรณ์ 20
รปู อปุ กรณ์
ชอ่ื อุปกรณ์
ESP 8266
ดีเลย์5V 2ชาแนล
สายไฟ
รางถ่าน
ป๊มั นำ้ 5V
เซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิดนิ
21
3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.6.1 จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพระดบั ชัน้ ปที ่ี 1 ห้อง 2 สาขา
เทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 30 คน ทม่ี ีตอ่ เคร่ืองรดนำ้ ต้นไม้
อัตโนมตั ิ
3.6.2 อธบิ ายขน้ั ตอนการทำงานของเครอื่ งรดนำ้ ตน้ ไม้อตั โนมัติ และการทำแบบสอบถาม
3.6.3 นำเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติไปใช่กับกลุ่มตัวอย่างและการทดสอบเครื่องรดน้ำต้นไม้
อตั โนมัติ
3.6.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาชีพระดับชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 30 คน ที่มีต่อเครื่องรดน้ำต้นไม้
อตั โนมัตแิ ละการทำแบบประเมนิ หลงั การใชง้ านเครื่องรดนำ้ ต้นไมอ้ ตั โนมัติ
3.6.5 รวบรวมแบบสอบถามและความพึงพอใจและแบบประเมนิ มาใช่ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.7 สถิติท่ีใช้และวธิ ีวเิ คราะหข์ ้อมลู
3.7.1 สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะห์
3.7.1.1 คา่ เฉล่ยี (Mean)
โดยท่ี
คอื ค่าเฉลยี่
Σ คือ ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด
คือ จำนวนท้ังหมด
3.7.1.2 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
โดยท่ี
S.D. คอื สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
Σ คือ ผลรวมทั้งหมดของคะแนน
Σ 2 คือ ผลรวมของคะแนนยกกำลงั สองทง้ั หมด
คือ จำนวนทั้งหมด
22
3.7.2 วิธีการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ขอ้ มูลทใี ชไ้ ดจ้ ากการรวบรวมจะดำเนนิ การแปลความหมายของค่าเฉล่ยี ใน
แต่ละด้านโดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ แบ่งออกเปน็ 5 ระดับ ดังนี้
4.50 - 5.00 หมายถงึ มากทีส่ ุด
3.50 - 4.49 หมายถึง ดี
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถงึ น้อย
1.00 – 1.49 หมายถึง น้อยสุด
23
บทท่ี 4
ผลการวิจยั
ผลจากการสร้าง เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด จำนวน 30 คน
สรปุ ได้ดงั น้ี
ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
รายการประเมิน จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%)
ชาย 8 26.67
หญงิ 22 73.33
รวม 30 100
จากตารางที่ 4.1 สรุปได้ว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ส่วนใหญ่เพศหญิง
คิดเป็นร้อยละ 73.33 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด มากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 26.67
ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมด ตามลำดบั
แผนภมู ิแสดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
80
60
40
20
0 หญงิ
ชาย
จํานวน (คน) ร้อยละ (%)
รปู ที่ 4.1 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
24
ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
รายการประเมนิ จำนวน (คน) ร้อยละ (%)
17-18 12 40
19-20 18 60
รวม 30 100
จากตารางท่ี 4.2 สรุปไดว้ ่าจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ สว่ นใหญอ่ ายุ19-20ปี
คิดเป็นร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด มากกว่าอายุ 17-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 40
ของจำนวนผ้ตู อบแบบสอบถามทั้งหมดตามลำดบั
แผนภมู แิ สดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
80
60
40
20
0 19-20 ปี
17-18 ปี
จาํ นวน (คน) ร้อยละ (%)
รปู ท่ี 4.2 แผนภมู ิแสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
25
ตารางท่ี 4.3 แสดงความพงึ พอใจด้านโครงสร้าง
ราการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
วสั ดอุ ุปกรณ์ทีใ่ ชส้ รา้ งเครอื่ งรดน้ำต้นไม้ 4.20 .55 ดี
อัตโนมตั ิมีความแขง็ แรง
ความแข็งแรงของเครอ่ื งรดนำ้ ต้นไม้อตั โนมัติ 3.97 .49 ดี
ขนาดของเครื่องรดนำ้ ตน้ ไม้อตั โนมัติ 4.03 .81 ดี
ความทนทานของวสั ดุท่ใี ช้ 4.00 .69 ดี
4.05 .14 ดี
รวม
จากตารางท่ี 4.3 สรุปได้วา่ ความพึงพอใจด้านโครงสรา้ งของผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความ
คิดเหน็ อยู่ในระดับดี ( ̅ =4.05, S.D.=0.14) เม่อื พิจารณาเป็นรายข้อแลว้ สรปุ ได้ว่า วัสดอุ ุปกรณ์ท่ีใช้
สร้างเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติมีความแข็งแรง ( ̅ =4.20, S.D.=0.55) ขนาดของเครื่องรดน้ำต้นไม้
อัตโนมตั ิ ( ̅ =4.03, S.D.=0.81) ความทนทาของวสั ดุที่ใช้ ( ̅ =4.00, S.D.=0.69) ตามลำดบั
แผนภูมิแสดงความพึงพอใจดา้ นโครงสรา้ ง
5 ความแข็งแรง ขนาดของเคร่ือง ความทนทาน
4 ̅ S.D.
3
2
1
0
วสั ดอุ ปุ กรณ์
รูปที่ 4.3 แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจด้านโครงสร้าง
26
ตารางที่ 4.4 แสดงความพึงพอใจด้านดา้ นการใชง้ าน
ราการประเมิน ̅ S.D. แปลผล
ความสะดวกในการใชง้ านของเครอื่ งรดน้ำ 4.30 .65 ดี
ตน้ ไม้อัตโนมัติ
ความปลอดภัยของเคร่อื งรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ 3.97 .56 ดี
ระยะเวลาการทำงานเคร่ืองรดนำ้ ตน้ ไม้ 4.10 .61 ดี
อัตโนมัติ
การควบคมุ การทำงาน 4.07 .64 ดี
4.11 .04 ดี
รวม
จากตารางที่ 4.4 สรุปได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านด้านการใช้งานส่วนใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.11, S.D.=.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ความสะดวกใน
การใช้งานของเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.30, S.D.=0.65) ระยะเวลาการทำงานเครื่องรดน้ำ
ตน้ ไม้อัตโนมตั ิ ( ̅ =4.10, S.D.=0.61) การควบคมุ การทำงาน ( ̅ =4.07, S.D.=0.64) ตามลำดบั
แผนภูมิแสดงความพงึ พอใจดา้ นการใชง้ าน
5
4
3
2
1
0
ความสะดวก ความปลอดภัย ระยะเวลาการทาํ งาน การควบคมุ
̅ S.D.
รูปท่ี 4.4 แผนภูมแิ สดงความพงึ พอใจด้านการใช้งาน
27
ตารางท่ี 4.5 แสดงความพึงพอใจด้านด้านความค้มุ ค่า
ราการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
ระยะเวลทใี่ ช้ในการทำเคร่ืองรดน้ำต้นไม้ 4.07 .52 ดี
อัตโนมัติ
เคร่ืองรดนำ้ ตน้ ไมอ้ ตั โนมตั ิสามารถใช้งานได้ 4.10 .66 ดี
จริง
ราคาวสั ดอุ ปุ กรณใ์ นการทำเคร่ืองรดน้ำต้นไม้ 3.87 .73 ดี
อัตโนมตั ิ
ลดเวลาในการรดนำ้ ด้วยตวั เอง 4.17 .65 ดี
4.04 .09 ดี
รวม
จากตารางท่ี 4.5 สรุปไดว้ า่ ผูต้ อบแบบสอบถามความพงึ พอใจด้านดา้ นความคุม้ ค่าส่วนใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.04, S.D.=.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ลดเวลาในการรด
น้ำด้วยตัวเอง ( ̅ =4.17, S.D.=0.65) เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติสามารถใช้งาน ได้จริง
( ̅ =4.10, S.D.=.66) ระยะเวลที่ใช้ในการทำเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.07, S.D.=0.52)
ตามลำดับ
แผนภมู ิแสดงความพงึ พอใจด้านด้านความคุม้ ค่า
5
4
3
2
1
0 ใช้งานไดจ้ ริง ราคาวสั ดุอุปกรณ์ ลดเวลาในการรดนํา้
ระยะเวลทใี่ ช้ ̅ S.D.
รูปที่ 4.5 แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจดา้ นด้านความคุม้ ค่า
28
บทท่ี 5
สรปุ ผลการวจิ ยั อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
ในการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อสร้างเครื่องรดน้ำอัตโนมัติที่ควบคุม
การเปิด-ปิดผ่านมือถือทาง แอพพลิเคชั่น Blynk 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาในระดับ
วิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อเครื่อง
รดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ 3) เพื่อเผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยี
ธุรกิจดิจิทลั วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครัง้ น้ี นักศึกษาในระดบั วิชาชีพชัน้ สูง
ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ และ แบบสอบถามความพึงพอใจระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อเครื่องรดน้ำ
ตน้ ไมอ้ ัตโนมัตผิ ลการวิจยั มดี งั นี้
5.1 สรุปผลการวิจยั
5.1.1 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ สรุปได้ว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามเพศ ส่วนใหญ่เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 73.33 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด
มากกวา่ เพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 26.67 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทงั้ หมด ตามลำดับ
5.1.2 จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ สรุปได้ว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถาม
จำแนกตามอายุ ส่วนใหญ่อายุ19-20ปี คิดเป็นร้อยละ 60 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถมทั้งหมด
มากกว่าอายุ 17-18 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 40 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมดตามลำดบั
5.1.3 ความพึงพอใจด้านโครงสร้าง สรุปได้ว่าความพึงพอใจด้านโครงสร้างของผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.05, S.D.=0.14) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
แล้วสรุปได้ว่า วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติมีความแข็งแรง ( ̅ =4.20,
S.D.=0.55) ขนาดของเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.03, S.D.=0.81) ความทนทาของวัสดุที่ใช้
( ̅ =4.00, S.D.=0.69) ตามลำดับ
5.1.4 ความพึงพอใจด้านด้านการใช้งาน สรุปได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านด้าน
การใช้งานส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.11, S.D.=.04) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว
สรุปได้ว่า ความสะดวกในการใช้งานของเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.30, S.D.=0.65ระยะเวลา
การทำงานเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ( ̅ =4.10, S.D.=0.61) การควบคุมการทำงาน
( ̅ =4.07, S.D.=0.64) ตามลำดบั
29
5.1.5 ความพึงพอใจด้านด้านความคุ้มค่า สรุปได้ว่าผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านด้าน
ความคุ้มค่าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅ =4.04, S.D.=.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้ว
สรุปได้ว่า ลดเวลาในการรดน้ำด้วยตัวเอง ( ̅ =4.17, S.D.=0.65) เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติสามารถ
ใช้งานได้จริง ( ̅ =4.10, S.D.=.66) ระยะเวลที่ใช้ในการทำเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ
( ̅ =4.07, S.D.=0.52) ตามลำดบั
5.2 อภิปรายผล
5.2.1 ไดเ้ คร่ืองรดนำ้ อัตโนมัติทคี่ วบคมุ การเปิด-ปิดผา่ นมือถือทาง แอพพลเิ คช่นั Blynk
5.2.2 ได้ความพึงพอใจของนักศึกษาในระดบั วิชาชีพชั้นสงู ชั้นปีที่ 1 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยี
ธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติอยู่ในระดับดี ซึ่งตรงตาม
จดุ ประสงคท์ ี่ตงั้ ไว้
5.2.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรม วิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
5.3 ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั
5.3.1 การเสนอแนะการนำเสนองานวิจัยไปใช่ประโยชน์
5.3.1.1 นำไปใช่ประโยชน์ด้านเชิงพาณิชย์ เช่น ผลการวิจัยที่ได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ในด้านการค้าขาย
5.3.1.2 นำผลวิจัยไปใช้ประโยชน์ด้านการเกษตรเพื่อลดเวลาในการรดน้ำ และ นำ
ผลผลติ ทีไ่ ดไ้ ปขาย
5.3.2 การเสนอแนะการทำการวจิ ยั ต่อเน่ืองหรือวิจัยตอ่ ยอด
5.3.2.1 มีการขยายขนาดของป้มั น้ำเพ่ือเพ่ิมแรงดันน้ำ
5.3.2.2 มีการเปลยี่ นสายยางใหเ้ ป็นทอ้ PVCแทนเพ่อื เพิม่ จำนวนการรดน้ำ
5.3.2.3 เพมิ่ หวั ฉีดให้เป็นละอองสำหรบั ตน้ ไมบ้ างชนดิ
30
บรรณานุกรม
(บริษัท เวิลด์ แพลนท์ เซ็นเตอร์ จำกัด 2556) ความหมายของการรดน้ำ เข้าถึงเมื่อ 13 สิงหาคม
2564 เขา้ ไดจ้ าก http://www.worldplantcenter.co.th/
(บรษิ ัท ไชยเจรญิ เทค จำกดั 2564) ความหมายของอัตโนมตั ิ เขา้ ถึงเมอื่ 13 สงิ หาคอม 2564
เขา้ ไดจ้ าก https://www.chi.co.th/article/article-1148/
(กภน รว่ มใจ รกั ตน้ ไม้ในโรงเรียน 2549) ความหมายของตน้ ไม้ เขา้ ถงึ เมอ่ื 13 สงิ หาคอม 2564
เข้าได้จาก https://papang290845.wordpress.com/
(AB.in.th 2563) ความหมายของแอพพลเิ คชั่น Blynk เขา้ ถงึ เมื่อ 13 สิงหาคอม 2564
เขา้ ได้จาก https://www.ab.in.th/article/
(AB.in.th 2563) ความหมายเกยี่ วกับการทำงานของ Blynk เขา้ ถงึ เม่อื 13 สิงหาคอม 2564
เข้าไดจ้ าก https://www.ab.in.th/article/
(Artronshop 2558) ความหมายเก่ยี วกับ ESP8266 เขา้ ถงึ เมื่อ 13 สงิ หาคอม 2564
เข้าได้จาก http://www.ioxhop.com/article/
(Artronshop 2558) ความหมายเกี่ยวกบั การทำงาน ESP8266 เข้าถึงเมอ่ื 13 สิงหาคอม 2564
เข้าไดจ้ าก http://www.ioxhop.com/article/
31
ภาคผนวก ก
(ว-สอศ-2)
32
แบบเสนอโครงการวิจัยสง่ิ ประดษิ ฐข์ องคนรนุ่ ใหม่
(ว-สอศ-2)
ประจำปีการศกึ ษา 2564
ปพี ทุ ธศกั ราช 2563 - 2564
ผลงานสิ่งประดษิ ฐ์ประเภทท9ี่
สงิ่ ประดิษฐ์ดา้ น Mini Smart Farms
เครอ่ื งรดนำ้ ต้นไมอ้ ตั โนมตั ิ
วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชวี ศกึ ษาจงั หวัดระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
33
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบบ ว-สอศ-2
(สำหรบั นกั เรยี น นักศึกษา)
แบบเสนอโครงการวิจยั ส่งิ ประดษิ ฐ์ของคนรนุ่ ใหม่ “สดุ ยอดนวัตกรรมอาชีวศกึ ษา”
การประกวดสิ่งประดษิ ฐข์ องคนร่นุ ใหม่ ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
ปพี ุทธศกั ราช 2563 - 2564
......................................................................
ชอ่ื ผลงานวิจัย (ภาษาไทย) เครอื่ งรดน้ำตน้ ไมอ้ ัตโนมัติ
(ภาษาองั กฤษ) Automatic watering machine
ช่อื สถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง อาชีวศึกษา จงั หวดั ระยอง
ท่ีอยู่ 086/13 ตำบล ท่าประดู่ อำเภอ เมอื ง จงั หวดั ระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ 038-611-160 E-mail : [email protected]
ส่วน ก : ลักษณะงานวิจยั
งานวิจยั ใหม่ งานวจิ ัยต่อเน่อื งระยะเวลา..........…..ปี
ความสอดคล้องระดบั ชาติ
1. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติฉบบั ที่ 12
ยทุ ธศาสตร์ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ไดอ้ ย่างย่งั ยนื
2. นโยบายและยุทธศาสตรก์ ารวิจยั ของชาตฉิ บบั ท่ี 9
ยทุ ธศาสตร์ ส่งเสรมิ กลไกและกิจกรรมการนำกระบวนการวิจยั ผลงานวจิ ัย
องคค์ วามรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจยั ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริง
โดยความร่วมมือของภาคส่วนตา่ ง ๆ
3. ยุทธศาสตรก์ ารวิจัยของชาตริ ายประเดน็
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาเทคโนโลยี
4. ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ
ยทุ ธศาสตร์ การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม
5. นโยบายรฐั บาล/เปา้ หมายของรัฐบาล
นโยบาย/เป้าหมาย การพัฒนาและส่งเสรมิ การใช้ประโยชนจ์ ากวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม
34
ความสอดคล้องระดับกระทรวง
1. นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
นโยบาย การศกึ ษาเพอ่ื อาชีพและสร้างขดี ความสามารถในการแข่งขนั ของ
ประเทศ
2. ยุทธศาสตรก์ ระทรวงศกึ ษาธิการ
ยุทธศาสตร์ ผลิตและพฒั นากำลังคน รวมทั้งงานวจิ ัยท่ีสอดคลอ้ งกบั ความ
ต้องการของประเทศ
3. ยทุ ธศาสตรส์ ำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ ดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั
ความสอดคล้องระดับสว่ นภูมิภาค
1. ยุทธศาสตรก์ ลุม่ จังหวัดภาคตะวนั ออก
ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสรมิ และพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป็นมิตรตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม
2. จังหวัดระยอง
ยทุ ธศาสตร์ การพัฒนาความเปน็ เลศิ ดา้ นการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ และการกีฬา
3. พนั ธกิจหรอื นโยบายของสถานศกึ ษา/สถาบันการอาชวี ศกึ ษา
พันธกจิ หรอื นโยบาย มกี ารวิจัยและพัฒนาเพือ่ สง่ ผลไปส่คู วามเข้มแขง็ ของ
สถาบันและชุมชนให้สอดคลอ้ งกบั ภมู ปิ ญั ญาของท้องถ่นิ
โครงการวิจัยน้ี สามารถนำไปเผยแพร่และขยายผลไปสู่การใช้ประโยชนไ์ ด้
เชิงนโยบาย (ระบ)ุ .................................................................................
เชิงพาณชิ ย์ (ระบ)ุ .................................................................................
เชงิ วิชาการ (ระบุ) .................................................................................
เชิงพนื้ ที่ (ระบ)ุ นำไปใชก้ บั กระถางตน้ ไม้
เชงิ สาธารณะ/สงั คม (ระบุ) ...................................................................
อ่นื ๆ (ระบุ) ...........................................................................................
35
ภาพแบบรา่ ง/หรอื ภาพผลงานสง่ิ ประดษิ ฐ์
ส่วน ข : องคป์ ระกอบในการจดั ทำโครงการวิจยั
1. ผ้รู บั ผิดชอบประกอบดว้ ย
1.1 หัวหน้าทมี โครงการวิจยั
นายทตั เทพ นามสกลุ ขนั ตวิ ริ ิยะโยธิน
ตำแหนง่ ผ้พู ัฒนาและออกแบบเครือ่ งรดน้ำตน้ ไม้อตั โนมัติ
ทอี่ ยู่ 23/6 ถ.วัดโสภณ4 ต.มาบตาพดุ อ.เมือง จ.ระยอง
เบอรโ์ ทรศพั ท์ 062-114-6028 E-mail : [email protected]
1.2 นกั วิจยั รุ่นใหม/่ คณะผ้รู ว่ มวิจยั
1.2.1 นายอาณุพงศ์ นามสกุล ประกอบทรพั ย์
ตำแหนง่ จัดทำรปู เลม่
ระดับช้ัน ปวส.2/2 สาขาวชิ า เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
1.3 คณะผู้รว่ มวจิ ัย/ท่ปี รกึ ษาโครงการวจิ ัย
1.3.1 นายมงคล นามสกลุ พรมประเสรฐิ
ตำแหนง่ ครูอตั ราจา้ ง
แผนกวิชา เทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ลั สาขาวิชาทเ่ี ชยี่ วชาญ คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
1.3.2 ชื่อ นางสาวอจั ฉราภรณ์ นามสกุล เกลยี้ งพรอ้ ม
36
ตำแหน่ง ครูอตั ราจา้ ง
แผนกวชิ า เทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ัล สาขาวชิ าทเ่ี ชย่ี วชาญ คอมพวิ เตอรธ์ ุรกจิ
1.4 หนว่ ยงานหลัก วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ท่ีอยู่ 086/13 ตำบล ท่าประดู่
อำเภอเมอื ง จงั หวัดระยอง เบอรโ์ ทรศัพย์ 038-611-160
1.5 หนว่ ยงานสนบั สนุน(ถา้ ม)ี
1.5.1 หน่วยงานภาครฐั -ไม่มี-
1.5.2 หน่วยงานภาคเอกชน -ไม่มี-
1.6 อนื่ ๆ………………………………………………………………………………………………………
2. ประเภทการวจิ ยั
การวิจัยและพัฒนา (research and development)
3. สาขาวิชาการ/ประเภทสิง่ ประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่
สิ่งประดษิ ฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวิจยั ประเภทที่ 1
สง่ิ ประดิษฐ์ดา้ นพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ
สิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรมท่ีทำการวจิ ัย ประเภทที่ 2
สิ่งประดษิ ฐด์ ้านการประกอบอาชีพ
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทีท่ ำการวจิ ยั ประเภทที่ 3
สิ่งประดิษฐ์ด้านเพอ่ื การอนุรักษพ์ ลังงาน
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวัตกรรมทีท่ ำการวิจยั ประเภทที่ 6
สิ่งประดษิ ฐ์ดา้ นนวัตกรรมซอฟต์แวรแ์ ละระบบสมองกลฝงั ตัว
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทีท่ ำการวิจัย ประเภทท่ี 9
ส่งิ ประดษิ ฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ : Mini Smart Farms
4. คำสำคญั (keywords) ของการวิจัย
4.1 เครื่องรดนำ้ หมายถึง เปน็ เครื่องทีใ่ ชต้ อ่ กบั กอ๊ กนำ้ ซง่ึ จะมกี ารให้ต้งั คา่ ตา่ ง ๆ
ทั้ง ต้ังเวลารดน้ำ ระยะเวลาในการรดนำ้ แตล่ ะครง้ั ปรมิ าณน้ำทสี่ ง่ ออก เปน็ ต้น
4.2 อัตโนมัติ หมายถึง เปน็ ไปได้ในตัวเอง ทาํ หนา้ ที่ได้ในตัวเอง มีกลไกทาํ หน้าทไี่ ด้
เอง
5. ความสำคญั และท่ีมาของปญั หาทท่ี ำการวจิ ยั
ปัจจุบันผู้ที่เพราะปลูกต้นไม้ส่วนใหญ่ประสบปัญหากับการให้น้ำต้นไม้ เช่น ไม่มี
เวลามากพอที่จะดูแลต้นไม้ได้ คือ ในหนึ่งวันของแต่ละคนจะแบ่งเวลาไม่เท่ากัน
37
สำหรับคนที่มีเวลาน้อยก็จะไม่ค่อยมีเวลามาดูแลต้นไม้ รดน้ำไม่ทั่วถึง คือ หลายคน
ที่ปลูกต้นไม้จำนวนมากการรดน้ำก็ต้องรดน้ำเพิ่มขึ้นซึ่งการรดน้ำไม่ทั่วถึงอาจจะทำ
ให้ต้นไม้บางต้นเติบโตช้า หรือติดภารกิจที่ทำให้จำเป็นต้องเดินทางไปต่างจังหวัด
เปน็ ระยะเวลานาน คอื สำหรบั ผทู้ ตี่ ้องเดนิ ทางไปทำงานนอกสถานที่ซึ่งในชว่ งเวลาท่ี
ไม่อยู่บ้านต้นไม้ของหลายคนจะไม่ได้รดน้ำเลย โดยเฉพาะในหน้าร้อนซึ่งต้นไม้
ตอ้ งการน้ำปรมิ าณมาก ถ้าตน้ ไม้ไมไ่ ดร้ ับน้ำทเ่ี พยี งพอจะส่งผลให้ ต้นไม้ใบร่วง
ต้นเหย่ี วหรอื ยนื ตน้ ตายได้ เป็นตน้ ซ่งึ การรดนำ้ ท่ัวไปไมส่ ามารถแกป้ ัญหา
ตามข้างต้นได้ท่าหากไม่ใส่ใจดแู ลหรือไม่สนใจตน้ ไม้
ทางเราจึงแก้ไขโดยการสร้างเครื่องรดน้ำอัตโนมัติ ที่มีการควบคุมการรดน้ำโดย
การใช้เซนเซอร์ตรวจจับอุณหภูมิดนิ ท่าดินแห่งเกินกำหนดเครือ่ งก็จะทำงานโดยการ
รดน้ำให้ดินชื้นพอดินชื้นตามกำหนดเครื่องก็จะหยุด ซึ่งเราจะประหยัดเวลา ไม่
เสียเวลาในการรดน้ำ เราเชื่อว่าเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติสามารถตอบสนองความ
ตอ้ งการในปจั จุบันได้
ดังนั้นจึงได้จัดทำ เครื่องรดน้ำอัตโนมัติที่ระบบเนเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิและ
ควบคุมผ่านมือถือ เป็นโครงงานทีเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาเทคโนโลยี
ประกอบเขา้ กับปญั หาในการดแู ลรดนำ้ ตน้ ไม้ในปจั จบุ ัน
6. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
6.1 เพอ่ื สรา้ งเครื่องรดน้ำอตั โนมัติที่ควบคมุ การเปิด-ปิดผา่ นมอื ถอื ทาง แอพพลเิ คชั่น
Blynk
6.2 เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนักศกึ ษาระดบั ประกาศวิชาชีพชัน้ สูง ชั้นปีท่ี 1
ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ท่มี ตี ่อเครือ่ งรดน้ำ
ต้นไมอ้ ตั โนมตั ิ
6.3 เพ่ือเผยแพรผ่ า่ นโครงการประกวดโครงการวิชาชพี ชมรมวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจ
ดจิ ิทลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง
7. ขอบเขตของการวจิ ัย
7.1 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
7.1.1 ศึกษาแนวคิดทฤษฎที เ่ี ก่ียวข้องกับเครอื่ งรดน้ำต้นไม้อตั โนมัติ
7.1.2 ศกึ ษาการเขยี นโปรแกรมภาษา C และ แอป Blynk
38
7.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มนกั ศกึ ษาระดับประกาศวชิ าชีพช้ันสงู ปีท่ี 1 ห้อง 2 จำนวน 1 ห้อง
สาขาวิชา เทคโนโลยีธุรกจิ ดิจทิ ลั วิทาลยั เทคนคิ ระยอง จำนวน 30 คน
7.3 ขอบเขตดา้ นเวลา
เดือนมิถนุ ายน 2564 - เดอื นกุมภาพันธ์ 2564
8. ทฤษฎี สมมตุ ฐิ าน (ถา้ ม)ี และกรอบแนวความคิดของการวจิ ัยหรอื แบบร่าง
ตวั แปรต้น คอื เครอื่ งรดนำ้
ตวั แปรตาม คือ ระบบรดน้ำอตั โนมตั ิ
ตวั แปรควบคมุ คือ ตวั ตรวจวดั อณุ หภมู ิกบั แอป Blynk
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
กุลยศ มิตรมุสิกการ และคณะ (2559) สร้างผลงานส่ิงประดิษฐ์เครื่องรดน้ำ
ต้นไม้อัตโนมัติเป็นสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ตามแผนงบประมาณ พัฒนา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม ผลผลิต ผลงานวิจัยเพื่อถ่ายทอด
เทคโนโลยี เงินอุดหนุนโครงการเสริมสร้างนวัตกรรมการพัฒนาเทคโนโลยี
สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่อาชีวศึกษาเพื่อสนองตอบต่อนโยบายของสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติจัดสร้างเพื่อแก้ไขปัญหา
การรดน้ำต้นไม้ในกรณีที่ไม่มีคนอยู่โดยมีวิธีการทดสอบเป็นแบบทดสอบทางด้าน
วิศวกรรม ทำการออกแบบระบบการรดน้ำต้นไม้โดยการเช็คความชื้นในดิน และ
ทดลองใช้งานจริงให้สามารถรดน้ำต้นไม้ในขณะที่ดินแห้งไม่มีความชื้นและจะหยุด
ทำงานเมื่อดินมีความชื้น ผลการทดลองใช้งานเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติพบว่า
เคร่อื งรดน้ำตน้ ไม้อตั โนมัติสามารถทำงานได้ เป็นไปตามวัตถุประสงค์
โรงเรียนวัดไผ่ดำ แผลกสามัญศึกษา กลุ่มของเรามีแนวคิดที่จะประดิษฐ์
สิ่งประดิษฐ์นี้ขึ้นมาเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอยู่ ณ ตอนนี้เกี่ยวกับการขาดคนดูแล
แปลงผักและรดน้ำผักอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งในส่วนนี้ที่มีปัญหาอยู่คือสามเณรก็ติดกิจ
ธรุ ะ บางส่วนบางรปู เป็นผูด้ แู ลแปลงผักก็ไมส่ ามารถมารดน้ำแปลงผกั ของโรงเรยี นได้
ต่อเนื่องเนื่องจากตัวเองบางครั้งก็บางกิจธุระเหมือนกัน จากการสังเกตมาเป็นระยะ
เวลานานหรือทุกๆปีและอีกปัญหาหนึ่งที่นอกเหนือจากนี้ คือสามเณรถูกสัตว์มีพิษท่ี
อยู่ในที่ชุ่มชื้นแถวๆบริเวรแปลงผักกัดต่อยอยู่เป็นบ่อยครั้ง เช่น ตะขาบ,แมงป่อง,งู
เป็นต้น เมื่อมีปัญหาเหล่านี้เกิดขึ้นแล้วผักที่อยู่ในแปลงผักก็ขาดการดูแลไม่ได้รดน้ำ
และไม่เจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ ปัญหาดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาหนึ่งในการดูแล
39
แปลงผักของโรงเรียนในการขาดคนดูแลผักในแปลงอย่างสม่ำเสมอเพราะฉะนั้นเรา
จึงเล็งเห็นปัญหาในส่วนนี้และเลือกที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาตั้งแต่ต้น เพื่อที่จะไม่ให้
เกิดปัญหานี้ขึ้นอีก กลุ่มของเราจึงประดิษฐ์ชิ้นงานน้ีขัน้ มาเพือ่ แกไ้ ขปัญหาเหลา่ น้ีคือ
“เคร่ืองรดนำ้ ผกั อัตโนมัติ”
เกียรติศักดิ์ ปานใจ และคณะ (2558) การปลูกต้นไม้ในคอนโดฯ หรือที่พัก จะ
ทำให้มีความสวยงามทำให้รูสึกสบายตา ต้นไม้ยงั ช่วยให้อากาศสดชื่นและผอ่ นคลาย
ความเครียดได้ ความเครียดจะทำให้เกิดโรคต่างๆ เช่น ไมเกรน โรคความดันโลหิต
สงู ปวดศรี ษะ ปวดหลัง หอบหืด แผลในกระเพาะอาหาร มะเลง็ ฯลฯ เปน็ เหตุทำให้
สญู เสียชีวติ ปัญหาในการดแู ลต้นไม้เป็นอีกปจั จยั หน่ึงทที่ ำให้ตน้ ไมต้ ายโดยเฉพาะคน
ในเมืองงานยุ่งที่ไม่มีเวลาดูแลต้นไม้จึงเป็นเหตุทำให้เสียทรัพยากรธรรมชาติและทำ
ให้เสียเงินในการปลูกทดแทนซึ่งถ้าไม่มีต้นไม้จะทำให้เกิดความเครียดเป็นเหตุทำให้
เกิดโรคต่างๆ เช่น ไมเกรน โรคความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ ปวดหลัง หอบหืด แผล
ในกระเพาะอาหาร มะเล็ง ฯลฯ เป็นเหตุทำให้สูญเสียชีวิต การทดลองการทำงาน
ของปั้มน้ำที่ความชื้น 45% ทำการทดลอง 10 ครั้ง ปั้มน้ำทำงาน 10 ครั้ง คิดเป็น
x=10 (100%) การทดลองการตัดของปั้มน้ำจะหยุดการทำงานที่ 90% ทำการ
ทดลอง 10 คร้งั ปม้ั น้ำตดั การทำงาน 10 ครั้ง x=10 (100%) จากการประเมินความ
พึงพอใจในการใช้งานเครื่องรดน้ำต้นไม้อัตโนมัติ ในครั้งนี้ มีภาพรวมระดับความ
เหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x= 4.4 ) คิดเป็นร้อยละ 88 ส่วนระดับความ
เหมาะสมในด้านต่างๆเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ย 3 อันดบั แรกได้แก่ คู่มือในการใชง้ าน
อยู่ในระดับมากที่สุด (x= 4.60 ) รองลงมาคือ ความสะดวกในการใช้งาน อยู่ใน
ระดบั มากที่สดุ (x= 4.50 ) ความปลอดภยั ในการใช้งาน อย่ใู นระดับมาก (x= 4.50 )
ตามลำดับ คะแนนที่น้อยที่สุดคือ ความคุ้มค่ากับราคาที่เหมาะสม อยู่ในระดับมาก
(x= 4.oo ) เพราะอปุ กรณ์มีราคาแพง
ไฟซอล มะแซ และคณะ (2558) ปัจจุบันเทคโนโลยี IoT ( Internet of
Things) เข้ามามีบทบาทในการควบคุมอุปกรณ์ในชีวิตประจำวันของเราเป็นอย่าง
มากเนื่องจากปัจจุบันทุกมีโอกาศเข้าถึงการใช้งานอินเตอร์เน็ตประเทศไทยเป็น
ประเทศเกษตรกรรมมีการเพาะปลูกพืช ต้นไม้ ไม้ประดับ การรดน้ำต้นไม้อาจเป็น
ปัญหาใหญ่สำหรับคนปลูกต้นไม้ แต่ไม่ค่อยมีเวลาว่างดังนั้นเครื่องรดน้ำต้นไม้
อัตโนมัติจึงจำเป็นกับเหล่าบรรดาผู้รักต้นไม้ เราขอแนะนำในส่วนของเครื่องรดน้ำ
ต้นไม้อัจฉริยะสามารถสั่งรดน้ำต้นไม้ด้วยระบบ IoT ที่ทันสมัย รวดเร็ว ทันใจ
40
สะดวกสบาย หมดห่วงเรื่องระยะทาง ลดเวลา ในการรดน้ำต้นไม้ มีการรายงานและ
เก็บข้อมูลค่าความช้ืนผา่ นระบบเครอื ข่ายอยา่ งอตั โนมตั ิ
เกวรีย์ สุฤทธิ์ และคณะ (2548)ระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้
สายมีการออกแบบให้ระบบมีการควบคุมการทํางาน ด้วยบอร์ดอาดุยโน่ 2 บอร์ด
โหนดเอ็มซียู 1 บอร์ด ทั้ง 3 บอร์ด ทําการควบคุมรีเลย์ บอร์ดละ 1 ตัว และรีเลย์
สั่งการให้ปั้มน้ําทํางาน โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างระบบรดน้ําอัตโนมัติและศึกษา
การทํางานของระบบรดน้ำอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย
การทดสอบระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย สามารถรดนํ้าตาม
เวลาที่กําหนดโดย การรดน้ําอัตโนมัติแบ่งออกเป็น 2 ช่วงเวลา คือช่วงเช้าเวลา
07.00-07.30 น. และช่วงเย็น 17.00-17.30 น. เครื่องรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่าย
ไร้สายสามารถรดน้ําได้ตามเวลาที่กําหนดไวไ้ ดท้ ้ัง 2 ช่วง การวัดค่าความชื้น ของดิน
เซ็นเซอร์ได้ทํางานตามค่าที่กําหนดลงในบอร์ดและการสั่งการผ่าน
โทรศัพท์มือถือ ผลการทดสอบระบบรดน้ําอัตโนมัติผ่านเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายท้งั
3 ระบบ ระบบสามารถใช้งานได้ ถูกต้อง และเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้แรงงานคน
ในการทํางาน ระบบสามารถทํางานได้ดี สามารถลดต้นทุน ในการจ้างแรงงานใน
การรดน้าํ
10. การสบื คน้ จากฐานข้อมลู สิทธบิ ัตร
10.1 อัตโนมตั ิ
10.2 เคร่อื งรดน้ำ
11. เอกสารอา้ งองิ ของการวิจัย
1. เกยี รติศักด์ิ ปานใจ และคณะ. (2558) เรอื่ งเครอื่ งรดน้ำตน้ ไม้อัตโนมัติ
สบื คน้ 7 กรกฎาคม 2564,จาก file:///C:/Users/Windows/Downloads/.pdf
2. เกวรยี ์ สุฤทธิ์ และคณะ. (2548). ระบบรดน้ำตน้ ไม้อัตโนมัติผา่ นเครอื ข่าย
เซนเซอร์ไรส้ าย สืบคน้ 7 กรกฎาคม 2564,จาก
http://www.edu.nrru.ac.th/krsm/index.php/post-318/
3. กุลยศ มิตรมุสิกการ (2559). เครอ่ื งรดนำ้ ต้นไม้อตั โนมัติ
สืบคน้ 7 กรกฎาคม 2564,จาก http://www.thaiinvention.net/detail.php
4. ไฟซอล มะแซ และคณะ. (2558). เคร่ืองรดนำ้ ต้นไมอ้ ัตโนมตั ิรายงานผ่านระบบ
ออนไลน์สืบคน้ 7 กรกฎาคม 2564,จาก
file:///C:/Users/Windows/Downloads/.pdf
41
5. โรงเรยี นวัดไพด่ ำ เครื่องรดน้ำต้นไม้อตั โนมัติ สืบค้น 7 กรกฎาคม 2564,จาก
http://www.watphaidam.com/data_5395_1
12. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะได้รบั
12.1 ไดเ้ คร่อื งรดนำ้ อตั โนมัตทิ ค่ี วบคมุ การเปิด-ปดิ ผ่านมอื ถอื ทาง แอพพลเิ คช่ัน
Blynk
12.2 ไดค้ วามพึงพอใจของนักศึกษาระดบั ประกาศวิชาชีพช้นั สงู ช้ันปีท่ี 1 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ิทลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง ทมี่ ีต่อเครอ่ื งรดนำ้
ตน้ ไม้อตั โนมตั ิ อย่ใู นระดับดี
12.3 ไดเ้ ผยแพร่ผา่ นโครงการประกวดโครงการวิชาชีพชมรมวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ
ดิจทิ ัล วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง
13. แผนการถ่ายทอดเทคโนโลยหี รอื ผลการวิจยั สกู่ ลมุ่ เปา้ หมาย
13.1 สรา้ งเครอื่ งรดนำ้ ต้นไม้อตั โนมัติ
13.2 นำเครื่องรดนำ้ ต้นไมอ้ ัตโนมตั ทิ สี่ ร้างไปทดสอบประสิทธภิ าพในการทำงาน
13.3 รวบรวมข้อมูลและนำกลบั มาปรบั ปรุงแกไ้ ข
13.4 นำเคร่อื งรดน้ำตน้ ไม้อัตโนมัติท่ปี รับปรุงแกไ้ ขแลว้ ไปทดสอบประสิทธภิ าพอีก
ครง้ั
13.5 จัดรปู เล่มวจิ ยั และนำไปเผยแพร่
14. วิธกี ารดำเนินการวจิ ัยและสถานทีท่ ำการทดลอง/เก็บขอ้ มูล
14.1 สถานที่ในการทดลอง วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
14.2 กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มนักศกึ ษาระดบั ประกาศวชิ าชีพชน้ั สูง ชั้นปีที่ 1 หอ้ ง 2
จำนวน 1 หอ้ ง สาขาเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ทิ ัลจำนวน 30 คน
14.3 เครอ่ื งมือในการวจิ ยั ประกอบไปด้วย3 ส่วนดงั นี้
14.3.1 ระบบรดนำ้ อัตโนมัติดว้ ยเครื่องตรวจจับอณุ หภมู ิ
14.3.2 ระบบเปดิ -ปดิ เครื่องรดนำ้ อัตโนมตั ผิ า่ นมอื ถือ
14.3.3 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของกลมุ่ นกั ศกึ ษาระดบั ประกาศวิชาชพี
ช้นั สูงระดบั ช้นั ปี ท่ี 1 หอ้ ง 2 จำนวน 1 หอ้ ง สาขาเทคโนโลยธี ุรกิจ
ดจิ ทิ ลั วิทยาลัยเทคนิค ระยอง ท่ีมตี อ่ เคร่อื งรดน้ำต้นไม้อัตโนมตั ิ
14.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู คือ
14.4.1 เก็บรวบรวมข้อมลู ประสทิ ธิภาพในการทดลอง
14.4.2 เก็บรวบรวมข้อมลู เพอ่ื หาความพงึ พอใจ
42
14.5 วเิ คราะห์ข้อมูล
ขอ้ มูลทีใชไ้ ด้จากการรวบรวมจะดำเนนิ การแปลความหมายของค่าเฉลย่ี ใน
แตล่ ะดา้ นโดยใชเ้ กณฑ์การประเมนิ แบง่ ออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี
4.50 - 5.00 หมายถึง มากทีส่ ุด
3.50 - 4.49 หมายถึง ดี
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง น้อย
1.00 – 1.49 หมายถึง นอ้ ยสุด
14.6 สถติ ทิ ีใ่ ช้
14.6.1 ค่าเฉลยี่
∑x
x̅ = n
โดยที่ x̅ คือ คา่ เฉล่ยี
∑ x คือ ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด
n คอื จำนวนท้งั หมด
14.6.2 คา่ เบยี่ งเบนมาตรฐาน
S.D.=√ ∑ 2−(∑ )2
( −1)
โดยท่ี S.D. คือสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
∑ คอื ผลรวมทงั้ หมดของคะแนน
n คือจำนวนท้งั หมด
15. ระยะเวลาทำการวจิ ยั และแผนการดำเนนิ งานตลอดการวิจัย
เดอื นมถิ นุ ายน 2564 - เดือนกมุ ภาพันธ์ 2564
16. ปจั จัยทเ่ี อ้อื ตอ่ การวิจัย (ถา้ มี)
ตน้ ไมห้ รอื ผกั ในกระถาง
โทรศัพทม์ ือถอื
17. งบประมาณของการวจิ ัย
17.1 งบประมาณทงั้ หมด 1,130 บาท
17.2 รายละเอยี ดงบประมาณค่าใชจ้ า่ ย