โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบเซ็นเซอร์เพื่อความปลอดภัย จัดท าโดย นางสาวมิรันตี สือแม ม.4/10 เลขที่ 34 ครูที่ปรึกษา ครูวฒุิภทัรกลัยา ปี การศึกษา 2566 โรงเรียนบางกะปิ สา นกังานเขตพ ้ ื นท ี่การศ ึ กษามธัยมศ ึ กษาเขต 2
บทคัดย่อ โครงงานน้ีเป็ นการศ ึ กษาเซนเซอร ์ ตรวจจับผูบ ้ ักรุกและแจ ้ งเต ื อนผ่านทาง โทรศัพท์มือถืออัตโนมัติ โดยมีการศึกษาการท างานของเซนเซอร์ตรวจจับความ เคลื่อนไหว เพื่อตรวจจับ ผบูุ้กรุก หร ื อผทู้ี่ไม่หวงัดีที่จะเขา ้ไปภายในที่พกัอาศยัหร ื อ บริเวณพ้ื นที่หวงหา ้ ม ระบบจะมีการแจง ้ เต ื อนอยา่ง รวดเร็วไปยังโทรศัพท์มือถือของ เจ้าของสถานที่ให ้ รับรู้ และสามารถป้ องกนัเหตุร ้ ายไดท ้ นั โครงงานฯ น้ีสามารถนา ไป ติดต้งัตามสถานที่ที่ต ้ องการป้ องการการบุกรุก การลกัขโมย ติดต้งัง่าย อีกท้งัยงัมี ต้นทุนที่ต ่าท าให้ ประหยดัค่าใชจ ้่าย ระบบสามารถใชง ้ านได้จริง มีความถูกต้องและ แม่นยา สูงจากการการศ ึ กษาการทา งานของ ระบบเซนเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว หร ื อเซนเซอร ์ กนัขโมย โดยใช้PIR sensor ซึ่งด้วยเทคโนโลยีในปัจจุบันสามารถ ที่จะ พัฒนาระบบและเพิ่มขีดความสามารถในการทา งาน ให ้ ดียิ่งข้ึ นได ้โดยสามารถศ ึ กษา จากแบบจ าลอง การศ ึ กษาเซนเซอร ์ ตรวจจับผูบ ้ ักรุกและแจ ้ งเต ื อนผ่านทาง โทรศัพท์มือถืออัตโนมัติ และเอกสารโครงงาน
กิตติกรรมประกาศ โครงงานน้ีสา เร ็ จไดด ้ ว ้ ยความกรุณาของครูวุฒิภทัรกลัยา ได้ให้ค าปรึกษาข้อ ช้ีแนะและความช่วยเหล ื อต่าง ๆ ที่เป็ น ประโยชน ์ ต่อโครงงานน้ีทา ให้โครงงาน สามารถด าเนินการได้เป็ นผลส าเร ็ จและลุล่วง ไปได้ด้วยดี ผู้จัดท าขอขอบพระคุณเป็ น อยา่งสูงมา ณ ที่น้ี ขอขอบคุณพ่อและแม่ผปู้ กครองของผูจ ้ ดัทา ที่คอยให ้ ทา ปร ึ กษาในเร ื่องต่าง ๆ และคอยเป็ นกา ลงัใจที่ดีอยเู่สมอ ทา ้ ยสุดน้ีผจู้ ดัทา หวงัเป็ นอยา่งยงิ่วา่ โครงงานฯ น้ีจะเป็ นประโยชน ์ ต่อทุกคนและ ผู้ที่สนใจในการศ ึ กษาต่อยอด และพฒันาใหม ้ีประสิทธิภาพมากยงิ่ข้ึ น ผ ู้จัดทา
สารบัญ เนื้อหา หน้าบทคดัยอ่กกิตติกรรมประกาศ ข บทที่ 1 บทน า 1 ที่มาและความส าคัญ 1 วัตถุประสงค์ สมมุติฐานของการศึกษา ตัวแปรที่ศึกษา 2 ขอบเขตของโครงงาน ประโยชน์ ที่คาดวา่จะไดร้ั บ บทที่2เอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 3 หลักการท างานของบอร์ด ส่วนประกอบของบอร์ ด 4 หลักการท างานของเซ็นเซอร์ PIR 5 หลักการท างานของเครื่อง 6 บทที่ 3 วิธีการด าเนินการโครงงาน 7 วัสดุอุปกรณ์ วิธีการด าเนินงาน บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน 8 ตวั อยา่ง CODE 9 บทที่ 5 สรุปผล อภิปราย และข้อเสนอแนะ 11 สรุปผล อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ 12บรรณานุกรม 13
1 บทที่ 1 บทน า 1.1 ที่มาและความส าคัญของโครงงาน ในปัจจุบนัความปลอดภยัของอาคารที่อยู่อาศยัมีความส าคญัอย่างมากเพราะมีปัญหาการโจรกรรม เกิดข้ึนบ่อยคร้ังจึงมีการนา เทคโนโลยีต่าง ๆ มาใชเ้พื่อช่วยในการรักษาความปลอดภยัเช่น การติดต้งักลอ้ง วงจรปิดและการติดต้งัระบบเตือนภยัดงัน้นัการออกแบบระบบและอุปกรณ์เพื่อแจง้เตือนดา้นความปลอดภยั จะเป็นประโยชน์ต่อสงัคมในปัจจุบนัไดเ้ป็นอยา่งดี จึงมีการน าเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้เพื่อช่วยรักษาความปลอดภัย ทา ให้เกิดแนวความคิดในการน า เทคโนโลยีของเซนเซอร์ในการตรวจจับความเคลื่อนไหว (PIR=Passive Sensor หรือ Motion Sensor) ใช้ ตรวจจับคนบุกรุก ส่งสญัญาณและกส็ ่งขอ้มูลแจง้เตือนไปยงัโทรศพัทม์ ือถือ 1.2 วตัถุประสงค์ 1.2.1เพื่อประยุกต์ใช้บอร์ด PIR=Passive Sensor กบัอุปกรณ์เสริม มาจา ลองอุปกรณ์กนัขโมย 1.2.2เพื่อจดัทา ระบบสญัญาณกนัขโมยเพื่อใชป้ระโยชน์ในการแจง้เตือนเบ้ืองตน้ ใหแ้ก่ประชาชน 1.2.3 เพื่อฝึกการนา กระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาประยกุตใ์ชใ้หเ้กิดประโยชน์ใน ชีวิตประจ าวัน 1.3 สมมุติฐานของการศึกษา ใช้หลักการท างานของเซนเซอร์ตรวจจบัการเคลื่อนไหว ตรวจจบัสิ่งที่เคลื่อนไหวและส่งขอ้มูลผา่น ไมโครคอนโทรลเลอร์ เพื่อเปรียบเทียบต าแหน่งของเซนเซอร์ที่ทา งาน และแจง้เตือนผ่านโทรศพัทม์ ือถือ เพื่อด าเนินการป้องกนัและแกไ้ข
2 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา ตวัแปรตน้ระบบเซ็นเซอร์กนัขโมย ตัวแปรตาม การท างานของเซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ ตัวแปรควบคุม ระยะที่เซ็นเซอร์ตรวจจับวัตถุ 1.5 ขอบเขตของโครงงาน 1.4.1ศึกษาการท างานของเซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว (PIR=Passive Sensor หรือ Motion Sensor) 1.4.2 ระยะเวลาดา เนินการ เริ่มต้งัแต่วนัที่1กุมภาพนัธ์พ.ศ. 2566 สิ้นสุดวนัที่12กุมภาพนัธ์พ.ศ. 2566 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6.1 ทา ใหเ้ขา้ใจเน้ือหาทฤษฎีมากข้ึนและสามารถนา ไปประยกุตใ์ชใ้นชีวิตประจา วนัไดจ้ริง 1.6.2 สามารถป้องกนัการบุกรุกพ้ืนที่ส่วนตวับุกรุกบา้นพกัอาศยัอาคารสถานที่ป้องกนัการลกั ขโมย สิ่งของมีค่าต่าง ๆ 1.6.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และการออกแบบทางวิศวกรรมมาใช้สร้าง เครื่องมือต่าง ๆ
3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง การทา โครงงานน้ีจะตอ้งศึกษาการทา งานของอุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์ต่าง ๆ ให้เขา้ใจอยา่งละเอียด ก่อนที่จะประกอบส่วนต่าง ๆ เขา้ด้วยกนัอุปกรณ์ที่ส าคญัของโครงงานคือ เซนเซอร์ตรวจจบัการ เคลื่อนไหว (PIR=Passive Sensor หรือ Motion Sensor) นอกจากน้นัจะตอ้งสามารถเขียนโปรแกรม ( code ) ควบคุม Tinkercad ระบบตรวจจับการเคลื่อนไหว ให้สามารถท างานได้ตาม วัตถุประสงค์ผู้จัดท าโครงงาน ไดล้า ดบัหวัขอ้เพื่อการศึกษาขอ้มูลต่าง ๆ ดงัน้ี 2.1. หลักการท างานของบอร์ด arduino uno r3 2.2 ส่วนประกอบ arduino uno r3 2.3 หลักการท างานของPIR =Passive Sensor หรือ Motion Sensor 2.4 หลักการท างานของเครื่องระบบเซ็นเซอร์เพื่อความปลอดภัย 2.1หลักการท างานของบอร์ด arduino uno r3 Arduino Uno R3คือบอร์ดทดลอง Arduinoรุ่นหน่ึง ที่ไดร้ับความนิยมมากที่สุด เป็นรุ่นที่แนะนา สา หรับผู้ เริ่มตน้ขอเรียกสั่น ๆ ว่าบอร์ดรุ่น Unoใช้ชิฟ ATmega328P(ข้อมูล DataSheet) มีส่วนประกอบหลกัในการ ใช้งานครบถ้วน ขา Input/Output สงั่ควบคุมอุปกรณ์เพียงพอกบัการใชง้าน UNO R3รองรับการสื่อสารหลัก
4 ครบถว้น ใชง้านไดก้บั โมดูลเซนเซอร์เกือบทุกชนิดที่มีจา หน่าย บอร์ด unoราคาถูก มีขาต่อใชง้านง่าย มี บอร์ดโมดูลShield ที่ออกแบบมาส าหรับรุ่น UNO แค่เสียบก็พร้อมใชง้าน และยงัมีโคด้ตวัอยา่งการใชง้าน ให้ศึกษาเป็ นจ านวนมาก 2.2 ส่วนประกอบ arduino uno r3 1. I/O Port: Digital I/O ต้งัแต่ขา D0 ถึง D13 นอกจากน้ีบางPin จะทา หนา้ที่อื่นๆ เพิ่มเติมดว้ยเช่น Pin0,1 เป็ นขา Tx,Rx Serial, Pin3,5,6,9,10 และ 11 เป็ นขา PWM 2. ICSP Port: Atmega328 เป็ นพอร์ตที่ใช้โปรแกรม Bootloader 3. MCU: Atmega328 เป็ น MCU ที่ใช้บนบอร์ด Arduino 4. I/OPort: นอกจากจะเป็ น Digital I/O แลว้ยงัเปลี่ยนเป็น ช่องรับสญัญาณอนาลอ็ก ต้งัแต่ขา A0-A5 5. Power Port:ไฟเล้ียงของบอร์ดเมื่อตอ้งการจ่ายไฟใหก้บัวงจรภายนอก ประกอบดว้ยขาไฟเล้ียง+3.3 V, +5V, GND, Vin 6. Power Jack:รับไฟจาก Adapter โดยที่แรงดนัอยรู่ะหวา่ง7-12 V 7. MCU:ของ Atmega16U2 เป็ น MCU ที่ท าหน้าที่เป็ น USB to Serial โดย Atmega328 จะติดต่อกบั Computer ผา่น Atmega16U2 8. USB Port: ใชส้า หรับเชื่อมต่อกบ ั Computer เพื่อใช้ในการอับโหลดโปรแกรมเข้า MCU และใช้ จ่ายไฟใหก้บัตวับอร์ด 9. Reset Button: เป็ นปุ่ ม Reset เพื่อเริ่มการทา งานใหม่ 10. ICSP Port:ของ Atmega16U2 เป็ นพอร์ตที่ใช้โปรแกรม Visual Com port บน Atmega16U2
5 2.3 หลักการท างานของ PIR = Passive Sensor หรือ Motion Sensor PIR, ยอ่จากเซ็นเซอร์อินฟราเรดแบบพาสซีฟ, ใช้เทคโนโลยีอินฟราเรดเพื่อจดจ าภาพอินฟราเรดของ พ้ืนที่โดยรอบและหากมีการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการเคลื่อนไหว, มันจะสังเกตเห็น. เซ็นเซอร์อินฟราเรดเป็ นเซ็นเซอร์อินฟราเรดชนิดหนึ่ง, ที่สามารถใช้ชิปเทคโนโลยีอินฟราเรดและ อิมิตเตอร์เพื่อตรวจสอบวา่แสงที่อิมิตเตอร์ปล่อยออกมาน้นัมาจากวตัถุหรือคน. ความแตกต่างที่สา คญั ไดแ้ก่: แสงที่ปล่อยออกมาจากเครื่องส่งสญัญาณที่เซ็นเซอร์อินฟราเรดตรวจพบน้นัมาจากวตัถุหรือคน.อยา่งไร กต็าม, เซ็นเซอร์ PIR ได้รับการตัดสินโดยการตรวจจับความแปรผันของระดับพลังงานรอบโซน. หากติดต้งัเซ็นเซอร์PIR ในสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง, มันสามารถท าการตัดสินที่ผิดพลาดโดย อตัโนมตัิเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในการไหลของอากาศ.อยา่งไรกต็าม, ต้องติดต้งัเซ็นเซอร์อินฟราเรด เพื่อการเคลื่อนไหว. โดยทวั่ ไปแลว้เซ็นเซอร์อินฟราเรดจะติดต้งัอยทู่ ี่ดา้นนอกของทรัพยส์ิน, ขณะติดต้งัเซ็นเซอร์PIR ที่ด้าน ในของอุปกรณ์. ต่างจากเซ็นเซอร์อินฟราเรดที่ปล่อยอินฟราเรด, เซ็นเซอร์ PIR ไม่ปล่อยอินฟราเรดจริง ๆ, มันคือวัตถุที่ ปล่อยอินฟราเรดไปยงัเซ็นเซอร์.
6 2.4 หลักการท างานของเครื่องระบบเซ็นเซอร์เพื่อความปลอดภัย 1. เซนเซอร์ถูกกระตุ้นโดยผู้บุกรุกเมื่อเปิ ดระบบ –เซนเซอร์ตรวจจบัความเคลื่อนไหว: ตรวจจบัเมื่อผบูุ้กรุกเขา้มาในพ้นืที่ตรวจจบั –เซนเซอร์PIR : ตรวจจับเมื่อล าแสงอินฟราเรดที่ปล่อยออกมาจากเครื่องส่งสญัญาณถูกปิดก้นั 2. ส่งการแจง้เตือนไปยงัแผงควบคุม อุปกรณ์ท้งัหมดเชื่อมต่อกบัแผงควบคุมโดยใชส้ายหรือไร้สายและเมื่อ เซนเซอร์ถูกกระตุ้นแผงควบคุมจะรับรู้ 3. ส่งการแจง้เตือนไปยงัที่อยรู่ายงาน ระบบส่งการแจง้เตือนไปยงัที่อยกู่ารรายงานที่ต้งัไวล้่วงหนา้ (การโทร, อีเมล, SMS, ศูนย์ตรวจสอบ ฯลฯ .. ) ในปัจจุบนัยงัสามารถรับขอ้มูลไดด้ว้ยแอปผา่นสมาร์ทโฟน
7 บทที่ 3 วิธีการด าเนินการโครงงาน 3.1 วัสดุและอุปกรณ์ 3.3.1 บอร์ดไมโครคอนเทรลเลอร์ arduino uno r3 3.3.2 หลอดไฟ 3.3.3 ปลกั๊ไฟ 3.3.4 Module relay 5v 3.3.5 สายจมั๊เปอร์ 3.3.6 สายเสียบ USB 3.3.7เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหว(PIR Sensor หรือ Motion Sensor ) 3.3.8โทรศัพท์มือถือ 3.2 วิธีการด าเนินงาน 3.2.1วางแผน และเตรียมอุปกรณ์ท าโครงงาน 3.2.2เขียน code เซ็นเซอร์ตรวจจับความเคลื่อนไหวแจง้เตือนผา่นโทรศพัทโ์ดยโปรแกรม Tinkercad 3.2.3 ต่อวงจรอุปกรณ์ต่าง ๆ 3.2.4ออกแบบบ้าน และท าบ้านจ าลอง 3.2.5 ประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ลงบนบา้นจา ลองและนา ไปทดสอบ 3.2.6จัดท าโครงงาน และน าเสนอโครงงาน
8 บทที่ 4 ผลการด าเนินงาน การสร้างและพัฒนาระบบแจ้งเตือนความปลอดภัยภายในบ้านผ่านทาง เอสเอ็มเอส (SMS) เรียบร้อยแลว้ลา ดบัต่อไปคือการทดสอบการใชง้านระบบแจง้เตือนความปลอดภยัภายในบา้นผา่นทาง เอส เอ็มเอส (SMS) โดยทางผจู้ดัทา ไดด้า เนินการทดสอบการใชง้านโดยมีรายละเอียดซ่ึงจะไดก้ล่าวในบทน้ี 4.1 การทดสอบตัวอุปกรณ์อเิลก็ทรอนิกส์ ข้นัตอนการทดสอบตวัอุปกรณ์อิเลก็ทรอนิกส์มีดงัน้ี 4.1.1 เขียนโปรแกรมควบคุมอุปกรณ์การท างานเซนเซอร์กันขโมย ทดลองกับบอร์ดและ ตัวเซนเซอร์( PIR ) 4.1.2 การน าเซนเซอร์ไปติดต้งัทดสอบทางเขา้ประตูปรากฏว่าเซนเซอร์ตรวจจับการเคลื่อนไหว ท างานได้ดี ได้ระยะ ที่เหมาะสม 3-6 เมตร 4.1.3 เมื่อมีการเคลื่อนไหวในทางเขา้ประตูและเซนเซอร์ตรวจพบวตัถุเซนเซอร์จะส่งสัญญานไปที่ บอร์ด arduino เป็ นสัญญาน led ไฟสีเขียว
9 ตัวอย่าง CODE int ledPin= 13; int inputPin= 3; voidsetup(){ pinMode(ledPin, OUTPUT); pinMode(inputPin, INPUT); } void loop(){ int value=digitalRead(inputPin); if (value== HIGH) { digitalWrite(ledPin, HIGH); delay(1000) ; } else { digitalWrite(ledPin, LOW); delay(1000) ; }
10 4.2 ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพเครื่องเซนเซอร์กันขโมยแจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือ ตารางแสดงจา นวนคร้ังทดลองเครื่องเซนเซอร์กนัขโมยแจง้เตือนผา่นโทรศพัทม์ ือถือ จ านวนครั้ง ผลการทดลอง 1 ทดลองเขียนโปรแกรมให้เซนเซอร์แจ้งเตือนเมื่อตรวจจับ ความเคลื่อนไหวแต่ผลปรากฎวา่ เซนเซอร์ไม่ทา งาน ทางเราจึงตรวจหาปัญหาเพื่อที่จะไดแ้กไ้ขจึงคาดวา่ โปรแกรม ผดิพลาด (จึงทดลองแกไ้ขโปรแกรม) 2 หลงัจากแกไ้ขโปรแกรมควบคุมเซนเซอร์ปรากฎวา่เซนเซอร์ท างานเมื่อตรวจจับความ เคลื่อนไหวจากน้นัจึงใหส้ ่งสญัญาน แต่ปรากฏวา่ ไม่ทา งาน ปัญหาเกิดจากอุปกรณ์ชา รุดไม่ ท างาน เป็นปกติทางเราแกไ้ขโดยการจดัซ้ือเพิ่มเติม อุปกรณ์จึงใช้งานไดต้ามปกติจากน้นั จึงส่งสญัญานใหโ้ทรเข้าโทรศัพท์ที่ไดต้ิดต้งัซิมการ์ดไว 3 ผลการทดลองเป็นไปดว้ยความเรียบร้อยแมว้า่จะเกิด เหตุขัดข้องและอุปสรรคในการท า งานแต่เมื่อทา การ ปรับปรุงแกไ้ขแลว้เครื่องเซนเซอร์กนัขโมยแจง้เตือนผา่น โทรศพัทม์ ือถือถือวา่ ใชง้านไดด้ี จากตารางขา้งตน้พบว่าเมื่อทดลองเขียนโปรแกรมให้เซนเซอร์ตรวจจบัความเคลื่อนไหวน้ัน เซนเซอร์ เกิดความผิดพลาด เราจึงปรับปรุงแกไ้ขเซนเซอร์จึงใชง้านไดต้ามปกติสรุปไดว้่าท้งัโปรมแกรม และตวัชิ้นงาน ทุกส่วนมีความสา คญัต่อผลงานชิ้นน้ีดงัน้นัแมว้่าจะเกิดเหตุขัดข้องและอุปสรรค ในการ ท างานแต่เมื่อทา การปรับปรุงแกไ้ขแลว้เครื่องเซนเซอร์กนัขโมยแจง้เตือนผา่นโทรศพัทม์ ือถือถือว่าใชง้าน ได้ดี
11 บทที่ 5 สรุป อภปิรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผล 5.1.1 โครงงานระบบเซ็นเซอร์เพื่อความปลอดภัย แจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือได้มีลักษณะเด่น คือ 1. มีคุณลักษณะการใช้งานที่ง่าย 2. สามารถเพิ่มความปลอดภัยจากการบุกรุก 3. สามารถน าไปติดตั ้งใช้งานได้จริง 5.1.2 การทดสอบประสิทธิภาพโครงงานระบบเซ็นเซอร์เพื่อความปลอดภัย แจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือโดย การทดสอบ ประสิทธิภาพ พบว่าการท างานของอุปกรณ์ต่างๆในโครงงานเซนเซอร์เพื่อความปลอดภัยแจ้งเตือนผ่าน โทรศัพท์มือถือ มีดังนี ้ ครั ้งที่ 1 ทดลองเขียนโปรแกรมให้เซนเซอร์แจ้งเตือนเมื่อตรวจจับความเคลื่อนไหวแต่ผลปรากฎว่า เซนเซอร์ไม่ ท างาน จึงตรวจหาปัญหาเพื่อที่จะได้แก้ไข จึงคาดว่าโปรแกรมผิดพลาด (จึงทดลองแก้ไข โปรแกรม) ครั ้งที่ 2 ผลการทดลองเป็นไปด้วยความเรียบร้อย แม้ว่าจะเกิดเหตุขัดข้องและอุปสรรค ในการท างานแต่เมื่อท า การปรับปรุงแก้ไขแล้ว เครื่องเซนเซอร์กันขโมยแจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือ ถือว่าใช้งานได้ดี 5.2 อภิปรายผล โครงงานเซนเซอร์เพื่อความปลอดภัย แจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือ เพื่อที่ต้องการจะทา ให้ เซนเซอร์ กนัขโมยทา การแจง้เตือนผา่นทางโทรศพัทม์ ือถือได้โดยผลลพัธ์ของสิ่งประดิษฐ์น้ีเราสามารถรู้ ไดว้า่มีบุคคล หรือสิ่งมีชีวิต ไดผ้า่นเขา้มายงัจุดที่เราไดต้ิดต้งัเซนเซอร์ไวห้รือไม่โดยอุปกรณ์เซนเซอร์จะทา หน้าที่เฝ้าระวัง แทนเรา เมื่อมีคนผา่นเขา้มาอุปกรณ์จะส่งสัญญาณแจ้งเตือนมาทางโทรศัพท์เพื่อให้เราได้ รับรู้และสามารถ ด าเนินการแกไ้ข หรือป้องกนัเหตุร้ายไดท้นั ที
12 5.3 ข้อเสนอแนะ 1. การติดตั ้งอุปกรณ์แต่ละขั ้นตอนควรท าด้วยความระมัดระวัง 2. ขั ้นตอนการต่อสายไฟควรสังเกตว่าการต่อสายไฟตรงขั ้วหรือไม่
13 บรรณานุกรม 1. https://www.ai-corporation.net 2. https://www.mokolora.com 3. https://www.jlhome.in.th 4. https://optex-asean.com 5. http://www.tklrobot.com 6. https://www.cybertice.com 7. https://elecschool.navy.mi.th เนื่องจากเราไม่ไดท้า การทดลองและประดิษฐ์เราจึงนา ขอ้มูลของเวบ็ไซตน์ ้ีใน บทที่34และ5 มา ใส่ในโครงงาน