ภมู ศิ าสตรภ์ าคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
ลักษณะภมู ิศาสตร์ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมีพ้ืนทีป่ ระมาณ 168,854 ตารางกโิ ลเมตร
>>>>เปน็ ภาคทมี่ พี น้ื ทกี่ ว้างมากทสี่ ดุ
ประกอบดว้ ย 20 จังหวัด ไดแ้ ก่ เลย หนองคาย นครพนม อุดรธานี
หนองบัวลาภู สกลนคร ขอนแก่น กาฬสนิ ธุ์ มกุ ดาหาร ชัยภูมิ
มหาสารคาม รอ้ ยเอ็ด ยโสธร อานาจเจรญิ นครราชสมี า บุรรี ัมย์
สุรินทร์ ศรสี ะเกษ อบุ ลราชธานี และ บงึ กาฬ
เรียนสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
ท่ตี งั้ และขอบเขตภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
<<ทศิ เหนือ ติดลาว เหนือสดุ คอื
จ.บึงกาฬ มแี มน่ ้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ
ทศิ ใต้ ตดิ กมั พชู าและภาคตะวันออก>>
ใตส้ ดุ คอื จ.นครราชสมี า มภี เู ขาพนมดงรกั
และสนั กาแพงเปน็ พรมแดนกั้นเขตแดน
เรียนสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
<<ทิศตะวันออก ตดิ ลาว ตะวันออกสดุ
คือ อาเภอโขงเจยี ม จ.อบุ ลราชธานี
มแี มน่ ้าโขงเป็นพรมแดนธรรมชาติ
ทศิ ตะวันตกตดิ ภาคกลาง >>
ตะวนั ตกสดุ คอื จ.เลย มีเทือกเขาเพชรบรู ณ์
และดงพญาเย็นเป็นพรมแดนกน้ั เขตแดน
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
ลักษณะภมู ิประเทศภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
เปน็ ทีร่ าบสงู >>>>เกดิ จากการยกตวั ของแผน่ ดิน 2 ดา้ น
ด้านตะวนั ตกและดา้ นใตข้ องภาค >>>ทาใหม้ ีความลาดเอยี งไปทางตะวันออก
มลี กั ษณะคล้ายกะทะ >>>>แบง่ เปน็ 2 เขตใหญ่ ไดแ้ ก่
1. บรเิ วณแอง่ ทร่ี าบ 2. บรเิ วณเขตภเู ขา
- แอ่งท่ีราบโคราช ภเู ขาทางดา้ นตะวนั ตกของภาค
- แอ่งสกลนคร
เรยี นสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
เรยี นสังคมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
1. บริเวณแอง่ ทร่ี าบ
- แอง่ ทร่ี าบโคราช เกิดขึน้ บริเวณทีร่ าบลุ่มแมน่ ้ามลู และชี >>ลกั ษณะเปน็
ท่ีราบสงู สลับกบั เนนิ เขา
- แอง่ สกลนคร อยู่ทางตอนเหนือของภาคตั้งแต่แนวเขาภูพานไปจนถึง
แมน่ ้าโขง มีแมน่ า้ สงครามและหว้ ยน้าก่าไหลผา่ น
2. บรเิ วณเขตภเู ขา
- ภูเขาทางดา้ นตะวนั ตกของภาค >>>วางตัวแนวเหนอื -ใต้ ได้แก่
ภเู ขาเพชรบรู ณ์ และภเู ขาดงพญาเยน็
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
เทอื กเขาเพชรบรู ณ์>>>>> - ภเู ขาทางตอนใตข้ องภาค ได้แก่ สันกาแพง พนมดงรกั
เรยี นสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
แบง่ ระหวา่ งแอ่งโคราชและแอง่ สกลนคร ไดแ้ ก่ทวิ เขาภพู าน
เรียนสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
แม่นา้ ทส่ี าคญั ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
<<1. แม่นา้ มลู มีความยาวประมาณ 641
กิโลเมตร เปน็ แมน่ า้ สายสาคญั ของอสี าน
ตอนล่าง ต้นน้าอยู่ทีท่ ิวเขาสนั กาแพง
แล้วไหลลงสู่แม่น้าโขงที่ จ.อุบลราชธานี
เทคนคิ การจา <<2. แม่นา้ ชี มีความยาวประมาณ 765
กิโลเมตร **ยาวทส่ี ดุ ในประเทศไทย **
มีตน้ กาเนดิ ทท่ี ิวเขาเพชรบูรณ์ และไหลไป
รวมกับแมน่ า้ มลู ที่ จ.อบุ ลราชธานี
: มูล สนั ไหลสูโ่ ขง / ชี เพชร ไหลรวมมลู
เรยี นสงั คมศึกษากับ Kunkru P’Nut
ลกั ษณะภมู อิ ากาศของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
มีลักษณะแบบทงุ่ หญา้ สะวนั นา (Aw) คือ มีอากาศรอ้ นช้นื
สลบั กบั ฤดแู ลง้ มีฝนตกปานกลาง
- ฤดหู นาว ช่วงเดือนตลุ าคม - กุมภาพันธ์ หนาวเย็นได้รับ
อิทธพิ ลจากลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื อุณหภมู ติ า่ สดุ >>จ.เลย
- ฤดูฝน ชว่ งเดอื นพฤษภาคม - ตลุ าคม >>รบั อิทธิพลจาก
พายุดเี ปรสชนั >>ปรมิ าณน้าฝนมากทส่ี ดุ คอื จ.นครพนม
>>และตกนอ้ ยทสี่ ดุ คอื จ.นครราชสมี า
- ฤดรู อ้ น ชว่ งเดือนกมุ ภาพันธ์ - พฤษภาคม อากาศจะรอ้ น
และแห้งแลง้ มาก เพราะอยู่ไกลจากทะเล >>อณุ หภมู สิ งู สดุ คอื จ.อุดรธานี
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
ปจั จัยทค่ี วบคุมอณุ หภมู ใิ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื
1. ได้รบั อทิ ธพิ ลจากลมมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ>>>ทาให้มี
อากาศหนาวเย็นกว่าภาคอื่น ๆ
2. ลมพายหุ มนุ >>>ส่วนใหญ่เปน็ พายุดเี ปรสชันจากทะเลจีนใต้
จงึ ทาใหม้ ีฝนตกเป็นบริเวณกว้าง
3. ระยะใกลไ้ กลทะเล >>>ทาให้อากาศมคี วามแตกต่างกัน
ระหว่างฤดรู ้อนและฤดูหนาวมาก เน่อื งจากไมม่ ีพืน้ ที่ตดิ ต่อกับทะเล
4. การวางตวั ของภเู ขาดงพญาเยน็ และสนั กาแพง ซ่งึ วางตัวในแนว
เหนอื -ใต้ก้นั ลมฝนจากมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้
เรียนสงั คมศึกษากบั Kunkru P’Nut
ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
1. ทรพั ยากร>>>เป็นดนิ ทรายและขาดธาตุอาหาร ใตด้ ินมีเกลือหิน
ทาใหด้ ินเคม็ และแห้ง ไม่เหมาะในการเพาะปลกู พชื และทานา
เรยี นสงั คมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
2. ทรัพยากรนา้ เนื่องจากภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเปน็ ดินปนทรายไม่สามารถ
อุม้ นา้ >>>ขาดแคลนนา้ เปน็ สาคญั จึงต้องอาศยั การชลประทาน
<< เขอ่ื นสริ นิ ธร (จ.อบุ ลราชธาน)ี
<<เขอื่ นจฬุ าภรณ์ (จ.ชยั ภมู )ิ
เรยี นสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
<<เขอ่ื นอบุ ลรตั น์ (จ.ขอนแกน่ )
<<เขอ่ื นลาปาว (จ.กาฬสนิ ธุ์ )
เรยี นสังคมศกึ ษากับ Kunkru P’Nut
<<เขอ่ื นลาตะคอง (จ.นครราชสมี า)
<<เขอ่ื นลาพระเพลงิ (จ.นครราชสมี า)
เรยี นสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
3. ทรพั ยากรปา่ ไม้ >>> มีปา่ ไมเ้ หลอื น้อยท่สี ดุ สว่ นใหญจ่ ะเป็นป่าไม้ประเภท
ป่าแดง ป่าโคก ป่าแพะ หรือปา่ เตง็ รัง ถดั มาเปน็ ป่าเบญจพรรณและปา่ ทงุ่ เมอื่ เทียบ
กับพืน้ ท่ีภาค
>>>จงั หวดั ท่ีมปี ่าไมม้ ากทีส่ ดุ คือ อุบลราชธานี >>>>และน้อยที่สดุ คอื มหาสารคาม
4. ทรัพยากรแรธ่ าตุ มแี รธ่ าตุนอ้ ยทีส่ ุดเม่ือเทียบกับภาคอื่น ๆ มเี กลือหิน
มากที่สุด แร่ทพี่ บในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ได้แก่
- เหลก็ แมงกานสี ยปิ ซัม >>>เลย
- ทองแดง >>>เลย และหนองคาย
- เกลือหนิ >>>มากสดุ ท่ชี ยั ภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด อบุ ลราชธานี
และยโสธร
- โปแตช >>>ชยั ภมู ิ นครราชสีมา อุดรธานี
- กา๊ ซธรรมชาติ >>>น้าพอง ขอนแก่น
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
กา๊ ซธรรมชาติ >>>อ.น้าพอง จ.ขอนแกน่
ศูนย์ผลติ กา๊ ซธรรมชาติน้าพอง ภายใตบ้ ริษทั เอก็ ซอนโมบิล เอก็ ซโ์ พลเรชน่ั
แอนด์ โพรดักชน่ั โคราชอิงค์ ดาเนินธุรกจิ ผลิตก๊าซธรรมชาตใิ นบรเิ วณ
อ.นา้ พอง จ.ขอนแก่น เพ่อื ปอ้ นโรงผลิตไฟฟา้ ท่จี า่ ยไฟใหก้ ับภาคอสี านตงั้ แต่
ปี พ.ศ. 2522
เรยี นสังคมศึกษากับ Kunkru P’Nut
ประชากรในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
**ประชากรในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมมี ากทส่ี ดุ เปน็ อนั ดบั ท่ีหน่งึ **
จังหวัดทีม่ ปี ระชากรเกนิ 1 ล้านคน ได้แก่ นครราชสมี า อุบลราชธานี
อุดรธานี ขอนแกน่ บรุ ีรัมย์ ศรีสะเกษ สุรนิ ทร์ ร้อยเอด็ ชัยภูมิ สกลนคร
จงั หวดั ที่มปี ระชากรน้อยท่ีสุด>>>มกุ ดาหาร
มีประชากรหนาแน่นท่ีสดุ >>>มหาสารคาม
และมคี วามหนาแน่นเบาบางที่สดุ >>>เลย
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut
กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทส่ี าคญั ของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ
1. การเพาะปลกู >>>มากทส่ี ดุ แต่ผลผลิตต่อไร่ตา่ สุด เน่อื งจาก
ดนิ ไมอ่ ดุ มสมบรู ณ์ เชน่ การปลูกข้าว พชื ไร่ที่สาคญั ไดแ้ ก่ มันสาปะหลงั
อ้อย ขา้ วโพด ปอ ฝา้ ย
2. การเล้ยี งสตั ว์ เป็นภาคทมี่ กี ารเลย้ี งโค กระบอื มากทสี่ ดุ เพราะมี
อากาศและทงุ่ หญา้ ที่อุดมสมบูรณ์
3. อุตสาหกรรม อตุ สาหกรรมท่ีเกดิ จากการแปรรปู ผลผลติ ทาง
การเกษตร เชน่ โรงสี โรงงานน้าตาล โรงทอ ฯลฯ และมอี ตุ สาหกรรม
การท่องเทย่ี วที่เปน็ มรดกทางวัฒนธรรม
4. เกลอื สนิ เธาว์ มแี หลง่ ผลิตอยทู่ จ่ี งั หวดั มหาสารคาม ขอนแกน่
นครราชสมี า
เรยี นสังคมศึกษากบั Kunkru P’Nut
ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ มในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ
1. เกิดปญั หาดินเคม็ ขาดความอุดมสมบรู ณ์
2. ขาดแคลนนา้ มากทสี่ ุด เน่ืองจากดินเปน็ ดนิ ปนทรายไม่อมุ้ นา้
3. การบุกรกุ ป่าไมข้ องประชากรเพื่อใช้เป็นพนื้ ทีใ่ นการเพาะปลูก
หรือเพอื่ การคา้
<<ดนิ เคม็ คอื ดนิ ทมี่ ีเกลือที่ละลายได้
ในสารละลายดนิ ปรมิ าณมาก จน
กระทบตอ่ การเจริญเติบโตและผลผลติ
ของพชื
เรียนสงั คมศกึ ษากบั Kunkru P’Nut