แบบรายงานการวิจัย (ว-สอศ-3)
รายงานผลโครงการวิจยั
เรอ่ื ง
ตไู้ ปรษณยี อ์ ัจฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์
Smart Postbox Notify on line
นางสาวญาณศิ า โพธ์แิ กว้
นางสาววษณพร อินทสุวรรณ
ประจำปกี ารศกึ ษา 2564
ปีพทุ ธศักราช 2563 - 2564
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชีวศกึ ษาจงั หวดั ระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร
ก
หัวข้อวจิ ัย ตไู้ ปรษณยี อ์ จั ฉริยะแจง้ เตอื นทางไลน์
ผู้ดำเนินการวจิ ัย 1) นางสาวญาณิศา โพธ์แิ ก้ว
2) นางสาววษณพร อนิ ทสวุ รรณ
ครผู สู้ อน นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลยี้ งพรอ้ ม
ครูที่ปรึกษา นางสาวพัณณช์ ติ า คำมะฤทธ์ิสินชยั
หนว่ ยงาน วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
ปี พ.ศ. 2564
วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาทำตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทาง
ไลน์ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ 3) เพื่อ
เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์และแบบสอบถามความพึงพอใจ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิค
ระยอง สถิติที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลจากการวิจัย โดยมีผู้ตอบสอบถามทั้งหมด จำนวน 28 คน สรุปได้ดังนี้ จำนวนของผู้ตอบ
แบบสอบถามจำแนกตามเพศ เพศหญงิ คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.14 มากกว่าเพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 17.85
ส่วนจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ ส่วนใหญ่เป็น17-18 ปี คิดเป็นร้อยละ 92.86
มากกว่า19-20 ปี คิดเป็นร้อยละ 7.14 ส่วนความพึงพอใจด้านโครงสร้างของผูต้ อบแบบสอบถามส่วน
ใหญ่อยู่ในระดับดี ( ̅=3.84, S.D.=0.09) ส่วนความพึงพอใจด้านการใช้งานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ( ̅=4.06, S.D.=0.22) และส่วนความพึงพอใจด้านความคุ้มค่าของผู้ตอบ
แบบสอบถามส่วนใหญ่อยใู่ นระดบั ดี ( ̅=3.88, S.D.=010)
ข
กติ ตกิ รรมประกาศ
การจัดทำโครงงานตู้ไปรษณยี ์อัจฉริยะแจ้งเตอื นทางไลน์ในครั้งนส้ี ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี คณะ
ผู้จัดทำโครงการขอขอบพระคุณนางสาวพัณณ์ชิตา คำมะฤทธิ์สินชัย ที่เมตตารับเป็นที่ปรึกษาของ
โครงงาน ท้ังดูแลและให้คำปรึกษาเก่ียวกับโครงงาน และนางสาวอจั ฉราภรณ์ เกลย้ี งพรอ้ ม ท่ีครผู ู้สอน
ที่ให้แนวคิดต่างๆ และการแก้ไขข้อบกพร่องต่างมาโดยตลอด ในการจัดทำโครงงานนี้ขึ้นมาถูกต้อง
ตามหลกั การจนเสร็จสมบรู ณ์แบบ และขอขอบใจนักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชนั้ ปที ี่ 3
ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่ให้ความร่วมมือในการทำแบบสอบถาม
ความพงึ พอใจจนสำเร็จลุล่วงดว้ ยดี
หวังว่าโครงงานตู้ไปรษณีย์อจั ฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ที่จัดทำขึ้นในครัง้ นี้ จะเป็นประโยชนแ์ ก่
ผ้ทู ศ่ี ึกษาหรอื อยากไปพัฒนาตอ่ ยอดให้โครงงานช้ินนี้มไี ปในทางท่ดี มี ปี ระสิทธิ์ภาพมากขน้ึ ตอ่ ไป
คณะผวู้ ิจัย
2564
สารบัญ ค
บทคัดย่อภาษาไทย หน้า
กิตตกิ รรมประกาศ ก
สารบญั ข
สารบัญตาราง ค
สารบญั ภาพ ง
จ
บทที่ 1 บทนำ
ความเปน็ มาและความสำคัญ 1
วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1
ขอบเขตการวิจัย 2
ขอ้ จำกัด (ถา้ ม)ี 2
สมมติฐานการวจิ ัย (ถา้ ม)ี 2
คำจำกัดความที่ใช้ในงานวิจัย 2
ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั 2
บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง 4
แนวคดิ เกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์ 4
แนวคิดเกีย่ วกับต้ไู ปรษณีย์ 6
แนวคิดเกยี่ วกับโปรแกรม Arduino 8
แนวคิดเก่ียวกบั Line Notify 9
งานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 12
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั
13
บทที่ 3 วิธีดำเนนิ การวจิ ยั 13
การสรา้ งเครอ่ื งมอื ในการวิจยั 13
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 15
การดำเนนิ การทดลอง 17
แผนผังงาน
วงจรการทำงาน
การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ค
สถิตทิ ี่ใช้และวธิ ีวเิ คราะหข์ ้อมูล
หน้า
บทท่ี 4 ผลการวจิ ยั 18
แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 18
แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
แสดงความพึงพอใจด้านโครงสร้าง 20
แสดงความพึงพอใจดา้ นการใช้งาน 21
แสดงความพึงพอใจดา้ นความคุ้มค่า 22
23
บทท่ี 5 สรปุ ผลการวจิ ยั อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ 24
สรปุ ผลการวจิ ยั
อภปิ รายผล 25
ข้อเสนอแนะการนำผลการวิจยั ไปใช้ 26
ขอ้ เสนอแนะการทำวจิ ัยคร้งั ตอ่ ไป 26
26
บรรณานกุ รม 27
ภาคผนวก 29
ก ว-สอศ-2 46
ข แบบสอบถามความพงึ พอใจ 48
ค QR Code Video ช้นิ งาน 50
ประวัติผู้วจิ ยั
สารบญั ตาราง ง
ตารางท่ี หน้า
3.1 แสดงสัญลักษณ์ 17
4.1 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 20
4.2 แสดงจำนวนของผูต้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 21
4.3 แสดงความพึงพอใจด้านโครงสรา้ ง 22
4.4 แสดงความพงึ พอใจด้านการใช้งาน 23
4.5 แสดงความพงึ พอใจด้านความคุ้มค่า 24
สารบัญภาพ จ
รูปที่ หน้า
2.1 แสดงววิ ัฒนาการของตไู้ ปรษณีย์ 5
2.2 แสดงตู้ไปรษณยี ไ์ ทยปจั จบุ นั 6
2.3 แสดง Arduino Uno R3 6
2.4 แสดงส่วนประกอบของ Arduino Uno R3 7
2.5 แสดงแอพพลิเคชนั่ Line Notify 8
2.6 แสดงกรอบแนวคิดในการวจิ ยั 12
3.1 แสดงผงั งานโครงงาน 15
3.2 แสดงแผนผังงานโปรแกรม 16
3.3 แสดงการทำงานของวงจร 17
4.1 แผนภูมแิ สดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ 20
4.2 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ 21
4.3 แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจด้านโครงสร้าง 22
4.4 แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจด้านการใชง้ าน 23
4.5 แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจดา้ นความคุ้มค่า 24
ค-1 แสดง QR Code Video ชน้ิ งาน 48
บทท่ี 1
บทนำ
1.1 ความเป็นมาและความสำคญั
ในปัจจุบันได้มีการพัฒนา และเจริญกา้ วหน้ามากยิง่ ข้ึน เมื่อกลา่ วถึงการรบั ส่ง จดหมาย
ข่าวสารสำคัญที่ส่งมาจากไปรษณีย์ไปโดยทั่วไปรูปร่างลักษณะของตู้จดหมาย จะทึบไม่สามารถ
มองเห็นภายในตู้จดหมายได้ ทำให้ไม่ได้รับจดหมายหรือข่าวสารที่สำคัญได้ทันเวลา อาจทำให้
เกิดความผิดพลาดหรือเสียหายได้ เช่น มีน้ำฝนรั่วซึมเข้าไปในตู้ไปรษณีย์หรือหากบุรุษไปรษณีย์
หยอ่ นจดหมายไม่ดี ทำใหอ้ าจจะปลวิ ออกหลน่ หายได้
Arduino ซิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่างๆ มาใชร้ ว่ มกนั ในภาษา C ซ่ึงภาษา C
นี้เป็นลักษณะเฉพาะ คือมีการเขียนไลบานี่ของ Arduino ขึ้นมาเพื่อให้การสั่งงาน
ไมโครคอนโทรลเลอร์ที่แตกต่างกัน สามารถใช้งานโค้ดตัวเดียวกันได้ โดยตัวโดยตัวโครงการได้
ออกบอร์ดทดลองมาหลายๆรูปแบบ เพอื่ ใชง้ านกบั IDE ของตนเอง สาเหตหุ ลกั ท่ที ำให้ Arduino
เป็นที่นิยมมาก เป็นเพราะซอฟแวร์ที่ใช้งานร่วมกันสามารถโหลดได้ฟรี และตัวบอร์ดทดลองยัง
ถูกแจกแปลน เป็นบอร์ดไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source
คอื มีการเปิดเผยข้อมูลท้งั ด้าน Hardware และ Software ตัวบอรด์ Arduino ถูกออกแบบมาให้
ใช้งานได้ง่าย จึงเหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นศึกษาทั้งน้ีผู้ใช้งานยังสามารถดัดแปลงเพิ่มเติม พัฒนาต่อ
ยอดทง้ั ตวั บอรด์ หรอื โปรแกรมตอ่ ไดอ้ กี ดว้ ย
ทำให้มีความคิดเห็นที่จะแก้ไขปัญหานี้ เพราในปัจจุบันเริ่มมีเทคโนโลยีที่สามารถช่วย
อำนวยความสะดวกมากมาย จึงได้เขียนโค้ดโปรแกรม Arduino แล้วใช้ Node mcuesp8266
เชอ่ื มตอ่ กบั เซนเซอรจ์ บั วัตถเุ พอื่ ใหเ้ กิดการแจ้งเตอื นและนำไปเชื่อมตอ่ กบั แอพพลเิ คชั่น
Line Notify เพื่อส่งไปยังไลน์บนพีซีและสมาร์ทโฟน ทำให้ได้รับจดหมายหรือเอกสาร และไม่ทำ
ใหเ้ กดิ ปัญหาจดหมายค้างในตูไ้ ปรษณีย์อกี ด้วย
1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั
1.2.1 เพ่อื พฒั นาทำตไู้ ปรษณยี ์อจั ฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์
1.2.2 เพ่อื ศึกษาความพึงพอใจของนักศกึ ษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ปที ่ี 3 ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ทีม่ ตี อ่ ตู้ไปรษณยี อ์ จั ฉริยะ
แจ้งเตอื นทางไลน์
1.2.3 เพอ่ื เผยแพรผ่ า่ นโครงการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวชิ าชีพเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั
วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
2
1.3 ขอบเขตการวจิ ัย
1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนือ้ หา
1.3.1.1 ศึกษาแนวทางท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ต้ไู ปรษณยี ท์ ่ีแจ้งเตือนดว้ ยเซนเซอรจ์ ับวตั ถุ
1.3.1.2 ศกึ ษาการเขียนโค้ดด้วยโปรแกรม Arduino
1.3.1.3 ศกึ ษาการแจ้งเตอื นด้วย Line Notify
1.3.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
นักศึกษาวิทยาลัยเทคนิคระยองระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดิจทิ ัล วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง ทงั้ หมด 28 คน
1.3.3 ขอบเขตดา้ นเวลา
มิถุนายน 2564 - กันยายน 2564
1.4 ขอ้ จำกัด(ถา้ มี)
ไม่สามารถใส่ของที่ใหญ่และหนักเกิน 5 กิโลกรัมได้ เพราะขนาดของตู้ไปรษณีย์นั้นมีขนาด
เล็ก และจะทำใหอ้ ปุ กรณภ์ ายในต้ไู ปรษณียเ์ สยี หายได้
1.5 สมมตฐิ านการวิจยั (ถ้ามี)
1.5.1 ตัวแปรตน้ คอื ตู้ไปรษณีย์
1.5.2 ตัวแปรตาม คือ ตูไ้ ปรษณยี ์ที่แจ้งเตือนไดเ้ ข้ามาในไลน์โดยผ่านเซนเซอร์จับวตั ถุ
1.5.3 ตัวแปรควบคมุ คือ การเขยี นโคด้ โปรแกรม Arduino
1.6 คำจำกดั ความทใี่ ช้ในงานวจิ ยั
1.6.1 ตไู้ ปรษณีย์ หมายถงึ ตูท้ ี่ตงั้ ในทส่ี าธารณะเพอื่ รับจดหมายและไปรษณียบตั ร
แลว้ ไขออกตามกำหนดเวลาเพ่ือนำไปสง่ ผรู้ ับ
1.6.2 อัจฉริยะ หมายถงึ วเิ ศษน่าอัศจรรยม์ คี วามร้คู วามสามารถเกินกว่าระดบั ปกติ
1.7 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ
1.7.1 ไดต้ ้ไู ปรษณียอ์ ัจฉรยิ ะแจง้ เตอื นทางไลน์
1.7.2 ไดค้ วามพึงพอใจของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ี่ 3 ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง ทมี่ ีต่อตู้ไปรษณยี ์อัจฉริยะ
แจง้ เตือนทางไลน์ อย่ใู นระดบั ดี
1.7.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลยั เทคนิคระยอง
บทท่ี 2
แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง
ในการจัดทำโครงการสิ่งประดิษฐ์ การพัฒนาการออกแบบสิ่งประดิษฐ์และการใช้เครื่องมือ
โปรแกรม Arduino และ Line Notify เพื่อทำให้ตู้ไปรษณีย์สมบูรณ์มากขึ้น โดยศึกษาจาก
อินเทอร์เน็ตและทำการค้นคว้าโดยนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชา
เทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานที่เกีย่ วขอ้ ง เพ่ือ
เปน็ พนื้ ฐานในการดำเนนิ การวิจัย ตามหัวขอ้ ดังนี้
2.1 แนวคิดเกยี่ วกับส่งิ ประดษิ ฐ์
2.1.1 ความหมายของสิ่งประดษิ ฐ์
2.1.2 ประเภทของสิ่งประดิษฐ์
2.2 แนวคดิ เกี่ยวกบั ตูไ้ ปรษณยี ์
2.2.1 ความหมายของตไู้ ปรษณยี ์
2.2.2 ท่ีมาของตไู้ ปรษณยี ์
2.3 แนวคดิ เกยี่ วกบั โปรแกรม Arduino
2.3.1 ความหมายของโปรแกรม Arduino
2.3.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม Arduino
2.3.3 ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino
2.4 แนวคดิ เกย่ี วกับ Line Notify
2.4.1 ความหมายของ Line Notify
2.4.2 การใชง้ านของ Line Notify
2.4.3 ประโยชนข์ อง Line Notify
2.5 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง
2.6 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
รายละเอยี ดแต่ละหวั ข้อ ดังนี้
4
2.1 แนวคดิ เกย่ี วกบั สิง่ ประดิษฐ์
แนวคิดเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ์นี้ แบ่งออกเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ ความหมายของสิ่งประดิษฐ์
และประเภทของสิ่งประดิษฐ์ โดยแนวคิดนี้จะทำให้ได้ความเข้าใจและรู้จักกับเภทมากยิ่งข้ึน
รายละเอียดมีดงั ต่อไปน้ี
2.1.1 ความหมายของสง่ิ ประดษิ ฐ์
งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์สร้างหรือประดิษฐ์ขึ้นตาม
วตั ถุประสงค์ที่หลากหลาย เพ่อื ความสวยงาม หรอื ประดับตกแต่งหรอื ประโยชนใ์ ช้สอย
2.1.2 ประเภทของสิง่ ประดษิ ฐ์
โดยแบ่งประเภทสงิ่ ประดิษฐท์ ้ังหมด 9 ประเภท ดังน้ี
ประเภทที่ 1 สง่ิ ประดษิ ฐ์ดา้ นพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ
ประเภทที่ 2 สง่ิ ประดษิ ฐเ์ พอ่ื การประกอบอาชพี
ประเภทที่ 3 สิ่งประดษิ ฐ์เพอ่ื การอนุรักษพ์ ลังงาน
ประเภทที่ 4 สิ่งประดิษฐ์ด้านผลิตภัณฑอ์ าหาร
ประเภทท่ี 5 สง่ิ ประดิษฐด์ ้านหัตถศิลป์
ประเภทที่ 6 สิ่งประดิษฐด์ า้ นนวตั กรรมซอฟตแ์ วร์ และระบบสมองกลฝังตัว
ประเภทที่ 7 สง่ิ ประดษิ ฐ์ด้านการแพทย์ (ด้านการปอ้ งกันโรคตดิ ต่อ)
ประเภทท่ี 8 สง่ิ ประดิษฐ์ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพ
ประเภทท่ี 9 ส่ิงประดิษฐ์ด้านประเภทกำหนดโจทย์ (Mini Smart Farms)
2.2 แนวคิดเกี่ยวกับตู้ไปรษณยี ์
แนวคิดเกี่ยวกับตู้ไปรษณีย์นี้ สามารถแบ่งออกเป็น 2 หัวข้อย่อย คือ ความหมายของตู้
ไปรษณีย์ และ ที่มาของตู้ไปรษณีย์ ซึ่งทำให้เป็นแนวคิดที่จะพัฒนาตู้ไปรษณีย์ที่สามารถทำให้ดี
ขนึ้ รายละเอยี ดมดี งั ต่อไปน้ี
2.2.1 ความหมายของตไู้ ปรษณีย์
ตู้สำหรับสอดจดหมาย กั้นให้เป็นช่องๆ ของกรมไปรษณีย์โทรเลขหรือเป็นตู้สำหรับให้
ประชาชนนำจดหมายซึ่งติดแสตมป์ค่าส่งแล้ว มาหยอดเข้าไปในตู้ และจะมีบุรุษไปรษณีย์
มารวบรวมจดหมายตามเวลาทกี่ ำหนด เพอ่ื สง่ เข้าระบบไปรษณียต์ อ่ ไป
2.2.2 ท่ีมาของตูไ้ ปรษณยี ์
ปี 2426 ตู้ทิง้ หนังสือที่เก่าแกท่ ีส่ ุดของไทย กรมไปรษณีย์สยามได้รับมอบเป็นของขวัญ
จาก ประเทศเยอรมนี ในโอกาสที่เปิดบริการไปรษณียข์ ้ึนเปน็ ครั้งแรกในสยาม
ลักษณะตู้เปน็ ทรงสเี่ หลยี่ มและเป็นโลหะหล่อทัง้ ชิน้ ในสไตล์วกิ ตอเรีย
5
ปี 2428 ตู้ไปรษณีย์แบบแขวน กรมไปรษณีย์ได้ผลิตตู้ไปรษณีย์ขึ้นใช้เอง เป็นแบบที่ทำ
ดว้ ยไมแ้ ละโลหะแผน่
ปี 2454 ตู้เหล็กทรงกลม หลอ่ ดว้ ยโลหะทั้งตู้ สั่งเขา้ มาใช้งานในชว่ งต้นรชั กาลท่ี 6
มี 2 รุ่น คือ รุ่นที่สั่งทำมาจากประเทศอังกฤษ และรุ่นที่สั่งทำมาจากประเทศ
สงิ คโปร์
ปี 2469 ตู้ไปรษณีย์สมัยรัชกาลที่ 7 ผลิตขึ้นใช้เองในประเทศ หล่อด้วยซีเมนต์หนา
ประมาณ 20 เซนตเิ มตร
ปี 2477 ตูไ้ ปรษณีย์สมัยรัชกาลที่ 8 ตู้หลอ่ ซเี มนตโ์ ดยใช้รูปทรงและขนาดเดยี วกบั ตู้ในสมัย
รัชกาลที่ 7 แต่แตกต่างกันเล็กน้อยตรงบริเวณส่วนบนของตู้ และตราครุฑที่ปีก
จะกางเหยยี ดตรง
ปี 2496 ตู้ไปรษณียส์ มัยรัชกาลที่ 9 ตู้หล่อซีเมนต์ทรงกรงนก มีขนาดเล็กและเสาสูง ใช้ใน
พ้นื ท่ีทีม่ ปี รมิ าณงานนอ้ ยในส่วนภูมิภาค สร้างข้นึ เพื่อใชง้ านในสมยั ต้นรัชกาลที่ 9
ปี 2514 ตู้ไปรษณีย์ ตู้ทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าแนวตั้ง ทำด้วยโลหะแผ่น ลักษณะเดียวกับตู้
ไปรษณีย์ แต่ต่างกันที่มีช่องใส่ไปรษณียภัณฑ์เพียงช่องเดียว ใช้งานในพื้นที่ที่มี
จำนวนไปรษณยี ภณั ฑ์น้อย โดยเฉพาะในส่วนภูมิภาค
ปี 2516 ต้ไู ปรษณีย์ ตู้ทรงสเี่ หล่ียมขนาดใหญ่ ทำด้วยโลหะแผน่ ขน้ึ รปู ฐานเปน็ ซีเมนต์หนา
มชี ่องใส่ไปรษณยี ภณั ฑ์ 2 ช่องสำหรับพนื้ ที่กรุงเทพฯและปรมิ ณฑล กับปลายทาง
ในภูมภิ าคหรอื ตา่ งประเทศ ติดตง้ั ตามชมุ ชนท่มี ีปรมิ าณงานมาก
ปี 2520 ตู้ไปรษณีย์ ตู้โลหะขนาดเล็ก มีเสาสูง ส่วนบนของตู้จะมีลักษณะโค้งมน ตั้งบน
ฐานซีเมนต์หล่ออย่างหนา ใช้งานในพื้นที่ที่มีจำนวนไปรษณียภัณฑ์น้อยใน
ภมู ิภาค
ปี 2546 -ปัจจุบัน ตู้ไปรษณีย์ ทรงเหมือนกันกับตู้ ที่เริ่มใช้ในปี พ.ศ. 2516 แตกต่างกันท่ี
รายละเอียด ขอ้ ความและตราสญั ลักษณ์
รูปที่ 2.1 แสดงวิวฒั นาการของตู้ไปรษณีย์
6
รปู ที่ 2.2 แสดงตู้ไปรษณียไ์ ทยปจั จบุ ัน
2.3 แนวคดิ เกี่ยวกบั โปรแกรม Arduino
แนวคิดเกี่ยวกับโปรแกรม Arduino นี้จะแบ่งออกเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ ความหมายของ
โปรแกรม Arduino ประเภทของโปรแกรม Arduino และ ประโยชน์ของโปรแกรม Arduino ท่ี
จะเข้ามาชว่ ยในการควบคุมของ Nodemcu esp8266 และเชื่อมไปยังตัวเซน็ เซอร์จับวตั ถอุ กี ด้วย
รายละเอยี ดมดี ังตอ่ ไปน้ี
รปู ที่ 2.3 แสดง Arduino Uno R3
2.3.1 ความหมายของโปรแกรม Arduino
Arduino เป็นชุดอิเล็กทรอนิกส์หรือแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ โอเพ่นซอร์ส ซึ่งมี
ส่วนประกอบหลักคือชิปไมโครคอนโทรลเลอร์ที่มีประเภท AVR จาก บริษัท Atmel
ไมโครคอนโทรลเลอร์เองนั้นเป็นชิปหรือ IC(วงจรรวม) ซึ่งสามารถตั้งโปรแกรมโดยใช้
คอมพิวเตอร์ วัตถุประสงค์ของการฝังโปรแกรมในไมโครคอนโทรลเลอร์คือเพื่อให้วงจร
อิเล็กทรอนิกส์สามารถอ่านอินพุตประมวลผลอินพุตและสร้างเอาต์พุตที่ต้องการ ดังนั้น
ไมโครคอนโทรลเลอร์จงึ ทำหน้าทีเ่ ป็น 'สมอง' ซึง่ ควบคมุ อินพตุ กระบวนการและเอาทพ์ ทุ
7
ของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ไมโครคอนโทรลเลอร์อยู่บนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่รอบตัวเรา
ตัวอย่างเช่นโทรศัพท์มือถือ เครื่องเล่น MP3, ดีวีดี, โทรทัศน์, เครื่องปรับอากาศและอื่น ๆ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ยังใช้สำหรับควบคุมหุ่นยนต์ ทั้งหุ่นยนต์ของเล่นและหุ่นยนต์
อุตสาหกรรมเนื่องจากส่วนประกอบหลักของ Arduino เป็นไมโครคอนโทรลเลอร์
Arduino สามารถตง้ั โปรแกรมโดยใชค้ อมพวิ เตอรต์ ามความต้องการของเรา
2.3.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม Arduino
ขณะน้ีมบี อรด์ Arduino หลากหลายรปู แบบที่ปรบั ให้เข้ากบั การกำหนดเช่นตอ่ ไปนี้
ARDUINO USB
ใช้ USB เปน็ อินเตอร์เฟสการเขียนโปรแกรมหรอื คอมพวิ เตอร์
รูปท่ี 2.4 แสดงส่วนประกอบของ Arduino Uno R3
หมายเลข 1 USB Port: ใชส้ ำหรบั เชอื่ มต่อกบั Computer เพอื่ ใช้ในการอบั โหลดโปรแกรม
เข้า MCU และใชจ้ ่ายไฟให้กับตวั บอรด์
หมายเลข 2 Reset Button: เปน็ ปมุ่ Reset เพื่อเร่มิ การทำงานใหม่
หมายเลข 3 ICSP Port ของ Atmega16U2 เป็นพอร์ตที่ใช้โปรแกรม Visual Com port
บน Atmega16U2
หมายเลข 4 I/OPort:Digital I/O ตั้งแต่ขา D0 ถึง D13 นอกจากนี้ บาง Pin จะทำหน้าที่
อื่นๆ เพิ่มเติมด้วย เช่น Pin0,1 เป็นขา Tx,Rx Serial, Pin3,5,6,9,10 และ
11 เปน็ ขา PWM
หมายเลข 5 ICSP Port: Atmega328 เป็นพอรต์ ท่ีใชโ้ ปรแกรม Bootloader
หมายเลข 6 MCU: Atmega328 เปน็ MCU ท่ีใชบ้ นบอร์ด Arduino
หมายเลข 7 I/OPort: นอกจากจะเป็น Digital I/O แล้ว ยังเปลี่ยนเป็น ช่องรับสัญญาณ
อนาลอ็ ก ตั้งแตข่ า A0-A5
8
หมายเลข 8 Power Port: ไฟเลี้ยงของบอร์ดเมื่อต้องการจ่ายไฟให้กับวงจรภายนอก
ประกอบดว้ ยขาไฟเล้ยี ง +3.3 V, +5V, GND, Vin
หมายเลข 9 Power Jack: รับไฟจาก Adapter โดยทแ่ี รงดนั อยูร่ ะหวา่ ง 7-12 V
หมายเลข 10 MCU ของ Atmega16U2 เป็น MCU ที่ทำหน้าที่เป็น USB to Serial โดย
Atmega328 จะติดต่อกับ Computer ผ่าน Atmega16U2
2.3.3 ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino
2.3.3.1 ไมจ่ ำเป็นตอ้ งมีอปุ กรณ์ชิปโปรแกรมเมอรเ์ พราะมนั มี bootloader ท่จี ะจัดการกับ
การอัปโหลดโปรแกรมจากคอมพิวเตอร์
2.3.3.2 มีอุปกรณ์สื่อสาร USB อยู่แล้วดังนั้นผู้ใช้แล็ปท็อปที่ไม่มีพอร์ตอนุกรม / RS323
สามารถใชง้ านได้
2.3.3.3 ภาษาการเขียนโปรแกรมนั้นค่อนข้างง่ายเนื่องจากซอฟต์แวร์ Arduino น้ัน
ประกอบไปดว้ ยห้องสมดุ ที่ค่อนขา้ งสมบูรณ์
2.3.3.4 มันมีโมดูลพร้อมใช้ (โล่) ที่สามารถเสียบเข้ากับบอร์ด Arduino เช่นชิลด์ GPS, อี
เธอรเ์ น็ต, การด์ SD, เป็นต้น
2.4 แนวคิดเกยี่ วกับ Line Notify
แนวคิดเกี่ยวกับ Line Notify สามารถแบ่งออกเป็น 3 หัวข้อย่อย คือ ความหมายของ Line
Notify การใช้งาน Line Notify และ ประโยชน์ของ Line Notify โดยที่โปรแกรมนี้จะใช้เป็น
สำหรับการแจ้งเตือนไปยังโปรแกรม Line ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งทำให้สะดวกแก่ผู้ใช้งาน โดยมี
รายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
รูปท่ี 2.5 แสดงแอพพลเิ คชัน่ Line Notify
9
2.4.1 ความหมายของ Line Notify
LINE Notify คือ บริการที่คุณสามารถได้รับข้อความแจ้งเตือนจากเว็บเซอร์วิสต่างๆ ที่คุณ
สนใจได้ทาง LINE โดยหลังเสร็จสิ้นการเชื่อมต่อกับทางเว็บเซอร์วิสแล้ว คุณจะได้รับการ
แจง้ เตือนจากบญั ชที างการของ “LINE Notify” ซ่งึ ให้บริการโดย LINE นัน่ เอง คุณสามารถ
เชื่อมต่อกับบริการที่หลากหลาย และยังสามารถรับการแจ้งเตือนทางกลุ่มได้อีกด้วย ซึ่ง
บริการหลกั ๆ ทสี่ ามารถเช่ือมตอ่ ไดแ้ ก่ GitHub, IFTTT หรือ Mackerel เป็นตน้
2.4.2 การใช้งาน Line Notify
ใช้ Line notify เพื่อแจ้งสถานะการออนไลน์ไปอีกระบบปลายทางได้ จึงทำให้เราสามารถ
ส่งข้อความแจ้งเตือนจากบริการต่าง ๆ หรืออุปกรณ์ใด ๆ ก็ตาม ที่สามารถเชื่อมต่อกับ
internet และสามารถเชื่อมด้วย http post มายัง Account ของเราได้ ซึ่งการใช้งาน
โดยรวมของ Line notify จะมีรูปแบบดังนี้ คือ เริ่มแรกเลย เราต้องไปสร้าง token ของ
account ในระบบของ Line เสียก่อน จากนั้นเก็บ token นี้เอาไว้ แล้วเมื่อเราต้องการท่ี
จะส่งข้อความแจ้งเตือนต่าง ๆ เราจะใช้ token นี้เพื่อส่งข้อความแจ้งเตือน ผ่านทาง http
post นั่นเอง
2.4.3 ประโยชนข์ อง Line Notify
2.4.3.1 สามารถรบั รูข้ องเว็บ ผา่ นการแจ้งเตือนทางไลน์
2.4.3.2 เพม่ิ ความสดวกใหก้ ับผใู้ ช้งานและลูกคา้ ไดเ้ ป็นอย่างดี
2.4.3.3 ผูใ้ ช้สามารถรับรู้และตอบคำถามไดท้ ุกสถานที่
2.5 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง
งานวิจัยท่เี กี่ยวข้องนำเสนอเกี่ยวกับงานท่ีมใี นสว่ นตา่ งๆตามหัวขอ้ ย่อยคือ งานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง
เครื่องตู้จดหมายแจ้งเตือนผ่าน Line ตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะ การพัฒนาระบบแจ้งเตือนการ
โจรกรรมด้วยเซนเซอร์การตรวจจับการสั่นสะเทือนบนเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง ตู้รับ
จดหมายไฮเทค และ ตู้ไปรษณีย์แจ้งเตอื นผ่าน Line รายละเอยี ดมีดังตอ่ ไปน้ี
2.5.1 เจษฎา พิบูรณ์ และคณะ (2559) จากที่วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรีได้มีการ จัดการเรียนการ
สอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน โดยกำหนดให้นักศึกษาสามารถนำ ความรู้ทักษะ และ
ประสบการณ์ทีไ่ ดศ้ กึ ษามาสร้างสรรค์เปน็ นวตั กรรมใหม่/ โครงการ/โครงงาน/ส่ิงประดิษฐ์
ตามความสนใจของนักศกึ ษาจากที่กล่าวมาผูว้ ิจัยจึง ได้คิด ตู้จดหมายแจ้งเตือนผา่ น LINE
โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เป็นตัว ควบคุม เพื่อแก้ไขปัญหาการพลาดการรับ
เอกสารที่สำคัญและเพื่อป้องกันเอกสาร ศูนย์หาย ในเวลาที่ไม่มีผู้อาศัยอยู่ภายในบ้าน
และสามารถแจ้งเตอื นให้ผูอ้ าศัยทราบ ว่ามจี ดหมายมาส่งทบี่ า้ นได้ตลอดเวลาและทกุ ๆที่
10
ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ซึ่งมีราคาถูก ติดตั้งง่าย และยังสามารถแจ้งเตือนผ่านระบบ
LINE ได้อีกด้วยเพื่อความ สะดวกสบายให้กับผู้ใช้งานสำหรับผู้อาศัยที่ทำงานบริษัทต่างๆ
และผอู้ าศัยที่ไมค่ อ่ ย มเี วลาในการอยูบ่ า้ นในช่วงกลางวนั
2.5.2 เฉลิมศักดิ์ อรุณโรจน์ปัญญา และคณะ (2557) โครงงานนี้นำเสนอ ตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะ
โดยการนำเทคโนโลยีไรส้ ายจากอุปกรณ์ที่ เรียกว่า X-Bee รุ่น Series2 (ZB) มาใช้ในการ
รับ-ส่งข้อสัญญาณโดยปรับตั้งให้งานในโหมด API ซึ่งเป็น โหมดที่ X-Bee สามารถทำงาน
เป็นตัวควบคมุ (Controller) ในตัวโดยสามารถใช้ ควบคุมอุปกรณท์ ่ีมาเชือ่ มต่อไดโ้ ดยตรง
ใน การทดสอบการทำงานของตู้ไปรษณีย์ สามารถแจ้งเตือนเจ้าของบ้านว่ามีจดหมายมา
ส่งแล้ว ทั้งในรูปแบบ ของเสียง และ ส่งข้อความ (SMS) เข้าโทรศัพท์มือถือ โดย
ผู้ออกแบบได้ใช้เซนเซอร์ตรวจจับการ สะท้อน เพื่อตรวจสอบว่ามีจดหมายเข้ามาหรือไม่
หลังจากนั้นตู้ไปรษณีย์จะส่ง สัญญาณแบบไร้สายไปยังเครื่องรับที่ อยู่ที่บ้านเพื่อเตือน
เจ้าของบ้านให้ทราบว่ามี จดหมายมาส่ง ทั้งในกรณีที่ผู้อยู่อาศัยอยู่ภายในบ้านเป็นเสียง
แจง้ เตือน และกรณที ผ่ี ู้ อาศัยไมไ่ ด้อยบู่ ้านจะเปน็ การส่งข้อความเขา้ โทรศพั ท์มอื ถอื
2.5.3 ณัฐพัชญ์ ศรีราจันทร์ และคณะ (2562) งานวิจัยนี้นำเสนอระบบแจ้งเตือน การโจรกรรม
ด้วยเซนเซอร์การตรวจจับการสั่นสะเทือนบนเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ของสรรพสิ่ง
สมมุติฐานงานวิจัยอยู่บนการตรวจจับแรงสั่นสะเทือนของประตูและ หน้าต่าง ขณะท่ี
เจา้ ของบา้ นไม่ได้อยู่อาศัย ซึง่ เจ้าของบ้านสามารถกำหนดช่วงเวลา ใหท้ ำการตรวจสอบได้
ผ่านทางเว็บ แอปพลิเคชันในกรณีที่เกิดการสั่นสะเทือนในช่วง ระดับที่กำหนดจะมีการ
แจ้งเตือนข้อมูลการโจรกรรมผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ งานวิจัยนี้ได้ออกแบบแนวคิดใน
การพัฒนาแบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้ 1) การ ทำงานใน ส่วนของไอโอทีและอุปกรณ์
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ NodeMCU และ เซ็นเซอร์ตรวจจับค่าการส่ันสะเทือนท่ีตดิ ต้ังไป ยัง
ส่วนที่ต้องการตรวจสอบเช่น ประตูหรือหน้าต่าง โดยควบคุมการทำงานผ่านซอฟต์แวร์
การจัดการข้อมูลของ อุปกรณ์ไอโอที 2) เครื่องแม่ข่ายอันโต เป็นตัวกลางในการรับส่ง
ข้อมูลจากซอฟต์แวร์ การจัดการข้อมูลของ อุปกรณ์ไอโอที และ 3) เว็บแอปพลิเคชัน ทำ
หน้าที่รับข้อมูล การตั้งค่าการสั่นสะเทือนและการแจ้งเตือนจาก ผู้ใช้งาน โดยทำการ
ทดสอบระบบ แบบอัลฟ่า อุปกรณ์ไอโอทีพร้อมเซนเซอร์ตรวจวัดการสั่นสะเทือนถกู นำไป
ติดที่ ประตูบ้านเพื่อทดสอบแรงสั่นสะเทือนจากการเปิด และใช้เว็บแอปพลิเคชันตั้งค่า
การสั่นสะเทือนในระดับต่าง ๆ ตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ ผลการวิจัยพบว่าระบบที่
พัฒนาขึ้นสามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ซึ่งสามารถทำการตรวจจับ แรงสั่นสะเทือน
ในแต่ละช่วงได้อย่างถูกต้อง ระบบแจ้งเตือนสามารถส่งไปยังผ่าน แอปพลิเคชันไลน์ได้แต่
มีปัญหาในเร่ืองเวลาในการตอบสนองท่ีลา่ ช้าบ้างเล็กนอ้ ย
11
2.5.4 ธนัช เทพแสง และคณะ (2558) ตู้รับจดหมายไฮเทค ที่สร้างขึ้นนี้ วัตถุประสงค์เพื่อเตือน
ผู้ใช้ไม่ให้ลืมจดหมายได้ เพื่อป้องกัน ความเสียหายของ จดหมายได้ และหาประสิทธิภาพ
ด้านการใช้งานของตู้รับจดหมายไฮเทค โดยใช้ หลักการ ตรวจสอบจดหมายภายในตู้ด้วย
เซ็นเซอร์แสง เมื่อมีจดหมายหย่อนลงตู้ ระบบเสียงเตือนจะดังขึ้นทันที และจะดังขึ้นทุก
ครั้งที่มีคนเดินผ่านตู้รับจดหมายนั้น ด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุเคลื่อนไหว ตู้รับจดหมาย
ไฮเทคมปี ระสิทธผิ ลดงั นี้ ตรู้ บั จดหมายไฮเทคแจ้งเตอื นทันทีทม่ี กี ารหยอ่ นจดหมายลงในตู้
มีประสิทธภิ าพคดิ เป็น ร้อยละ 100 ตู้รบั จดหมายไฮเทคสามารถป้องกนั การลืมจดหมาย
ได้ มีประสิทธิภาพ คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมา คือตู้รับจดหมายไฮเทค แจ้งเตือนทุก
ครั้งที่มีคนเดินผ่านตู้จดหมายมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 95 และ รายการที่ผู้ตอบ
แบบสอบถาม มีความเห็นน้อยที่สุด คือ ตู้รับจดหมายไฮเทคมีรูปร่างสวยงามมี
ประสทิ ธิภาพ คิดเป็นรอ้ ยละ 70 ซง่ึ สามารถทำงานไดต้ ามวัตถุประสงคไ์ ดอ้ ย่างสมบูรณ์
2.5.5 สามเณรสุวพรี ์ สมฤทธิ์ และคณะ (2563) โครงงาน เร่ือง ตูไ้ ปรษณีย์แจ้งเตือนผ่าน line มี
จุดมุ่งหมายเพื่อจะแก้ไขปัญหาเมื่อมีจดหมาย มาส่ง และจดหมาย เป็นจดหมายสำคัญ
และเร่งด่วน ที่จะต้องอ่าน เพื่อให้ผู้รับจดหมายได้ทราบว่า ขณะนี้มจี ดหมายมาส่ง เพื่อให้
ผู้รับได้ไปเปิดตู้ไปรษณีย์ แล้วอ่านจดหมายทันจะเห็น ได้ว่า ปัจจุบัน คนเรานิยมที่จะใช
โทรศัพท์กันมากและเล่น แอพพลิเคชั่น line กัน อยู่แล้ว ผู้จัดทำเลยมีแนวคิดที่จะทำ
โครงงานตู้ไปรษณีย์แจ้งเตือนผ่านline โดยนำ โปรแกรม GOGO Bright และ KidBright
มา ประยุกต์ใช้กับโครงงาน โดยมีการ กำหนดเง่ือนไขของการทำงานของตู้ไปรษณีย์แจ้ง
เตอื นผ่านline โดยมเี งือ่ นไขดังนี้ 1.เม่ือมีจดหมายมายอดลงในช่องของไปรษณีย์จะทำการ
เตือนไปยัง Line ว่ามี จดหมายมาส่ง (ถ้ามีจดหมายมาสง่ คือ+1ถ้าจดหมายมาส่งอีกก็เพ่มิ
เรื่อยๆจนกว่าจะ มีบุคคลมารับจดหมายและกดปุ่มเซนเซอร์จะทำการรีเซ็ท)2.เมื่อ
เซนเซอรน์ ้ำฝน ตรวจจับว่า จะมีฝนตกและมีจดหมายอยู่ในกล่องจดหมายก็จะทำการแจง้
เตอื นว่า จะมฝี นตกให้รบี ไปเอาจดหมาย เพราะวา่ บางครัง้ จดหมายช้นิ นั้นสำคัญและด่วน
อาจทำให้เปียกได้ผลการการดำเนนิ งานของโครงงานตู้ไปรษณีย์แจ้งเตอื นผ่าน line ถือว่า
ประสบผลสำเรจ็ ตามทไ่ี ดต้ ัง้ ไว้และสามารถช่วยแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดข้ึน
2.6 กรอบแนวคิดในการวิจยั 12
ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม
ตู้ไปรษณีย์ ตไู้ ปรษณียท์ ่ีแจง้ เตือนไดเ้ ขา้ มา
ในไลน์โดยผา่ นเซนเซอร์จบั
วตั ถุ
รปู ท่ี 2.6 แสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 3
วธิ ดี ำเนินการวจิ ัย
ในการวจิ ัยครั้งนม้ี วี ัตถุประสงค์เพอ่ื พัฒนาทำตู้ไปรษณีย์อจั ฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์, ศึกษาความ
พึงพอใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์, เผยแพร่ผ่านโครงการประกวด
โครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้
ดำเนินการศึกษา ตามขัน้ ตอนดังนี้
3.1 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย
3.1.1 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการสร้างตไู้ ปรษณยี ์อัจฉรยิ ะแจ้งเตือนทางไลน์ ไดแ้ ก่ กระดานไม้อดั
สีสเปรย์ คัตเตอร์ เทปใส ปืนยิงกาว ไส้กาวร้อน สายจั้มเปอร์ผู้-เมีย ไมโครคอลโทรลเลอร์
Nodemcu esp8266 Protoboard 40 pin เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ โปรแกรม Arduino
และ แอพพลเิ คชั่น Line Notify ซ่ึงไดจ้ ากการสงั่ ซ้อื ทางทางออนไลน์และร้านเคร่อื งเขียน
3.1.2 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีตู้ไปรษณีย์อัตโนมัติแจ้งเตือน
ทางไลน์ซ่ึงไดจ้ ากการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั
ปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัลวิทยาลัยเทคนิคระยองจำนวน 28 คน
3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง
นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วิทยาลัยเทคนิคระยอง จำนวน 28 คน
3.3 การดำเนินการทดลอง
3.3.1 ข้นั เตรยี ม
3.3.1.1 สืบค้นขอ้ มลู เกี่ยวกับโครงการทีส่ นใจและอุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการทำโครงงาน
3.3.1.2 เตรียมอปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการทำงานโครงการ กระดานไมอ้ ัด
สีสเปรย์ คัตเตอร์ เทปใส ปืนยิงกาว ไส้กาวร้อน ไมโครคอลโทรลเลอร์
Nodemcu esp8266 สายจั้มเปอร์ผู้-เมีย Protoboard 40 pin เซ็นเซอร์
ตรวจจับวัตถุ บานพบั นอ็ ต
3.3.1.3 เตรียมCode และแอพลเิ คชน่ั Line Notify ท่ใี ชใ้ นการแจง้ เตอื น
14
3.3.2 ขั้นดำเนนิ การ
3.3.2.1 ตัดกระดานไม้อดั เปน็ สี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ และประกอบชนิ้ งาน
3.3.2.2 นำสีสเปรย์มาฉีดกลอ่ งไปรษณยี ์ใหท้ ัว่ นำบานพบั ไวบ้ นกลอ่ งและใชน้ อ็ ตยดึ ไว้
3.3.2.3 นำ Nodemcu esp8266 มาเชื่อมต่อกบั Protoboard โดยใช้
สายจั้มเปอร์ผู้-เมยี
3.3.2.4 เขียน code และเข้าไปใน Line Notify และตั้งค่านำ code ที่เขียนไว้มาใส่ลง
ไปจากนั้นก็นำมาลงใส่ Nodemcu esp8266 เพื่อให้การแจ้งเตือนจากกล่อง
ไปรษณีย์สามารถเข้ามาทาง แอพพลเิ คชนั่ Line Notify ได้
3.3.2.5 บัดกรีระหวา่ ง Nodemcu esp8266และเซ็นเซอรต์ รวจจบั วัตถุ
3.3.2.6 จากน้ันก็ตดิ เข้ากบั กลอ่ งไปรษณยี ์ใหเ้ รียบร้อย
3.3.3 ขั้นทดลองและนำไปใช้
3.3.3.1 นำสายชาร์จโทรศัพท์มือถือมาเสียบกล่องไปรษณีย์ ให้ขึ้นไฟเหมือนชาร์จ
แบตเตอรี่
3.3.3.2 ทดลองนำซองจดหมายมาหย่อนลงไปมากล่องไปรษณีย์
3.3.3.3 ตรวจสอบในแอพพลิเคชนั่ Line Notify วา่ มแี จ้งเตือนเขา้ แลว้
3.3.4 ขนั้ ตอนการทำบรรจุภณั ฑ์ (กรณเี ปน็ ส่ิงประดษิ ฐป์ ระเภท ผลิตภณั ฑส์ ำเรจ็ รูป)
ต้ไู ปรษณยี ์อตั โนมตั ิแจ้งเตอื นทางไลน์ ประสบผลสำเรจ็
3.4 แผนผงั งาน 15
3.4.1 แผนผังงานโครงงาน
ไมผ่ ่าน
เร่มิ ต้น ไม่ผา่ น
วเิ คราะหป์ ัญหา
ศกึ ษางานวิจยั ทเี่ กีย่ วข้อง
กำหนดขอบเขตของชน้ิ งาน
ออกแบบช้นิ งาน
ผา่ น
สร้างช้นิ งานจากการออกแบบ
ทดสอบชนิ้ งาน
ผา่ น
ประกอบชนิ้ งานกับวงจร
ทดสอบประสทิ ธิภาพ
ผา่ น
ใชช้ น้ิ งาน
ประเมนิ การใชง้ าน
1
16
1
จดั ทำรปู เล่ม
จบ
รูปท่ี 3.1 แสดงผงั งานโครงงาน
3.4.2 แผนผงั งานโปรแกรม
เร่มิ ต้น
ประกาศตวั แปร
Sensor, led, Wifi, Line_Notify
รับข้อมลู Sensor, led
Wifi, Line_Notify
Wifi_Connected delay(500)
(led, LOW) Line_Notify("ออนไลน์") delay(500)
ไม่ผ่าน ผ่าน
Sensor ประมวลผล
Line_Notify Line_Notify
("connection failed") ("คณุ ไดร้ บั จดหมาย!")
delay(10000); delay(10000);
จบ
รปู ท่ี 3.2 แสดงแผนผังงานโปรแกรม
17
3.5 วงจรการทำงาน
รูปที่ 3.3 แสดงการทำงานของวงจร
ตารางที่ 3.1 แสดงสญั ลักษณ์
รูปอปุ กรณ์ ชื่ออปุ กรณ์
Protoboard 40 pin
ไมโครคอลโทรลเลอร์ Nodemcu esp8266
เซ็นเซอร์ตรวจจับวตั ถุ
สายจมั้ เปอร์ผู้-เมยี
18
3.6 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
3.6.1 จัดทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3
ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้ไปรษณีย์อัตโนมัติ
แจ้งเตอื นทางไลน์
3.6.2 อธิบายขั้นตอนการทำงานของตู้ไปรษณีย์อัตโนมัติแจ้งเตือนทางไลน์และการทำ
แบบสอบถาม
3.6.3 นำตู้ไปรษณยี ์อตั โนมตั ิแจง้ เตือนทางไลน์ไปใชก้ ับกลุม่ ตวั อย่างและการทดสอบตูไ้ ปรษณีย์
อตั โนมัติแจ้งเตอื นทางไลน์
3.6.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ห้อง
2 สาขาเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ที่มีต่อตู้ไปรษณีย์อัตโนมัติแจ้ง
เตอื นทางไลน์และทำแบบประเมนิ หลงั การใชง้ านต้ไู ปรษณีย์อัตโนมัติแจง้ เตือนทางไลน์
3.6.5 รวบรวมแบบสอบถามความพึงพอใจและแบบประเมนิ มาใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล
3.6.6 นำข้อมลู มาวิเคราะห์และสรุปอภิปรายผล
3.7 สถิตทิ ใ่ี ชแ้ ละวธิ วี เิ คราะหข์ ้อมูล
3.7.1 สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.7.1.1 คา่ เฉลยี่ (Mean)
โดยที่
̅ คอื คา่ เฉล่ีย
Σ คอื ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
คือ จำนวนทัง้ หมด
3.7.1.2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
โดยท่ี
S.D. คือ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
Σ คือ ผลรวมทัง้ หมดของคะแนน
Σ 2 คอื ผลรวมของคะแนนยกกำลังสองท้ังหมด
คอื จำนวนทั้งหมด
19
3.7.2 วธิ ีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจะดำเนินการแปลความหมายของค่าเฉลี่ยโดยใช้เกณฑ์
การประเมินแบง่ ออกเป็น 5 ระดบั ดังน้ี
4.50 – 5.00 หมายถงึ ดีมาก
3.50 – 4.49 หมายถงึ ดี
2.50 – 3.49 หมายถึง ปานกลาง
1.50 – 2.49 หมายถึง พอใช้
1.00 – 1.49 หมายถึง ปรับปรุง
บทที่ 4
ผลการวจิ ยั
ผลจากการสร้าง ตู้ไปรษณยี ์อัจฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์ โดยมผี ตู้ อบสอบถามทงั้ หมด
จำนวน 28 คน สรุปได้ดงั นี้
ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
1. ชาย รายการประเมนิ จำนวน (คน) ร้อยละ (%)
2. หญิง รวม 5 17.85
23 82.14
28 100.00
จากตารางท่ี 4.1 สรุปไดว้ า่ จำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ส่วนใหญเ่ ป็น
เพศหญงิ คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.14 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด มากกว่าเพศชาย คดิ เปน็
รอ้ ยละ 17.85 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทั้งหมด ตามลำดบั
แผนภมู ิแสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
90 หญิง
80
70
60
50
40
30
20
10
0
ชาย
จานวน (คน) ร้อยละ (%)
รปู ที่ 4.1 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ
21
ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
รายการประเมิน จำนวน (คน) รอ้ ยละ (%)
26 92.86
1. 17-18 ปี 2 7.14
2. 19-20 ปี 28 100.00
รวม
จากตารางที่ 4.2 สรปุ ไดว้ า่ จำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ สว่ นใหญ่เป็น
17-18 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 92.86 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทง้ั หมด มากกวา่ 19-20 ปี คิดเปน็
รอ้ ยละ 7.14 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมด ตามลำดับ
แผนภูมแิ สดงจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
100 19-20 ปี
90
80
70
60
50
40
30
20
10
0
17-18 ปี
จานวน (คน) รอ้ ยละ (%)
รปู ท่ี 4.2 แผนภมู แิ สดงจำนวนของผตู้ อบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ
22
ตารางท่ี 4.3 แสดงความพึงพอใจด้านโครงสร้าง
รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
1. วสั ดอุ ปุ กรณ์ทใ่ี ชส้ รา้ งตไู้ ปรษณียอ์ จั ฉรยิ ะ 4.25 .59 ดี
แจง้ เตือนทางไลนม์ คี วามแข็งแรง
2. ความแขง็ แรงของตู้ไปรษณยี อ์ ัจฉริยะแจง้ 3.79 .69 ดี
เตือนทางไลน์
3. ขนาดของตู้ไปรษณียอ์ จั ฉรยิ ะแจง้ เตอื น 4.04 .58 ดี
ทางไลน์
4. ความทนทานของวสั ดทุ ีใ่ ช้ 3.29 .76 ปานกลาง
รวม 3.84 .09 ดี
จากตารางที่ 4.3 สรุปได้ว่าความพึงพอใจดา้ นโครงสร้างของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญท่ ี่มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅=3.84, S.D.=0.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่าวัสดุอุปกรณ์
ที่ใช้สร้างตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์มีความแข็งแรง ( ̅=4.25, S.D.=0.59) ขนาดของตู้
ไปรษณีย์อจั ฉริยะแจง้ เตือนทางไลน์ ( ̅=4.04, S.D.=0.58) และความแขง็ แรงของตู้ไปรษณีย์อจั ฉริยะ
แจง้ เตอื นทางไลน์ ( ̅=3.79, S.D.=0.69) ตามลำดับ
แผนภูมแิ สดงความพึงพอใจดา้ นโครงสรา้ ง
4.5 ความแขง็ แรง ขนาดของตู้ ความทนทานวสั ดุ
4 S.D.
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
วสั ดุอปุ กรณ์ท่ใี ชส้ รา้ ง
̅
รปู ที่ 4.3 แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจด้านโครงสรา้ ง
23
ตารางที่ 4.4 แสดงความพึงพอใจดา้ นการใชง้ าน
รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
5. ความสะดวกในการใช้งานของตู้ไปรษณยี ์ 4.32 .72 ดี
อัจฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์
6. ความปลอดภยั ของตไู้ ปรษณีย์อจั ฉริยะ 3.29 .94 ปานกลาง
แจง้ เตือนทางไลน์
7. ระยะเวลาในการแจง้ เตอื นตไู้ ปรษณีย์ 4.57 .50 ดี
อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์
รวม 4.06 .22 ดี
จากตารางที่ 4.4 สรปุ ไดว้ ่าความพึงพอใจดา้ นการใชง้ านของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่
ที่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅=4.06, S.D.=0.22) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า
ระยะเวลาในการแจ้งเตือนตู้ไปรษณีย์อจั ฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์ ( ̅=4.57, S.D.=0.50) อยใู่ นระดบั ดี
ความสะดวกในการใช้งานของตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=4.32, S.D.=0.72) อยู่ใน
ระดับดี และความปลอดภัยของตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=3.29, S.D.=0.94) อยู่ใน
ระดบั ปานกลาง ตามลำดับ
แผนภมู แิ สดงความพึงพอใจดา้ นการใช้งาน
5 ความปลอดภัย ระยะเวลาการแจง้ เตือน
4.5 ̅ S.D.
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
ความสะดวก
รปู ท่ี 4.4 แผนภูมแิ สดงความพึงพอใจดา้ นการใชง้ าน
24
ตารางท่ี 4.5 แสดงความพงึ พอใจดา้ นความคุ้มค่า
รายการประเมนิ ̅ S.D. แปลผล
8. ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการทำตไู้ ปรษณีย์ 3.75 .59 ดี
อจั ฉริยะแจง้ เตอื นทางไลน์
9. ตู้ไปรษณียอ์ จั ฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ 4.43 .69 ดี
สามารถใชง้ านไดจ้ ริง
10. ความเหมาะสมในการจดั ทำตไู้ ปรษณีย์ 3.46 .79 ปานกลาง
อจั ฉริยะแจ้งเตอื นทางไลน์
รวม 3.88 .10 ดี
จากตารางท่ี 4.5 สรุปไดว้ า่ ความพึงพอใจดา้ นการใชง้ านของผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ที่มี
ความคิดเห็นอยู่ในระดับดี ( ̅=3.88, S.D.=010) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ตู้ไปรษณีย์
อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์สามารถใช้งานได้จริง ( ̅=4.43, S.D.=0.69) อยู่ในระดับดี ระยะเวลาที่ใช้
ในการทำตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=3.75, S.D.=0.59) อยู่ในระดับดี และความ
เหมาะสมในการจัดทำตู้ไปรษณีย์อจั ฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์ ( ̅=3.46, S.D.=0.79) อยู่ในระดับ
ปานกลางตามลำดบั
แผนภมู ิแสดงความพึงพอใจดา้ นความคมุ้ คา่
5 สามารถใชง้ านไดจ้ ริง ความเหมาะสมในการจัดทา
4.5 ̅ S.D.
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0.5
0
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการทา
รูปท่ี 4.5 แผนภมู แิ สดงความพงึ พอใจดา้ นความคุ้มคา่
บทท่ี 5
สรุปผลการวจิ ยั อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ
ในการวิจัยครั้งนีม้ ีวัตถุประสงค์ของการวิจยั ดงั น้ี 1) เพ่ือพัฒนาทำตูไ้ ปรษณยี ์อัจฉรยิ ะแจ้ง
เตอื นทางไลน์ 2) เพ่อื ศกึ ษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพปที ี่ 3 หอ้ ง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ิทลั วิทยาลัยเทคนิคระยอง ท่ีมตี อ่ ตู้ไปรษณยี อ์ ัจฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์
3) เพ่อื เผยแพรผ่ า่ นโครงการประกวดโครงการวชิ าชพี ชมรมวชิ าชีพเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง โดยกล่มุ ตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการวจิ ัยครง้ั นคี้ ือนักศกึ ษาระดบั ประกาศนยี บตั ร
วชิ าชพี ปที ี่ 3 ห้อง 2 เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย ได้แก่ ตไู้ ปรษณีย์อัจฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์และ
แบบสอบถามความพงึ พอใจนกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปที ่ี 3 ห้อง 2 สาขาเทคโนโลยี
ธรุ กจิ ดจิ ทิ ลั วทิ ยาลยั เทคนิคระยอง ผลการวิจัยมีดงั นี้
5.1 สรุปผลการวิจัย
5.1.1 สรุปไดว้ ่าจำนวนของผ้ตู อบแบบสอบถามจำแนกตามเพศ ส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญงิ คิดเปน็
ร้อยละ 82.14 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด มากกว่าเพศชาย คิดเป็นร้อยละ
17.85 ของจำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทงั้ หมด ตามลำดบั
5.1.2 สรุปได้ว่าจำนวนของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตามอายุ ส่วนใหญ่เป็น17-18 ปี คิดเป็น
ร้อยละ 92.86 ของจำนวนผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด มากกว่า19-20 ปี คิดเป็นร้อยละ
7.14 ของจำนวนผูต้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด ตามลำดับ
5.1.3 สรุปได้ว่าความพึงพอใจด้านโครงสร้างของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ที่มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับดี ( ̅=3.84, S.D.=0.09) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้วา่ วัสดุอุปกรณ์ที่
ใช้สร้างตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์มีความแข็งแรง ( ̅=4.25, S.D.=0.59)
ขนาดของตูไ้ ปรษณีย์อัจฉริยะแจง้ เตือนทางไลน์ ( ̅=4.04, S.D.=0.58) และความแข็งแรง
ของตไู้ ปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=3.79, S.D.=0.69) ตามลำดบั
5.1.4 สรุปได้ว่าความพึงพอใจด้านการใช้งานของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ที่มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับดี ( ̅=4.06, S.D.=0.22) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ระยะเวลาใน
การแจ้งเตือนตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=4.57, S.D.=0.50) อยู่ในระดับดี
ความสะดวกในการใช้งานของตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=4.32,
S.D.=0.72) อยู่ในระดับดี และความปลอดภัยของตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์
( ̅=3.29, S.D.=0.94) อยใู่ นระดับปานกลาง ตามลำดับ
26
5.1.5 สรุปได้ว่าความพงึ พอใจด้านความคุ้มค่าของผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ที่มคี วามคดิ เห็น
อยู่ในระดับดี ( ̅=3.88, S.D.=010) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วสรุปได้ว่า ตู้ไปรษณีย์
อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์สามารถใช้งานได้จริง ( ̅=4.43, S.D.=0.69) อยู่ในระดับดี
ระยะเวลาที่ใช้ในการทำตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์ ( ̅=3.75, S.D.=0.59) อยู่
ในระดับดี และความเหมาะสมในการจัดทำตู้ไปรษณีย์อัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลน์
( ̅=3.46, S.D.=0.79) อยูใ่ นระดับปานกลาง ตามลำดับ
5.2 อภิปรายผล
5.2.1 ได้ตู้ไปรษณยี อ์ จั ฉรยิ ะแจง้ เตอื นทางไลน์
5.2.2 ไดค้ วามพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพปีที่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดจิ ทิ ลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง ท่มี ตี อ่ ตูไ้ ปรษณยี อ์ ัจฉรยิ ะ
แจ้งเตือนทางไลนอ์ ยใู่ นระดับดี ซึ่งตรงตามจุดประสงค์ท่ตี ้ังไว้
5.2.3 ได้เผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวิชาชีพเทคโนโลยีธุรกิจดิจิทัล
วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง
5.3 ข้อเสนอแนะในการวิจยั
5.3.1 การเสนอแนะการนำผลการวิจัยไปใชป้ ระโยชน์
5.3.1.1 สามารถนำไปใช้ในเชงิ พาณชิ ยใ์ นการคา้ ขายได้
5.3.1.2 สามารถนำไปใช้ในร้านอาหารในการสั่งเมนูอาหาร เพื่อลดการสัมผัสระหว่าง
พนกั งานกับลกู คา้
5.3.2 การเสนอแนะการทำการวจิ ยั ต่อเนื่องหรอื วจิ ยั ต่อยอด
5.3.2.1 สามารถนำตู้ไปรษณยี อ์ ัจฉริยะแจ้งเตือนทางไลนป์ รับใช้วสั ดทุ ่แี ข็งแรงมากขึ้น
5.3.2.2 เพมิ่ ฟังก์ชน่ั บอกจำนวนวสั ดุท่อี ยู่ในตไู้ ปรษณีย์
5.3.2.3 สามารถต้ังค่าการแจง้ เตอื น เพ่ือใหเ้ อาออกตามเวลาทีต่ ้องการได้
27
บรรณานกุ รม
สุรยี ์พร ฉำ่ กลน่ิ (พ.ศ. 2560) ความหมายของสงิ่ ประดิษฐ์ เข้าถงึ เมือ่ 8 สงิ หาคม 2564.
เข้าไดจ้ าก : https://sites.google.com/site/sfddfb8989090/khwam-hmay-khxng-sing-
pradisth
วทิ ยาลยั เทคนคิ ยะลา (พ.ศ.2561) ประเภทของสง่ิ ประดษิ ฐ์ เข้าถงึ เม่อื 8 สิงหาคม 2564.
เขา้ ไดจ้ าก : https://www.ytc.ac.th/ytc2014/index.php?option=com
บริษทั เทนเซ็นตป์ ระเทศไทย (พ.ศ.2564) ความหมายของตไู้ ปรษณยี ์ เข้าถึงเมอื่ 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://dictionary.sanook.com/
บรษิ ัท มตชิ น จำกัด (มหาชน) (พ.ศ.2563) ที่มาของตไู้ ปรษณยี ์ เขา้ ถึงเมอื่ 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://www.prachachat.net/d-life/news-207441
Glennbouchard (พ.ศ. 2562) ความหมายของโปรแกรม Arduino เขา้ ถงึ เมอ่ื 8 สิงหาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://glennbouchard.com/th/60-pengertian-dan-kelebihan-arduino.html
Glennbouchard (พ.ศ. 2562) ประเภทของโปรแกรม Arduino เข้าถงึ เม่อื 8 สิงหาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://glennbouchard.com/th/59-jenis-jenis-arduino.html
Glennbouchard (พ.ศ. 2562) ประโยชนข์ องโปรแกรม Arduino เขา้ ถงึ เมื่อ 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ไดจ้ าก : https://glennbouchard.com/th/60-pengertian-dan-kelebihan-arduino.html
Ibuddyweb Co,.Ltd (พ.ศ. 2563) ความหมายของ Line Notify เขา้ ถึงเม่ือ 8 สงิ หาคม 2564.
เข้าไดจ้ าก : https://www.ibuddyweb.com/news/line-notify/
Ibuddyweb Co,.Ltd (พ.ศ. 2563) การใชง้ านของ Line Notify เข้าถึงเมอ่ื 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://www.ibuddyweb.com/news/line-notify/
เอ็ม.ด.ี ซอฟต์ จำกดั (พ.ศ. 2556) ประโยชน์ของ Line Notify เข้าถงึ เมอื่ 8 สงิ หาคม 2564.
เขา้ ได้จาก : https://www.mdsoft.co.th/-line-notify.html
ภาคผนวก ก
(ว-สอศ-2)
แบบเสนอโครงการวจิ ัยสงิ่ ประดิษฐข์ องคนร่นุ ใหม่
(ว-สอศ-2)
ประจำปีการศกึ ษา 2564
ปพี ุทธศกั ราช 2563 - 2564
ผลงานสิ่งประดษิ ฐป์ ระเภทที่ 1
สง่ิ ประดษิ ฐ์ด้านพฒั นาคุณภาพชีวติ
ต้ไู ปรษณียอ์ จั ฉรยิ ะแจ้งเตือนทางไลน์
วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
อาชีวศกึ ษาจังหวดั ระยอง
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธิการ
30
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แบบ ว-สอศ-2
(สำหรับนกั เรยี น นักศกึ ษา)
แบบเสนอโครงการวจิ ัยสิง่ ประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหม่ “สุดยอดนวตั กรรมอาชวี ศกึ ษา”
การประกวดสิง่ ประดษิ ฐข์ องคนรุ่นใหม่ ประจำปีการศกึ ษา 2564
ปีพทุ ธศกั ราช 2563 - 2564
ชอ่ื ผลงานวจิ ัย (ภาษาไทย) ต้ไู ปรษณีย์อัจฉรยิ ะแจ้งเตอื นทางไลน์
(ภาษาอังกฤษ) Smart Postbox Notify on line
ชือ่ สถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนคิ ระยอง อาชวี ศึกษา จงั หวดั ระยอง
ท่อี ยู่ 086/13 ตำบล ทา่ ประดู่ อำเภอ เมืองระยอง จงั หวัด ระยอง
เบอร์โทรศัพท์ 038-611-192 E-mail : [email protected]
ส่วน ก : ลกั ษณะงานวจิ ัย
งานวิจยั ใหม่ งานวิจัยต่อเนอ่ื งระยะเวลา..........…..ปี
ความสอดคล้องระดับชาติ
1. แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ สร้างความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและแข่งขนั ได้อย่างย่งั ยนื
2. นโยบายและยทุ ธศาสตรก์ ารวิจยั ของชาติฉบับท่ี 9
ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสริมกลไกและกจิ กรรมการนำกระบวนการวจิ ัยผลงานวิจยั
องคค์ วามรู้ นวตั กรรม และเทคโนโลยีจากงานวิจยั ไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง
โดยความร่วมมอื ของภาคสว่ นตา่ ง ๆ
3. ยทุ ธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น
ยุทธศาสตร์ การพฒั นาเทคโนโลยี
4. ยุทธศาสตร์ประเทศ
ยุทธศาสตร์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม
5. นโยบายรฐั บาล/เปา้ หมายของรฐั บาล
นโยบาย/เปา้ หมาย การพฒั นาและส่งเสริมการใชป้ ระโยชน์จากวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี การวิจยั และพัฒนานวัตกรรม
31
ความสอดคลอ้ งระดบั กระทรวง
1. นโยบายของรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นโยบาย การศึกษาเพ่อื อาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ
ประเทศ
2. ยทุ ธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ยทุ ธศาสตร์ ผลติ และพฒั นากำลงั คน รวมทัง้ งานวิจัยท่ีสอดคล้องกับความ
ต้องการของประเทศ
3. ยุทธศาสตรส์ ำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
ความสอดคลอ้ งระดบั ส่วนภมู ภิ าค
1. ยทุ ธศาสตร์กลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวนั ออก
ยุทธศาสตร์ สง่ เสริมและพัฒนาอตุ สาหกรรมให้เปน็ มติ รตอ่ ส่งิ แวดล้อม
2. จังหวดั ระยอง
ยุทธศาสตร์ การพฒั นาความเปน็ เลศิ ด้านการศึกษา ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม
ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ และการกฬี า
3. พันธกิจหรอื นโยบายของสถานศึกษา/สถาบนั การอาชวี ศึกษา
พนั ธกิจหรอื นโยบาย มกี ารวจิ ัยและพัฒนาเพอ่ื ส่งผลไปสู่ความเข้มแข็งของ
สถาบนั และชุมชนให้สอดคล้องกบั ภมู ิปัญญาของท้องถิน่
โครงการวจิ ยั น้ี สามารถนำไปเผยแพรแ่ ละขยายผลไปสกู่ ารใชป้ ระโยชนไ์ ด้
เชิงนโยบาย (ระบุ) .................................................................................
เชงิ พาณชิ ย์ (ระบุ) .................................................................................
เชงิ วิชาการ (ระบ)ุ .................................................................................
เชงิ พ้ืนที่ (ระบุ) นำไปใชบ้ ริเวณที่พกั อาศยั
เชิงสาธารณะ/สังคม (ระบุ) ...................................................................
อนื่ ๆ (ระบ)ุ .......................................................................................
32
ภาพแบบรา่ ง/หรือภาพผลงานสงิ่ ประดษิ ฐ์
ส่วน ข : องค์ประกอบในการจดั ทำโครงการวจิ ยั
1. ผู้รบั ผิดชอบประกอบดว้ ย
1.1 หวั หน้าทีมโครงการวจิ ยั
ชอ่ื นางสาววษณพร นามสกุล อินทสวุ รรณ
ตำแหน่ง จดั ทำรูปเลม่ ออกแบบ
ที่อยู่ 207/16 ม. 2 ต. เพ อ. เมอื งระยอง จ. ระยอง
เบอรโ์ ทรศัพท์ 0926780028 E-mail : [email protected]
1.2 นกั วิจยั รุ่นใหม/่ คณะผู้ร่วมวจิ ยั
1.2.1 ชือ่ นางสาวญาณิศา นามสกลุ โพธแ์ิ กว้
ตำแหน่ง จัดทำสงิ่ ประดษิ ฐ์
ระดับชัน้ ปวส. 2/2 สาขาวชิ า เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ลั
1.3 คณะผู้ร่วมวจิ ัย/ท่ีปรกึ ษาโครงการวจิ ัย
1.3.1 ชอ่ื นางสาวพัณณช์ ติ า นามสกุล คำมะฤทธิส์ ินชัย
ตำแหน่ง ครู คศ.2
แผนกวิชา เทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล สาขาวชิ าท่ีเชยี่ วชาญ คอมพิวเตอร์ธุรกจิ
1.3.2 ช่อื นางสาวอัจฉราภรณ์ นามสกุล เกล้ยี งพรอ้ ม
ตำแหน่ง ครอู ตั ราจ้าง
แผนกวชิ า เทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ทิ ัล สาขาวิชาทเี่ ช่ียวชาญ คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ
1.4 หนว่ ยงานหลัก วิทยาลยั เทคนิคระยอง ท่ีอยู่ 086/13 ตำบล ท่าประดู่ อำเภอ
เมืองระยอง จังหวดั ระยอง เบอรโ์ ทรศพั ท์ 038-611-192
33
1.5 หน่วยงานสนับสนุน(ถ้าม)ี
1.5.1 หน่วยงานภาครฐั ……………………………………………………………………………..
1.5.2 หนว่ ยงานภาคเอกชน………………………………………………………………………..
1.6 อ่นื ๆ…………………………………………………………………………………………………………
2. ประเภทการวจิ ัย
การวิจยั และพัฒนา (research and development)
3. สาขาวิชาการ/ประเภทสิ่งประดษิ ฐ์ของคนร่นุ ใหม่
สง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมทท่ี ำการวิจัย ประเภทท่ี 1
สง่ิ ประดษิ ฐ์ดา้ นพัฒนาคณุ ภาพชีวิต
ส่ิงประดษิ ฐ์และนวัตกรรมที่ทำการวจิ ยั ประเภทท่ี 2
สิ่งประดษิ ฐ์ด้านการประกอบอาชีพ
สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมทท่ี ำการวจิ ัย ประเภทท่ี 3
สิง่ ประดิษฐ์ดา้ นเพ่ือการอนุรักษ์พลังงาน
สง่ิ ประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมท่ที ำการวิจัย ประเภทท่ี 6
สงิ่ ประดิษฐ์ด้านนวตั กรรมซอฟต์แวรแ์ ละระบบสมองกลฝังตวั
สง่ิ ประดษิ ฐแ์ ละนวัตกรรมที่ทำการวจิ ยั ประเภทที่ 9
ส่งิ ประดิษฐ์ประเภทกำหนดโจทย์ : Mini Smart Farms
4. คำสำคัญ (keywords) ของการวจิ ัย
4.1 ตูไ้ ปรษณยี ์ หมายถงึ ตูท้ ตี่ ัง้ ในทีส่ าธารณะเพ่อื รบั จดหมายและไปรษณียบัตร
แล้วไขออกตามกำหนดเวลาเพอ่ื นำไปสง่ ผูร้ บั
4.2 อัจฉริยะ หมายถงึ วเิ ศษนา่ อัศจรรย์มีความรู้ความสามารถเกินกวา่ ระดับปกติ
5. ความสำคัญและท่ีมาของปัญหาทท่ี ำการวจิ ยั
ในปัจจุบันได้มีการพัฒนา และเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น เมื่อกล่าวถึงการรับส่ง
จดหมาย ข่าวสารสำคัญที่ส่งมาจากไปรษณีย์ไปโดยทั่วไปรูปร่างลักษณะของ
ตู้จดหมาย จะทึบไม่สามารถมองเห็นภายในตู้จดหมายได้ ทำให้ไม่ได้รับจดหมาย
หรือข่าวสารที่สำคัญได้ทันเวลา อาจทำให้เกิดความผิดพลาดหรือเสียหายได้ เช่น มี
น้ำฝนรั่วซึมเข้าไปในตู้ไปรษณีย์หรือหากบุรุษไปรษณีย์หย่อนจดหมายไม่ดี ทำให้
อาจจะปลวิ ออกหล่นหายได้
34
Arduino ชิปไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์ตระกูลต่างๆ มาใช้ร่วมกันในภาษา C ซ่ึง
ภาษา C นี้เป็นลักษณะเฉพาะ คือมีการเขียนไลบารี่ของ Arduino ขึ้นมาเพื่อให้การ
สั่งงานไมโครคอนโทรลเลอร์ที่แตกต่างกัน สามารถใช้งานโค้ดตัวเดียวกันได้ โดยตัว
โครงการได้ออกบอร์ดทดลองมาหลายๆรูปแบบ เพื่อใช้งานกับ IDE ของตนเอง
สาเหตุหลักที่ทำให้ Arduino เป็นนิยมมาก เป็นเพราะซอฟแวร์ที่ใช้งานร่วมกัน
สามารถโหลดได้ฟรี และตัวบอร์ดท ดลองยังถูกแจกแปลน เป็นบอร์ด
ไมโครคอนโทรเลอร์ตระกูล AVR ที่มีการพัฒนาแบบ Open Source คือมีการ
เปิดเผยข้อมูลทั้งด้าน Hardware และ Software ตัว บอร์ด Arduino ถูกออกแบบ
มาให้ใช้งานได้ง่าย จึงเหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นศึกษา ทั้งนี้ผู้ใช้งานยังสามารถดัดแปลง
เพ่มิ เตมิ พฒั นาต่อยอดทัง้ ตัวบอร์ด หรอื โปรแกรมต่อได้อีกด้วย
ทำให้มีความคิดเห็นที่จะแก้ไขปัญหานี้ เพราะในปัจจุบันเริ่มมีเทคโนโลยีที่
สามารถชว่ ยอำนวยความสะดวกมากมาย จึงได้เขียนโคด้ โปรแกรม Arduino แลว้ ใช้
Node mcuesp8266 เชื่อมต่อกับเซนเซอร์จับวัตถุเพื่อให้เกิดการแจ้งเตือน และ
นำไปเชื่อมต่อกับแอพพลิเคชั่น Line Notify เพื่อให้ส่งไปยังไลน์บนพีซีและสมาร์ท
โฟน ทำให้ได้รับจดหมายหรือเอกสาร และไม่ทำให้เกิดปัญหาจดหมายค้างในตู้
ไปรษณียอ์ กี ด้วย
6. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
6.1 เพ่ือพัฒนาทำตไู้ ปรษณียอ์ ัจฉรยิ ะแจง้ เตอื นทางไลน์
6.2 เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพปที ี่ 3 ห้อง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ิทัล วิทยาลยั เทคนคิ ระยอง ทม่ี ตี อ่ ตไู้ ปรษณีย์
อจั ฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์
6.3 เพือ่ เผยแพรผ่ า่ นโครงการประกวดโครงการวชิ าชพี ชมรมวชิ าชีพเทคโนโลยี
ธรุ กจิ ดิจทิ ลั วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
7. ขอบเขตของการวิจัย
7.1 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา
7.1.1 ศกึ ษาแนวทางทเ่ี กย่ี วข้องกับต้ไู ปรษณียท์ ่ีแจ้งเตอื นด้วยเซนเซอร์จับวัตถุ
7.1.2 ศกึ ษาการเขยี นโคด้ ด้วยโปรแกรม Arduino
7.1.3 ศึกษาการแจ้งเตือนด้วย Line Notify
35
7.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง
นักศึกษาวทิ ยาลยั เทคนคิ ระยองระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพปที ี่ 3 ห้อง 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง ทง้ั หมด 20 คน
7.3 ขอบเขตดา้ นเวลา
มิถุนายน 2564 - กันยายน 2564
8. ทฤษฎี สมมุตฐิ าน (ถ้ามี) และกรอบแนวความคดิ ของการวิจยั หรอื แบบร่าง
โดยใชท้ ฤษฎี ตัวแปรต้น ตวั แปรตาม และตัวแปรควบคมุ
8.1 ตัวแปรต้น คือ ตู้ไปรษณีย์
8.2 ตวั แปรตาม คือ ตู้ไปรษณียท์ แ่ี จง้ เตอื นไดเ้ ขา้ มาในไลน์โดยผา่ นเซนเซอร์
จบั วัตถุ
8.3 ตัวแปรควบคมุ คือ การเขยี นโคด้ โปรแกรม Arduino
9. การทบทวนวรรณกรรม/สารสนเทศ (information) ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
สามเณร สุวพีร์ สมฤทธิ์ และคณะ (2563) โครงงาน เรื่อง ตู้ไปรษณีย์แจ้ง
เตือนผ่าน line มีจุดมุ่งหมายเพื่อจะแก้ไขปัญหาเมื่อมีจดหมาย มาส่ง และจดหมาย
เป็นจดหมายสำคัญ และเร่งด่วน ที่จะต้องอ่าน เพื่อให้ผู้รับจดหมายได้ทราบว่า
ขณะนี้มีจดหมายมาส่ง เพื่อให้ผู้รับได้ไปเปิดตู้ไปรษณีย์ แล้วอ่านจดหมายทันจะเหน็
ไดว้ า่ ปัจจบุ ัน คนเรามกันิยมทีจ่ ะใชโทรศพั ทก์ นั มากและเลน่ แอปพลเิ คชั่น line กัน
อยู่แล้ว ผู้จัดทำเลยมีแนวคิดที่จะ โครงงานตู้ไปรษณีย์แจ้งเตือนผ่านline โดยนำ
โปรแกรม GOGO Bright และ KidBright มา ประยุกต์ใช้กับโครงงาน โดยมีการ
กำหนดเงื่อนไขของการทำงานของตู้ไปรษณีย์แจ้งเตือนผ่านline โดยมีเงื่อนไขดังนี้
1.เมื่อมีจดหมายมายอดลงในช่องของไปรษณีย์จะทำการเตือนไปยัง Lineว่ามี
จดหมายมาส่ง (ถ้ามีจดหมายมาส่งคือ+1ถ้าจดหมายมาส่งอีกก็เพิ่มเรื่อยๆจนกว่าจะ
มีบุคคลมารับจดหมายและกดปุ่มเซนเซอร์จะทำการรีเซ็ท )2.เมื่อเซนเซอร์น้ำฝน
ตรวจจับว่า จะมีฝนตกและมีจดหมายอยู่ในกล่องจดหมายก็จะทำการแจ้งเตือนว่า
จะมีฝนตกให้รีบไปเอาจดหมาย เพราะว่า บางครั้งจดหมายชิ้นนั้นสำคัญและด่วน
อาจทำให้เปียกได้ ผลการการดำเนินงานของโครงงานตูไ้ ปรษณีย์แจ้งเตือนผ่าน line
ถือว่าประสบผลสำเร็จตามท่ไี ด้ต้งั ไว้ และสามารถช่วยแกไ้ ขปัญหาท่ีเกดิ ขน้ึ
เฉลิมศักดิ์ อรุณโรจนป์ ญั ญา และคณะ (2557) โครงงานนนี้ าเสนอ
ตู้ไปรษณียอ์ ัจฉริยะ โดยการนาเทคโนโลยไี ร้สายจากอุปกรณ์ที่ เรียกว่า X-Bee รุ่น
Series2 (ZB) มาใช้ในการรบั -ส่งข้อสัญญาณโดยปรบั ต้งั ใหง้ านในโหมด API ซึง่ เป็น
36
โหมดที่ X-Bee สามารถทางานเป็นตัวควบคุม (Controller) ในตัว โดยสามารถใช้
ควบคุมอุปกรณ์ที่มาเชื่อมต่อได้โดยตรง ใน การทดสอบการทางานของตู้ไปรษณีย์
สามารถแจ้งเตือนเจ้าของบ้านว่ามีจดหมายมาส่งแล้ว ทั้งในรูปแบบ ของเสียง และ
ส่งข้อความ (SMS) เข้าโทรศัพท์มือถือ โดยผู้ออกแบบได้ใช้เซนเซอร์ตรวจจับการ
สะท้อน เพื่อตรวจสอบว่ามีจดหมายเข้ามาหรือไม่หลังจากนั้นตู้ไปรษณีย์จะส่ง
สัญญาณแบบไร้สายไปยังเครื่องรับที่ อยู่ที่บ้านเพื่อเตือนเจ้าของบ้านให้ทราบว่ามี
จดหมายมาส่ง ทง้ั ในกรณีท่ผี ูอ้ ยู่อาศยั อยู่ภายในบ้านเป็นเสยี งแจ้งเตอื น และกรณีท่ีผู้
อาศัยไมไ่ ดอ้ ยู่บ้านจะเปน็ การส่งขอ้ ความเขา้ โทรศพั ท์มอื ถอื
ธนัช เทพแสง และคณะ (2558) ตู้รับจดหมายไฮเทค ที่สร้างขึ้นนี้
วัตถุประสงค์เพื่อเตือนผู้ใช้ไม่ให้ลืมจดหมายได้ เพื่อป้องกัน ความเสียหายของ
จดหมายได้ และหาประสิทธิภาพด้านการใช้งานของตู้รับจดหมายไฮเทค โดยใช้
หลักการ ตรวจสอบจดหมายภายในตู้ด้วยเซ็นเซอร์แสง เมื่อมีจดหมายหย่อนลงตู้
ระบบเสียงเตือนจะดังขึ้นทันที และจะดังขึ้นทุกครั้งที่มีคนเดินผ่านตู้รับจดหมายน้ัน
ด้วยเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุเคลื่อนไหว ตู้รับจดหมายไฮเทคมีประสิทธิผลดังนี้ ตู้รับ
จดหมายไฮเทคแจ้งเตือนทันทีที่มีการหย่อนจดหมายลงในตู้มีประสิทธิภาพคิดเป็น
ร้อยละ 100 ตู้รับจดหมายไฮเทคสามารถป้องกันการลืมจดหมายได้ มีประสิทธิภาพ
คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมา คือตู้รับจดหมายไฮเทค แจ้งเตือนทุกครั้งที่มีคนเดิน
ผ่านตู้จดหมายมีประสิทธิภาพคิดเป็นร้อยละ 95 และ รายการทผี่ ้ตู อบแบบสอบถาม
มีความเหน็ น้อยที่สดุ คอื ตู้รบั จดหมายไฮเทคมรี ปู รา่ งสวยงามมปี ระสทิ ธภิ าพ
คดิ เปน็ ร้อยละ 70 ซงึ่ สามารถทำงานไดต้ ามวัตถปุ ระสงคไ์ ดอ้ ย่างสมบูรณ์
ณัฐพัชญ์ ศรีราจันทร์ และคณะ (2562) งานวิจัยนี้นำเสนอระบบแจ้งเตือน
การโจรกรรมด้วยเซนเซอร์การตรวจจับการสั่นสะเทือนบน เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต
ของสรรพสิ่ง สมมุติฐานงานวิจัยอยู่บนการตรวจจับแรงสั่นสะเทือนของประตูและ
หน้าต่าง ขณะที่เจ้าของบ้านไม่ได้อยู่อาศัย ซึ่งเจ้าของบ้านสามารถกำหนดช่วงเวลา
ใหท้ ำการตรวจสอบได้ผ่านทางเว็บ แอปพลเิ คชันในกรณีทเ่ี กิดการสน่ั สะเทือนในชว่ ง
ระดับที่กำหนดจะมีการแจ้งเตือนข้อมูลการโจรกรรมผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์
งานวิจัยนี้ได้ออกแบบแนวคิดในการพัฒนาแบ่งออกเป็นส่วนประกอบดังนี้ 1) การ
ทำงานใน ส่วนของไอโอทีและอุปกรณ์ การเชื่อมต่ออุปกรณ์ NodeMCU และ
เซ็นเซอร์ตรวจจับค่าการสั่นสะเทือนที่ติดตั้งไป ยังส่วนที่ต้องการตรวจสอบเช่น
ประตูหรือหน้าต่าง โดยควบคุมการทำงานผ่านซอฟต์แวร์การจัดการข้อมูลของ
อุปกรณไ์ อโอที 2) เคร่ืองแมข่ ่ายอนั โต เปน็ ตวั กลางในการรับส่งขอ้ มูลจากซอฟตแ์ วร์
37
การจัดการข้อมูลของ อุปกรณ์ไอโอที และ 3) เว็บแอปพลิเคชัน ทำหน้าที่
รับข้อมูลการตั้งค่าการสั่นสะเทือนและการแจ้งเตือนจาก ผู้ใช้งาน โดยทำการ
ทดสอบระบบแบบอัลฟ่า อุปกรณ์ไอโอทีพร้อมเซนเซอร์ตรวจวัดการสั่นสะเทือนถูก
นำไปติดท่ี ประตูบ้านเพื่อทดสอบแรงสั่นสะเทือนจากการเปิด และใช้เว็บแอปพลิเค
ชันตั้งค่าการสั่นสะเทือนในระดับต่าง ๆ ตามช่วงเวลาที่กำหนดไว้ ผลการวิจัยพบว่า
ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ซึ่งสามารถทำการตรวจจับ
แรงสั่นสะเทือนในแต่ละช่วงได้อย่างถูกต้อง ระบบแจ้งเตือนสามารถส่งไปยังผ่าน
แอปพลเิ คชันไลน์ได้ แต่มีปญั หาในเร่ืองเวลาในการตอบสนองที่ลา่ ช้าบา้ งเลก็ น้อย
เจษฎา พิบูรณ์ และคณะ (2559) จากที่วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรีได้มีการ
จัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน โดยกำหนดให้นักศึกษาสามารถนำ
ความรู้ทักษะ และประสบการณ์ที่ได้ศึกษามาสร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมใหม่/
โครงการ/โครงงาน/สง่ิ ประดษิ ฐ์ ตามความสนใจของนกั ศึกษาจากทีก่ ลา่ วมาผู้วจิ ัยจึง
ได้คิด ตู้จดหมายแจ้งเตือนผ่าน LINE โดยใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์ Arduino เป็นตัว
ควบคุม เพื่อแก้ไขปัญหาการพลาดการรับเอกสารที่สำคัญและเพื่อป้องกันเอกสาร
ศูนยห์ าย ในเวลาทีไ่ มม่ ีผ้อู าศยั อยภู่ ายในบา้ น และสามารถแจ้งเตือนให้ผู้อาศัยทราบ
ว่ามีจดหมายมาส่งที่บ้านได้ตลอดเวลาและทุกๆที่ ที่มีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ซึ่งมี
ราคาถูก ติดตั้งง่าย และยังสามารถแจ้งเตือนผ่านระบบ LINE ได้อีกด้วยเพื่อความ
สะดวกสบายให้กับผู้ใช้งานสำหรับผู้อาศัยที่ทำงานบริษัทต่างๆ และผู้อาศัยที่ไม่ค่อย
มีเวลาในการอยบู่ ้านในช่วงกลางวัน
10. การสบื ค้นจากฐานข้อมลู สิทธบิ ตั ร
10.1 ตไู้ ปรษณยี ์
10.2 อัจฉรยิ ะ
10.3 แจ้งเตอื น
10.4 ไลน์
11. เอกสารอา้ งองิ ของการวจิ ัย
1. เจษฎา พบิ รู ณ์ และคณะ (2559) เครอ่ื งตู้จดหมายแจง้ เตอื นผ่าน Line สบื คน้
เมอื่ 4 กรกฎาคม 2564 ,จาก http://thaiinvention.net/detail
2. เฉลิมศักด์ิ อรณุ โรจนป์ ัญญา และคณะ (2557) ตไู้ ปรษณีย์อัจฉริยะ สบื คน้ เม่อื 4
กรกฎาคม 2564 ,จาก http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/.pdf
38
3. ณฐั พชั ญ์ ศรีราจนั ทร์ และคณะ (2562) การพัฒนาระบบแจ้งเตือนการโจกรรม
ด้วยเซนเซอร์การตรวจจับส่นั สะเทอื นบนเทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ นต็ สรรพสง่ิ สบื ค้น
เมือ่ 4 กรกฎาคม 2564 ,จาก file:///C:/Users/Admin/Downloads/195708-
Article%20Text-715936-1-10-20191011.pdf
4. ธนชั เทพแสง และคณะ (2558) ตู้รับจดหมายไฮเทค สบื ค้นเมือ่ 4 กรกฎาคม
2564 ,จาก
http://www.technictani.ac.th/ptc4/images/sampledata/pdf/.pdf
5. สามเณร สวุ พรี ์ สมฤทธิ์ และคณะ (2563) ตูไ้ ปรษณียแ์ จง้ เตอื นผา่ น Line
สบื ค้น เมื่อ 16 มิถนุ ายน 2564 ,จาก https://www.princess-it-
foundation.org/project/wp-content/uploads/.pdf
12. ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั
12.1 ไดต้ ้ไู ปรษณียอ์ จั ฉริยะแจ้งเตอื นทางไลน์
12.2 ไดค้ วามพึงพอใจของนกั ศกึ ษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพปที ่ี 3 หอ้ ง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ัล วิทยาลยั เทคนิคระยอง ที่มตี ่อตู้ไปรษณยี ์
อัจฉริยะแจง้ เตอื นทางไลน์ อยใู่ นระดับดี
12.3 ไดเ้ ผยแพรผ่ ่านโครงการประกวดโครงการวิชาชีพ ชมรมวชิ าชีพเทคโนโลยี
ธรุ กจิ ดจิ ิทลั วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
13. แผนการถา่ ยทอดเทคโนโลยีหรอื ผลการวิจยั สกู่ ลุม่ เป้าหมาย
13.1 ได้การแจง้ เตอื นเข้าทางไลน์
13.2 นำต้ไู ปรษณยี ไ์ ปทดสอบประสทิ ธิภาพกบั ผูใ้ ช้งาน
13.3 รวบรวมขอ้ มูลมาพัฒนาและปรับปรงุ
13.4 นำตไู้ ปรษณียม์ าทดสอบประสิทธภิ าพอีกครัง้
13.5 จัดทำรปู เลม่ วจิ ยั และแผ่นประชาสมั พนั ธ์
39
14. วธิ กี ารดำเนนิ การวจิ ยั และสถานที่ทำการทดลอง/เก็บข้อมูล
14.1 สถานที่ในการทดลองและวจิ ัย คือ วิทยาลัยเทคนคิ ระยอง
14.2 กลุ่มเปา้ หมาย คอื นกั ศึกษาระดับประกาศนียบตั รวชิ าชพี ปีท่ี 3 หอ้ ง 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กิจดจิ ทิ ัล วิทยาลัยเทคนิคระยอง ทั้งหมด 20 คน
14.3 เครอื่ งมือในการวจิ ัย ประกอบไปด้วยดงั น้ี
14.3.1 แอพพลเิ คชัน่ Line Notify
14.3.2 โปรแกรม Arduino
14.3.3 ตไู้ ปรษณยี ท์ ี่มเี ซนเซอรว์ ตั ถุคอยตรวจจบั
14.4 การรวบรวมเก็บขอ้ มูล คือ
14.4.1 เกบ็ รวบรวมข้อมลู ประสิทธภิ าพในการทดลอง
14.4.2 เกบ็ รวบรวมความพงึ พอใจของผทู้ ดลอง
14.5 วเิ คราะห์ข้อมลู
ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมจะดำเนินการแปลความของค่าเฉลี่ยในแต่ละ
ด้าน โดยใช้เกณฑ์การประเมนิ แบง่ ออกเป็น 5 ระดับ ดังน้ี
4.50 - 5.00 หมายถึง ดมี าก
3.50 - 4.49 หมายถงึ ดี
2.50 - 3.49 หมายถงึ ปานกลาง
1.50 - 2.49 หมายถงึ พอใช้
1.00 - 1.49 หมายถงึ ปรบั ปรุง
14.6 สถิตทิ ี่ใช้
14.6.1 คา่ เฉลยี่
̅ = ∑
โดยที่
̅ คอื คา่ เฉลี่ย
∑ คือ ผลรวมของคะแนนท้งั หมด
คอื จำนวนทงั้ หมด
40
14.6.2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
. . = √ ∑ 2−(∑ )2
( −1)
โดยที่
S. D. คือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
∑ คอื ผลรวมท้ังหมดของคะแนน
∑ 2คือ ผลรวมของคะแนนยกกำลังสองท้งั หมด
คือ จำนวนทัง้ หมด
15. ระยะเวลาทำการวิจัยและแผนการดำเนนิ งานตลอดการวจิ ัย
เดือนมถิ นุ ายน 2564 ถงึ เดอื นกันยายน 2564
16. ปจั จัยทีเ่ อ้ือตอ่ การวจิ ัย (ถา้ มี)
16.1 โทรศพั ท์มือถอื สมารท์ โฟน
16.2 คอมพิวเตอร์
17. งบประมาณของการวิจยั
17.1 งบประมาณทงั้ หมด 504 บาท
17.2 รายละเอยี ดงบประมาณค่าใช้จ่าย
รายละเอยี ดงบประมาณการวิจยั จำแนกตามงบประเภทต่าง ๆ (ปงี บประมาณทีเ่ สนอขอ)
รายการ จำนวนเงิน หมายเหตุ
1..งบบุคลากร --
คา่ จา้ งชว่ั คราว --
2. งบดำเนนิ การ --
2.1 คา่ ตอบแทน ใชส้ อยและวสั ดุ --
2.1.1 คา่ ตอบแทน เช่น คา่ ตอบแทนปฏิบตั งิ านนอกเวลา - -
ราชการ คา่ เบ้ยี เลี้ยงประชมุ กรรมการฯลฯ
2.1.2 คา่ ใชส้ อย เช่น --
1)..คา่ เบ้ยี เลย้ี ง ค่าเชา่ ท่ีพัก ค่าพาหนะ --
2) คา่ จา้ งเหมาบรกิ าร 157 -
3) ค่าใชจ้ ่ายในการสัมมนาและฝึกอบรม --
4) ค่าใชส้ อยอื่นๆ --
41
รายการ จำนวนเงนิ หมายเหตุ
2.1.3 คา่ วสั ดุ เชน่ - -
156 -
1)..วัสดุสำนกั งาน 39 -
2) วัสดุเชือ้ เพลิงและหลอ่ ล่นื 238 -
3) วัสดไุ ฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ - -
4) วสั ดุโฆษณาและเผยแพร่ - -
5) วสั ดหุ นงั สือ วารสารและตำรา - -
6) วสั ดคุ อมพิวเตอร์ - -
7) วัสดอุ ื่น ๆ -
2.2 ค่าสาธารณูปโภค เช่น
ค่าไฟฟา้ ค่านำ้ ประปา คา่ โทรศพั ท์ ค่าไปรษณยี ์ --
คา่ บรกิ ารดา้ นส่ือสารและโทรคมนาคม
3...งบลงทนุ --
คา่ ครภุ ัณฑ์ --
590 -
รวมงบประมาณทเี่ สนอขอ
18. ผลสำเร็จและความคุม้ ค่าของโครงการวจิ ยั ท่คี าดว่าจะได้รบั
18.1 ไดต้ ไู้ ปรษณียอ์ จั ฉรยิ ะแจง้ เตือนทางไลน์ทสี่ ามารถใช้งานได้จริง
18.2 การแจ้งเตอื นทางไลน์ทำใหเ้ กดิ ความสะดวกแก่ผ้ใู ช้งานตไู้ ปรษณยี ์
18.3 ไดเ้ ผยแพร่ผ่านโครงการประกวดโครงการวชิ าชีพ ชมรมวชิ าชีพเทคโนโลยี
ธุรกจิ ดจิ ิทัล วทิ ยาลัยเทคนิคระยอง
19. โครงการวิจยั นหี้ รอื สว่ นใดสว่ นหนงึ่ หรืองานวจิ ยั สบื เนอ่ื งจากนี้
ได้ย่ืนเสนอขอรบั ทุนหรอื ไดร้ ับการสนับสนนุ จากแหล่งทนุ อืน่ หรอื ไม่
ไมไ่ ด้ยนื่ เสนอขอรบั ทนุ
ยื่นเสนอ โปรดระบุแหล่งทุน …………………....................……………......………………
( ) ไดร้ บั การสนบั สนุน จาก…….....……ชื่อโครงการ…………...............................
( ) ไมไ่ ดร้ ับการสนบั สนนุ
( ) ยงั ไมท่ ราบผลการพิจารณา
42
20. โครงการวจิ ยั น้มี กี ารใชส้ ่ิงมชี ีวิตทมี่ ีการดัดแปลงทางพนั ธุกรรมหรอื ไม่
มี ไมม่ ี
21. คำชแี้ จงอน่ื ๆ (ถ้ามี)
...............…………………...……………………………………………………………….…………………
22. ลงชื่อหัวหน้าทมี วิจยั (นักศกึ ษา)
(ลงชอ่ื ).....................................................
(นางสาววษณพร อนิ ทสุวรรณ)
วันท่ี........ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
23. ลงช่อื ครูท่ปี รกึ ษางานวิจัย
(ลงชื่อ).....................................................
(นางสาวอัจฉราภรณ์ เกลี้ยงพรอ้ ม)
วนั ท.ี่ ....... เดอื น กรกฎาคม พ.ศ. 2564
24. คำรบั รองของหวั หนา้ สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล
(ลงช่อื ).....................................................
(นายอุทัย ศรษี ะนอก)
วันที่........ เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564
43
ส่วน ค : ประวัตคิ ณะผวู้ ิจัย
นกั เรยี น นักศกึ ษา
1. ช่ือ - นามสกลุ (ภาษาไทย) นางสาววษณพร อินทสวุ รรณ
Name – Surname (ภาษาองั กฤษ) Miss Wasanaporn Intasuwan
2. เลขหมายบตั รประจำตวั ประชาชน 1-2199-00819-54-0
3. ระดบั การศกึ ษา ปวช. ชน้ั ปีที่ .................... ปวส. ช้นั ปีท่ี 2/2
สาขาวิชา เทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจิทัล สาขางาน เทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั
ระยะเวลาท่ีใช้ทำวิจัย เดอื นมถิ นุ ายน ถงึ เดอื นกันยายน
4. ที่อยู่ทีต่ ิดตอ่ ได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ และไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์
ท่ีอยู่ 207/16 หมทู่ ่ี 2 ตำบล เพ อำเภอ เมอื งระยอง จงั หวัด ระยอง 21160
หมายเลขโทรศัพท์ 092-678-0028
(e-mail) [email protected]
1. ชอื่ - นามสกลุ (ภาษาไทย) นางสาวญาณิศา โพธแิ์ กว้
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Miss Yanisa Phokaew
2. เลขหมายบัตรประจำตวั ประชาชน 1-2198-00355-08-8
3. ระดบั การศึกษา ปวช. ช้ันปีที่ .................... ปวส. ชนั้ ปีที่ 2/2
สาขาวชิ า เทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทลั สาขางาน เทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั
ระยะเวลาทใ่ี ช้ทำวิจยั เดอื นมถิ ุนายน ถึง เดือนกันยายน
4. ท่ีอยทู่ ี่ตดิ ต่อได้สะดวก พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ และไปรษณียอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 45 หมู่ที่ 6 ตำบล ชำฆ้อ อำเภอ เมอื งระยอง จังหวัด ระยอง
21110 หมายเลขโทรศัพท์ 098-779-0881
(e-mail) [email protected]
ประวตั คิ รทู ีป่ รกึ ษา
1. ชอ่ื - นามสกุล (ภาษาไทย) นางสาวพณั ณ์ชิตา คำมะฤทธส์ิ ินชัย
Name – Surname (ภาษาอังกฤษ) Miss Panchita Kummaritsinchai
2.ตำแหนง่ ปัจจบุ นั ครูชำนาญการ แผนกวิชา เทคโนโลยธี รุ กจิ ดจิ ทิ ลั
3. หนว่ ยงานและสถานทอ่ี ยทู่ ่ตี ิดตอ่ ไดส้ ะดวก พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์
แผนกวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิทลั วิทยาลยั เทคนิคระยอง ทอี่ ยู่ 086/13 ถนน ตากสนิ
มหาราช ตำบล ทา่ ประดู่ อำเภอ เมืองระยอง จังหวัด ระยอง 21000
หมายเลขโทรศพั ท์ 0861584459