ถ่นิ กำเนิดของชนชำติไทย
เรียนสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
ขนุ วจิ ิตรมาตรา (สงา่ กาญจนาคพันธ)ุ์
เรยี นสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
1. แนวคดิ ทเี่ ชื่อวำ่ ถนิ่ เดมิ ของคนไทยอยแู่ ถบเทอื กเขำอลั ไต
เป็นควำมเชื่อของขนุ วจิ ติ รมำตรำ (สง่ำ กำญจนำคพนั ธ)ุ์
ในหนังสอื ช่ือ “หลักไทย” ปัจจุบันแนวคิดน้ีไดร้ บั กำรพสิ จู นว์ ำ่ ไมเ่ ปน็ จรงิ
เพรำะบริเวณเทอื กเขำอลั ไตมอี ำกำศหนำวจดั พน้ื ทท่ี รุ กนั ดำร และเป็นท่ี
ทะเลทรำย จึงไมเ่ หมำะสมแกก่ ำรตง้ั ถ่นิ ฐำน
นอกจำกน้ี จำกหลกั ฐำนทำงวิชำกำรพบว่ำมบี รเิ วณเทอื กเขำอลั ไต
ไม่มหี ลักฐำนใดเกย่ี วขอ้ งกับคนไทย และไมม่ ีหลกั ฐำนใดแสดงวำ่
มีกำรอพยพ
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ศาสตราจารย์ โวลเฟรม อเี บอรฮ์ าร์ด
(Wolfram Eberhard) ชาวเยอรมัน
เรียนสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
2. แนวคดิ ทเ่ี ช่อื วำ่ ถ่นิ เดมิ ของคนไทยอยู่แถบตอนใต้
และตะวนั ออกเฉยี งใตข้ องประเทศจนี
มีนกั วชิ ำกำรชำวต่ำงประเทศและไทยใหก้ ำรสนบั สนุนหลำยทำ่ น ดงั นี้
2.1 ศำสตรำจำรย์ โวลเฟรม อเี บอรฮำรด์
(Wolfram Eberhard) นักสังคมวทิ ยำและมำนษุ ยวิทยำ
ชำวเยอรมัน ได้เสนอแนวคดิ น้ีไวใ้ นหนงั สอื ควำมคดิ นไ้ี วใ้ นหนังสือ
A History of China (พิมพเ์ มอื่ พ.ศ. 2499) ว่ำ…….
คนไทยอยบู่ ริเวณมณฑล
กวำงตงุ้ ตอ่ มำอพยพสยู่ ูนนำน
และดนิ แดนอำ่ วตงั เกยี๋
สร้ำงอำณำจกั รแถนหรือเทยี น
(Tian) ท่ียนู นำน เวลำนน้ั
ตรงกบั สมยั รำชวงศฮ์ นั่ ตอ่ มำ
รำชวงศถ์ งั ชนเผำ่ ไทยสถำปนำ
อำณำจกั รนำ่ นเจำ้ ขน้ึ ที่ยูนนำน
เรียนสงั คมศึกษากับ Kunkru P’Nut
2.2 ศำสตรำจำรย์แตเรยี ง เดอ ลำ คูเปอรี
(Terrian de La Couperie) ชำวฝรัง่ เศสเสนอควำมคดิ เห็น
ไว้ในงำนชือ่ The Cradle of thr Shan Rane (พ.ศ. 2428)
วำ่ คนเชอ้ื ชำตไิ ทยไดต้ งั้ อำณำจกั รอยใู่ นจนี มำก่อน จีนเรยี กวำ่ พวกมงุ
หรอื ต้ำมงุ ซ่ึงอยู่ในเขตมณฑลเสฉวนปจั จบุ นั
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ศาสตราจารย์ ดร. วลิ เลียม เจ. เกด็ นยี ์
(Dr. William Gedney) ชาวอเมริกัน
เรยี นสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
2.3 ศำสตรำจำรย์ ดร. วลิ เลยี ม เจ. เกด็ นีย์
(Dr. William Gedney) ได้เสนอแนวคดิ ทไ่ี ดร้ บั กำรยกยอ่ ง
อยำ่ งกวำ้ งขวำงมำกกวำ่ แนวคิดอืน่ ๆ โดยมเี หตผุ ลวำ่ ปจั จุบนั
บรเิ วณจนี ตอนใตแ้ ถบมณฑลกวำงต้งุ กวำงสี ยนู นำน กยุ้ โจว
และเสฉวน ยังคงมชี นเผำ่ เช่น พวกไต พวกจว้ ง ท่ีมีรปู รำ่ ง
หน้ำตำ ผวิ พรรณ ภำษำ วฒั นธรรมกำรกนิ อยู่ และกำรแตง่ กำย
คล้ำยคลงึ กบั คนไทย โดยเฉพำะคนภำคเหนือและอสี ำน รวมถึง
มวี ฒั นธรรมกำรดำรงชวี ติ คลำ้ ยกัน
เรยี นสังคมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
บรเิ วณจนี ตอนใตแ้ ถบมณฑล เช่น กำรตั้งบำ้ นเรอื นอยตู่ ำมทรี่ ำบลุ่ม
แมน่ ้ำ ทำกำรเพำะปลูก โดยเฉพำะปลกู
กวำงตงุ้ กวำงสี ยนู นำน ข้ำว สร้ำงบ้ำนใตถ้ ุนสงู กำรสักตำมรำ่ งกำย
กุ้ยโจว และเสฉวน นอกจำกนั้นหลกั ฐำนทำงภำษำศำสตร์
อันเปน็ ผลงำนจำกกำรศึกษำค้นคว้ำ
ยงั ก่อให้เกิดทฤษฎีภำษำถนิ่ แนวคิดจำก
ทฤษฎนี เ้ี หน็ วำ่ ถนิ่ เดิมของไทยนำ่ จะ
อยู่บรเิ วณกวำงสขี องจีน ตดิ กบั เมอื งแถง
ของเวยี ดนำม
เรียนสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ
เรียนสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
2.4 สมเดจ็ พระเจ้ำบรมวงศเ์ ธอ กรมพระยำดำรงรำชำนุภำพ
ผไู้ ดร้ บั กำรยกย่องเปน็ บดิ ำแห่งวิชำประวตั ศิ ำสตร์และโบรำณคดขี องไทย
ได้ทรงแสดงควำมคิดเหน็ ไว้ในพระนิพนธเ์ ร่ือง “แสดงบรรยำยพงศำวดำร
สยำม” และพระนิพนธอ์ ธิบำย “พระรำชพงศำวดำรกรุงศรีอยุธยำ
ฉบบั พระรำชหตั ถเลขำ” สรุปไดว้ ำ่ ถนิ่ เดมิ ของไทยอยใู่ นเขตจนี ตอนใต้
ต้ังแตแ่ ม่น้ำแยงซีทำงมณฑลเสฉวน ตอ่ มำอพยพมำอยูท่ มี่ ณฑล
ยนู นำน จำกนนั้ จงึ กระจำยไปยังบรเิ วณเมอื งเงยี้ ว ฉำน สิบสองจุไท
ล้ำนนำ และล้ำนชำ้ ง
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
สรปุ ไดว้ ำ่ ถนิ่ เดมิ ของไทยอยใู่ น
เขตจนี ตอนใต้ ต้งั แต่แม่น้ำ
แยงซีทำงมณฑลเสฉวน
ตอ่ มำอพยพมำอยทู่ ม่ี ณฑล
ยูนนำน
เรียนสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ศาสตราจารย์ขจร สุขพานชิ
เรียนสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
2.5 ศำสตรำจำรยข์ จร สุขพำนิช แสดงควำมคดิ เห็นในบทควำมเรอ่ื ง
ถนิ่ กำเนิดและกำรอพยพของเผ่ำไทย(พ.ศ. 2514) และถน่ิ กำเนดิ ใน
ประวัติศำสตรข์ องชำติไทย (พ.ศ. 2521) ว่ำ ถิน่ กำเนดิ ของคนไทยอยทู่ ำง
ตอนใตข้ องจีน บรเิ วณมณฑลกวำงตงุ้ กวำงสี รำว 500 ปีกอ่ นพทุ ธศกั รำช
และไดอ้ พยพตัง้ ถนิ่ ฐำนอยู่ทำงตะวนั ตก ต้ังแต่เขตมณฑลเสฉวน และลงใต้
เร่อื ยมำในเขตมณฑลยูนนำน สบิ สองจไุ ท และลำว
เรียนสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
จติ ร ภมู ิศกั ดิ์
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
2.6 จติ ร ภมู ศิ ักดิ์ ได้เสนอควำมคิดเหน็ ไวใ้ นหนังสือ ควำมเป็นมำ
ของคำสยำม ไทย ลำว และขอม และลักษณะทำงสงั คม และเช้ือชำติ
ว่ำ ชนเผำ่ ไทยกระจดั กระจำยในบรเิ วณจนี ตอนใต้ รัฐอัสสมั ของอนิ เดยี
และทำงภำคเหนอื ของพมำ่ ลำว เขมร และไทย
เรยี นสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ชนเผำ่ ไทยกระจดั กระจำย
ในบรเิ วณจนี ตอนใตร้ ฐั อสั สมั
ของอินเดยี และทำงภำคเหนอื
ของพมำ่ ลำว เขมร และไทย
“จติ ร ภูมิศกั ด”ิ์
เรียนสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ศาสตราจารย์นายแพทยส์ ดุ แสงวิเชียร
เรยี นสังคมศึกษากบั Kunkru P’Nut
3. แนวคดิ ทเ่ี ช่ือวำ่ ชนชำตไิ ทยมถี น่ิ กำเนดิ อย่ใู นประเทศไทยปจั จบุ นั
แนวคิดนมี้ นี กั วิชำกำรชำวไทยให้กำรสนบั สนนุ หลำยทำ่ น ดงั นี้
3.1 ศำสตรำจำรย์นำยแพทยส์ ดุ แสงวเิ ชยี ร
ผูเ้ ชีย่ วชำญดำ้ นกำยวิภำคศำสตร์ เชอื่ วำ่ คนไทยอยบู่ นแผ่นดินไทยตง้ั แต่แรก
มีเหตผุ ลสำคญั 2 ประกำร คอื
1) กำรมสี เี มด็ เลอื ดแดงหรอื ฮโี มโกบนิ มำกผดิ ปกติ เรียกวำ่ เปน็ โรค
ประจำตัวของคนไทย ผู้ทเี่ ป็นโรคนม้ี ีกระดูกของใบหน้ำไมเ่ จริญตำมปกติ
ทำใหด้ ง้ั จมูกแฟบลงและคำงบนยื่นออกมำ
เรยี นสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
2) กำรมีประเพณถี อนฟนั หนำ้ และฝนแตง่ ฟันซี่หนำ้ เหน็ ได้จำก
โครงกระดูกมนษุ ยท์ ี่บ้ำนเก่ำ จ.กำญจนบุรี โครงกระดกู ท่ี จ.ลพบุรี
จ.นครปฐม และโครงกระดกู มนษุ ยส์ มยั ทวำรวดี ซง่ึ มอี ำยุตำ่ งกนั
นบั พันปี แตม่ กี ำรถอนฟนั หนำ้ และฝนแต่งฟนั หน้ำเหมือนกัน
เรยี นสังคมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
นายแพทย์ ประเวศ วะสี
เรยี นสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
3.2 นำยแพทย์ ประเวศ วะสี ไดว้ จิ ัยเร่อื งสขี องเมด็ เลือดแดง
หรือฮีโมโกลบนิ อี รว่ มกับคณะวิจัยมหำวทิ ยำลัยขอนแก่น พบวำ่ คนไทย
มีฮโี มโกลบนิ อี เช่นเดยี วกบั คนลำว เขมร พม่ำ มอญ แต่คนจนี
เกอื บไมม่ ฮี โี มโกลบนิ อี อยู่เลย อย่ำงไรก็ตำม นกั วชิ ำกำรปจั จุบนั พบวำ่
กำรทสี่ ีของเม็ดเลอื ดแดงมีเปอรเ์ ซ็นต์สูงเพรำะคนในถนิ่ นั้นมีเชอื้ โรค
มำเลเรีย (ไข้จับสน่ั ) สูง ไม่เกีย่ วกบั เชอื้ ชำติ
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
สจุ ติ ต์ วงษเ์ ทศ
เรยี นสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
3.3 สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ ในหนงั สือเรอ่ื ง “คนไทยอยทู่ ่ีนี่” เสนอว่ำ
คนไทยอย่บู นผืนแผน่ ดินไทยตัง้ แต่แรก ใช้เหตผุ ลด้ำนพฒั นำกำร
ทำงกำรสงั คมและวฒั นธรรมทสี่ บื ทอดกนั มำจำกอดตี จนถึงปจั จบุ นั
อยำ่ งไรก็ตำม ขอ้ เสนอน้ถี ือเปน็ เรื่องของผ้คู นทีส่ บื ทอดกันมำนำน
ไม่ใช่เรื่องเช้อื ชำติ และขอ้ เสนอน้ีไม่มหี ลกั ฐำนอนื่ ทนี่ ่ำเชื่อถอื มำ
สนบั สนุน
ดงั นั้น แนวคดิ ทว่ี ำ่ ถิ่นเดมิ ของคนไทยอยู่บนผนื แผน่ ดนิ ไทย
ปจั จบุ นั จงึ ไมไ่ ดร้ บั กำรยอมรับ
เรยี นสงั คมศึกษากับ Kunkru P’Nut
รธู เบเนดิกต์ (Ruth Benedict)
ชาวอเมรกิ ัน
เรยี นสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
4. แนวคดิ ทเ่ี ช่อื วำ่ เดมิ ของคนไทยอยู่บรเิ วณหมเู่ กำะเส้นศนู ย์สตู ร
ของภมู ภิ ำคเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้
แนวคดิ นี้เปน็ ของนำยแพทย์ สมศกั ดิ์ พันธสุ์ มบญุ
โดยศกึ ษำพบกลมุ่ เลอื ด ยีนและฮโี มโกลบนิ อี ของคนไทยตรงกบั
คนทเี่ กำะชวำมำกกวำ่ ชำวจนี และเปน็ ขอ้ เสนอของรูธ เบเนดกิ ต์
นกั มำนุษยวิทยำชำวอเมริกนั ท่ีเช่อื วำ่ คนไทยสบื เช้อื สำยเดยี วกับ
คนอินโดนีเซียและมลำยู และภำษำไทยเปน็ ตระกลู ออสโตรเนเชยี น
เรียนสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
แต่กำรท่ียังไมพ่ บรอ่ งรอยวฒั นธรรมของคนไทยในดนิ แดนดงั กล่ำว
และเสน้ ทำงกำรอพยพขดั กบั หลักกำรอพยพ เพรำะเป็นกำรอพยพ
จำกท่ีมีควำมอุดมสมบูรณ์มำกกวำ่ ขนึ้ มำยังท่อี ุดมสมบรู ณ์นอ้ ยกว่ำ
และผ้เู สนอควำมคิดเปน็ นักมำนษุ ยวิทยำแตใ่ ช้คำอธบิ ำยทำงภำษำศำสตร์
ทำใหท้ ฤษฎนี ย้ี งั ไมเ่ ปน็ ทเ่ี ช่อื ถือ
เรียนสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut