The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by golf_aeaa, 2019-01-17 09:42:01

บทที่-11-การค้าระหว่างประเทศ

รายงาน


เรื่อง การค้าระหว่างประเทศ





เสนอ


อาจารย์วงศ์เดือน พูลสวัสดิ์





จัดท าโดย



นางสาวปิยะพร โอ่งรัมย์ เลขที่ 16


นางสาวศิรินทร์ญา บุญเชื่อม เลขที่ 24


สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ปวส 1 กลุ่มที่ 3





รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาหลักเศรษฐศาสตร์



ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 25561


วิทยาลัยเทคนิคระยอง



ค าน า



ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การซื้อขายสินค้าและ

บริการระหว่างประเทศ ประเทศที่ท าการซื้อขายสินค้าระหว่างกันเรียกว่า “ประเทศคู่ค้า” สินค้าที่แต่ละ

ประเทศซื้อเรียกว่า “สินค้าเข้า” imports และสินค้าที่แต่ละประเทศขายไป เรียกว่า “สินค้าออก”exports
ประเทศที่ซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า “ประเทศผู้น าเข้า” ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้ต่างประเทศ

เรียกว่า “ประเทศผู้ส่งออก” โดยทั่วไปแล้ว แต่ละประเทศจะมีฐานะเป็นทั้งประเทศ ผู้น าสินค้าเข้า และ

ประเทศผู้ส่งสินค้าออกในเวลาเดียวกัน เพราะประเทศต่างๆ มีการผลิตสินค้า แตกต่างกัน ประเทศที่ผลิต

สินค้าได้เกินความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ จะมีสินค้าเหลือก็สามารถส่งออกไปขายหรือ

แลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่นที่ผลิตสินค้าภายในประเทศไม่ได้ หรือต้องใช้ต้นทุนการผลิตที่สูงกว่า แต่

ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ประเทศของตนเอง มีปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ต้นทุนที่ต ่าที่สุด


รายงานฉบับนี้จะส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีได้นั้น ต้องขอขอบคุณ อาจารย์วงศ์เดือน พูลสวัสดิ์ ที่ให้

ค าแนะน าในการท ารายงานฉบับนี้ขึ้น ขอบคุณสมาชิกในกลุ่มที่ช่วยกันสนับสนุนในการท ารายงานฉบับนี้

ด้วยความสามัคคี หากรายงานฉบับนี้มีข้อผิดพลาดหรือบกพร่องประการใดทางคณะผู้จัดท าต้องขออภัยไว้

ณ ที่นี้ด้วย








คณะผู้จัดท า



สารบัญ



หน้า



ค าน า ก

สารบัญ ข


ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ 1

สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ 1

ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ 3


ผลกระทบทางลบจากการค้าระหว่างประเทศ 4


นโยบายการค้าระหว่างประเทศ 4

การลงทุนระหว่างประเทศ 6


การเงินระหว่างประเทศ 7


ดุลการช าระเงิน 8

บรรณานุกรม 9


ประวัติส่วนตัว 10

1


การค้าระหว่างประเทศ



ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ

การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การซื้อขายสินค้าและบริการระหว่างประเทศ ประเทศที่ท าการ

ซื้อขายสินค้าระหว่างกันเรียกว่า “ประเทศคู่ค้า” สินค้าที่แต่ละประเทศซื้อเรียกว่า “สินค้าเข้า” imports และ

สินค้าที่แต่ละประเทศขายไป เรียกว่า “สินค้าออก”exports ประเทศที่ซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า

“ประเทศผู้น าเข้า” ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้ต่างประเทศ เรียกว่า “ประเทศผู้ส่งออก” โดยทั่วไปแล้ว แต่

ละประเทศจะมีฐานะเป็นทั้งประเทศ ผู้น าสินค้าเข้า และ ประเทศผู้ส่งสินค้าออกในเวลาเดียวกัน เพราะ

ประเทศต่างๆ มีการผลิตสินค้า แตกต่างกัน ประเทศที่ผลิตสินค้าได้เกินความต้องการของผู้บริโภค

ภายในประเทศ จะมีสินค้าเหลือก็สามารถส่งออกไปขายหรือแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่นที่ผลิตสินค้า

ภายในประเทศไม่ได้ หรือต้องใช้ต้นทุนการผลิตที่สูงกว่า แต่ละประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ประเทศของ
ตนเอง มีปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมเพื่อให้ได้ต้นทุนที่ต ่าที่สุด























สาเหตุของการค้าระหว่างประเทศ

เหตุผลทางเศรษฐกิจที่ท าให้ประเทศต่างๆ ในโลกท าการค้าขายกันเป็นเพราะว่า ไม่มีประเทศใด

ในโลกสามารถผลิตสินค้าและบริการ ทุกอย่างได้ครบและเพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค

ภายในประเทศ ถึงแม้ว่าบางประเทศจะมีขีดความสามารถผลิตสินค้าได้ทุกอย่าง แต่อาจจะมีต้นทุนการผลิต

ที่สูงกว่าซึ่งไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน การที่แต่ละประเทศผลิตเฉพาะสินค้าที่ตนมีความถนัดหรือมีความ

ได้เปรียบจึงเป็นสิ่งที่คุ้มค่า และเกิดประโยชน์แก่ทุกประเทศร่วมกัน ดังนั้นการค้าระหว่างประเทศจึงเกิดขึ้น

ถือว่าเป็นการแบ่งงานกันท าระหว่างประเทศตามความช านาญของประชาชน ทรัพยากรธรรมชาติและ

ภูมิอากาศในแต่ละประเทศซึ่งเป็นการใช้ทรัพยากรของโลกให้เกิดประสิทธิภาพ

2


สูงสุด รัฐบาลของแต่ละประเทศจะสนับสนุนหรือเลือกใช้ความได้เปรียบ หรือความถนัดในการผลิตสินค้า

และบริการที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับปัจจัยดังนี้

1. ทรัพยากรธรรมชาติ

ความแตกต่างทางด้านทรัพยากรที่ใช้ผลิตในแต่ละประเทศ เนื่องจากแต่ละประเทศมีทรัพยากรหรือ

ปัจจัยการผลิตมากน้อยต่างกัน ประเทศที่มีทรัพยากรอุดมด้วยแร่ธาตุ ต่างๆ อาทิ น ้ามัน แร่เหล็ก ทองแดง

ก๊าซธรรมชาติ ฯลฯ ก็จะท าอุตสาหกรรมเกี่ยวกับแร่ธาตุที่ตนมีอยู่ดังนั้น ประเทศใดที่มี ทรัพยากรชนิดใด

มาก ก็จะผลิตสินค้าที่ใช้ทรัพยากรชนิดนั้นๆ เป็นปัจจัยการผลิตสินค้าออกเพื่อแลกเปลี่ยนกับสินค้าอื่นๆ ที่
ตนต้องการ



2. ลักษณะทางภูมิศาสตร์
ความแตกต่างในเรื่องสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศ เช่น ประเทศที่มีพื้นดินที่อุดมสมบูรณ์

เหมาะสมแก่การเพาะปลูก ก็จะท าการเพาะปลูกตามลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศ เช่นประเทศไทย

ตั้งอยู่ในเขตร้อนและมีฝนชุก สามารถปลูกข้าวเจ้าได้ดีก็จะผลิตข้าวเจ้าเป็นสินค้าออกประเทศที่มีทุ่งหญ้า

อุดมสมบูรณ์ก็จะท าการเลี้ยงสัตว์ส่งเนื้อสัตว์และขนสัตว์เป็นสินค้าออก

3. ความช านาญในการผลิต

ความแตกต่างในเรื่องความช านาญในการผลิต เนื่องจากผู้ผลิตของแต่ละประเทศจะมีความ

ช านาญและเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและ บริการแตกต่างกัน บางประเทศผู้ผลิตมีความรู้ความช านาญ

เป็นพิเศษในการผลิตสินค้า บางชนิด เช่น ประเทศสวิตเซอร์แลนด์มีความรู้ความช านาญในการผลิตนาฬิกา

ประเทศญี่ปุ่นมีความรู้ความช านาญในการผลิตเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ ประเทศเนเธอร์แลนด์มีความรู้ความ

ช านาญในการผลิตเครื่องจักรกลการเกษตร ความแตกต่างของปัจจัยดังกล่าวนี้ผลักดันให้แต่ละประเทศเลือก

ผลิตสินค้าบาง อย่างที่มีต้นทุนต ่า มีความรู้ความช านาญ และเลือกสั่งซื้อสินค้าแต่ละประเภทที่ผู้บริโภค ใน

ประเทศของตนต้องการแต่ไม่สามารถผลิตได้หรือผลิตได้ในต้นทุนที่สูงกว่า

4. นโยบายการลงทุนของรัฐบาล
การลงทุนเพื่อการผลิตสินค้าและบริการประเภทใดประเภทหนึ่งจะมากหรือน้อยอาจขึ้นอยู่กับ

การตัดสินใจขอรัฐบาล นโยบายของรัฐบาลมีส่วนช่วยสนับสนุนในการผลิตสินค้าและบริการประเภทต่างๆ

ท าให้สินค้าและบริการที่รัฐบาลช่วยสนับสนุนมีการวิจัยและพัฒนาขึ้นเป็นการสร้างศักยภาพในการผลิต

สินค้าและบริการ เกิดความได้เปรียบสามารถแข่งขันและขยายตลาดสินค้าได้ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับ

นโยบายอื่นๆที่เอื้อประโยชน์ต่อการลงทุนระหว่างประเทศอีกด้วย จากเหตุผลดังกล่าวเพื่อให้ประชาชนของ

แต่ละประเทศมีการกินดีอยู่ดีรัฐบาลแต่ละประเทศจึงมีการเจรจาท าสัญญา ซื้อขายสินค้ากันระหว่างประเทศ

3


หรือสนับสนุนให้เอกชนในประเทศของตน ผลิตสินค้าเพื่อแลกเปลี่ยนกับประเทศอื่นๆ จึงท าให้เกิดการค้า

ระหว่างประเทศ


ประโยชน์จากการค้าระหว่างประเทศ


1) ท าให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดสรรทรัพยากร นั่นก็คือประเทศหนึ่งๆก็ไม่จ าเป็นต้องผลิตทุก

อย่าง เอาทรัพยากรทั้งทางธรรมชาติและบุคคลไปลงกับการผลิตที่ตัวเองท าได้ดี เช่นประเทศไทยมีความ

ถนัดด้านปลูกข้าวมากกว่าการผลิตนาฬิกา ก็เอาทรัพยากรไปลงกับการปลูกข้าว แล้วเอาผลผลิตไปขายเพื่อ

น ามาแลกกับนาฬิกา ไม่ต้องแบ่งทรัพยากรไปผลิตนาฬิกาที่เราไม่ได้มีความถนัด


2) ท าให้ได้รายได้ เมื่อสามารถทุ่มเททรัพยากรไปผลิตในสิ่งที่ตนถนัดแล้วน าไปส่งออกขาย ก็จะได้

รายได้เพื่อเข้าประเทศ ท าให้มีเงินทุนที่สามารถน าไปขยายการผลิตและท าให้เศรษฐกิจในประเทศเกิดการ

ขยายตัว


3) ท าให้เกิดการแข่งขันกันระหว่างผู้ผลิต เมื่อประเทศเปิดการค้ากับประเทศอื่น จะท าให้ผู้ผลิตใน

ประเทศเผชิญกับการแข่งขัน ซึ่งท าให้เกิดการพัฒนาตัวเองตลอดเวลาทั้งการเรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ๆ และ
การพัฒนาการผลิตให้มีต้นทุนต ่าลง คุณภาพดีขึ้น ซึ่งก็เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภคในที่สุดนั่นเอง


4) ท าให้มีความหลากหลายในสินค้าและบริการ เมื่อเราเปิดการค้ากับต่างประเทศก็จะมีสินค้าหลากหลาย

ประเภทเพื่อมาเป็นทางเลือกให้ผู้บริโภคเลือกสิ่งที่เหมาะกับความต้องการมากขึ้น

4


ผลกระทบทางลบจากการค้าระหว่างประเทศ


1) ท าให้เกิดการพึ่งพาต่างประเทศ การพึ่งพาสินค้าน าเข้าต่างๆเป็นจ านวนมากท าให้เศรษฐกิจใน

ประเทศเกิดความไม่เสถียรได้ ยกตัวอย่างเช่นประเทศไทยมีการน าเข้าน ้ามันเป็นจ านวนมาก ถ้าราคาน ้ามัน

จากต่างประเทศเพิ่มขึ้น ต้นทุนการผลิตก็จะศุงขึ้น ซึ่งท าให้ราคาสินค้าและค่าครองชีพของประชาชนสูงขึ้น

ถ้ามีการน าเข้าสินค้าเพิ่มขึ้นมากเท่าไหร่ ความเสี่ยงเหล่านี้ก็จะมากขึ้นตามไปด้วย นักเศรษฐศาสตร์ค านวณ

อัตราการพึ่งพาต่างประเทศด้วยขนาดของการเปิดประเทศดังนี้








เมื่อขนาดของการเปิดประเทศสูงขึ้นสูงขึ้นก็หมายความว่ามีการพึ่งพาต่างประเทศมากขึ้นนั่นเอง


2) ท าให้เสี่ยงต่อการแพ้ในการแข่งขันระหว่างประเทศ เมื่อเรามีการเปิดประเทสส าหรับการค้าระหว่าง

ประเทศมากขึ้น ผู้ผลิตในประเทศก็จะต้องเผชิญกับสินค้าคู่แข่งจากต่างประเทศ ถ้าไม่การพัฒนาตัวเองที่ดี
พอ ผู้ผลิตในประเทศบางรายอาจจะต้องสูญเสียส่วนแบ่งการตลาดต่อสินค้าน าเข้าหรือต้องปิดตัวลง


3) เกิดปัญหาขาดดุลการค้า เมื่อมูลค่าสินค้าน าเข้ามากกว่าส่งออก ประเทศจะพบกับสภาวะขาดดุลการค้าได้

ซึ่งจะท าให้เกิดปัญหาก็คือประเทศมีการสูญเสียรายได้ภายในประเทศไปให้กับการน าเข้ามากกว่ารายได้ที่

ได้รับมาจากต่างประเทศท าให้มีปริมาณเงินภายในประเทศที่สามารถน ามาเพื่อเพิ่มการลงทุนมีปริมาณ

ลดลง


นโยบายการค้าระหว่างประเทศ



1) นโยบายการค้าเสรี : เป็นนโยบายที่ภาคธุรกิจและครัวเรือนสามารถติดต่อซื้อขายระหว่างประเทศอย่าง
เสรี ปัจจุบันประเทศต่างๆมีการเปิดการค้าเสรีมากขึ้น โดยไม่มี (หรือมีน้อย) ก าแพงทางภาษีหรือข้อจ ากัด

ต่างๆ เพราะประเทศและภาคธุรกิจในประเทศต่างๆมีการขยายตัวมากขึ้น และเทคโนโลยีระบบทางการเงิน

ระหว่างประเทศก็สะดวกสะบายขึ้น ท าให้การติดต่อค้าขายระหว่างประเทศมากขึ้น และเป็นปัจจัยส่งเสริม

ให้หลายประเทศเปิดการค้าเสรีมากขึ้น ผลของการเปิดการค้าเสรีก็คือจะมีการค้าขายระหว่างประเทศมากขึ้น

ผู้บริโภคมีทางเลือกในการบริโภคมากขึ้น แต่ก็อาจจะมีการใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติเพื่อมาใช้ในการผลิต

ฟุ่มเฟือยมากขึ้น และมีการพึ่งพาต่างประเทศมากขึ้นไปด้วย

5


2) นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน : เป็นนโยบายที่ภาครัฐใช้เพื่อจ ากัดการน าเข้าและส่งออก เพื่อปกป้อง

อุตสาหกรรมภายในประเทศจากการแข่งขันจากต่างประเทศ และเพื่อควบคุมปริมาณการขาดดุลการค้า โดย

สามารถท าได้หลายวิธี เช่น
































- การตั้งก าแพงภาษี --> คือการก าหนดภาษีน าเข้า --> ท าให้สินค้าน าเข้าราคาแพง --> มีความต้องการน าเข้า

น้อยลง


- การจ ากัดปริมาณการค้า --> คือการตั้งโควต้าว่าให้น าเข้าและส่งออกได้ไม่เกินเท่าไหร่ --> จ ากัดสินค้า
น าเข้าได้


- การอุดหนุนการส่งออก --> คือการให้เงินอุดหนุนสินค้าส่งออก --> ท าให้อุตสาหกรรมในประเทศมีก าลัง

ต่อสู้กับต่างชาติมากขึ้น


- การก าหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต --> เป็นการตั้งมาตรฐานการผลิตของสินค้าน าเข้าให้สูง -->

ส่งออกจากประเทศก าลังพัฒนาหรือด้อยพัฒนาอาจไม่สามารถท าได้หรือเสียเปรียบ --> ลดการน าเข้าจาก

ประเทศเหล่านี้


- การก าหนดมาตรฐานสุขอนามัยสัตว์และพืช --> คล้ายกันกับการก าหนดมาตรฐานกระบวนการผลิต

6


- กฎหมายป้ องกันการทุ่มตลาด --> คือการก าหนดกฎไม่ให้สินค้าน าเข้าตั้งราคาต ่ามากกว่าราคาตลาด

ภายในประเทศมากเกินไป --> ป้ องกันการทุ่มลดราคาเพื่อครองตลาดของสินค้าน าเข้า


การลงทุนระหว่างประเทศ


การลงุทนระหว่างประเทศ เกิดขึ้นได้เมื่อภาคธุรกิจของประเทศหนึ่งเห็นโอกาสในการท าธุรกิจใน

อีกประเทศหนึ่ง ซึ่งประเทศที่ได้รับการลงทุนก็จะได้มีเงินทุนมาขยายธุรกิจ ก่อให้เกิดการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น

และท าให้เกิดการถ่ายทอดทางเทคโนโลยีอีกด้วย การลงทุนระหว่างประเทศแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ


1. การลงทุนระหว่างประเทศทางตรง (Foreign Direct Investment) : คือการเข้ามาตั้งโรงงาน หรือบริษัท

เพื่อประกอบกิจการในประเทศ การลงทุนแบบนี้มักเป็นการลงทุนในระยะยาว เพราะมีการตั้งบริษัทและ

โรงงานใช้เวลาและต้นทุนเป็นจ านวนมาก


2. การลงทุนระหว่างประเทศทางอ้อม (Foreign Indirect Investment) : เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการลงทุน

ทางการเงิน เป็นการลงทุนผ่านการซื้อขายหุ้น หรือการน าเงินไปฝากในประเทศอื่นหรือไปปล่อยกู้เพื่อ

ดอกเบี้ยที่สูงเป็นต้น การลงทุนแบบนี้สามารถเพิ่มหรือถอนทุนในระยะสั้นได้สะดวกเพราะเป็นการลงทุน
ทางตัวเงินไม่มีการจัดตั้งบริษัทหรือโรงงาน


การลงทุนทางการเงินข้ามประเทศโดยเสรี หรือการเปิดเสรีทางการเงินมีประโยชน์คือจะท าให้ภาค

ธุรกิจในประเทศจะมีแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น และสามารถเพิ่มทุนได้อย่างรวดเร็ว แต่ข้อเสียก็มีคือเจ้าหนี้หรือผู้

ถือหุ้นจากต่างประเทศก็สามารถถอนทุนและเคลื่อนย้ายทุนออกนอกประเทได้อย่างรวดเร็วเช่นกัน ซึ่งอาจ

ก่อให้เกิดความไม่มีเสถียรภาพในระบบเศรษฐกิจได้

7


การเงินระหว่างประเทศ


การจะท าการค้าระหว่างประเทศนั้น ต้องมีการใช้เงินตราเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน เนื่องจาก

ประเทศต่างๆมีการใช้สกุลเงินที่ต่างกันจึงต้องมีอัตราที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเงิน




















อัตราแลกเปลี่ยน คืออัตราหรือราคาเงินสกุลหนึ่งเมื่อเทียบกับอีกสกุลหนึ่ง เช่น 1 ดอลล่าห์สหรัฐ

(USD) มีค่าเท่ากับ 33 บาท ดังนั้นถ้าเราต้องการแลกหรือซื้อเงิน 1 USD เราจะต้องเอาเงิน 33 บาทไปแลก

การจัดการอัตราการแลกเปลี่ยนนั้นมี 3 ระบบ


1) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนคงที่ : เป็นระบบที่ธนาคารกลางของประเทศ ( ในประเทศไทย แบงก์ชาติ

หรือธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นองค์กรที่ท าหน้าที่เป็นธนาคารกลาง) ก าหนดอัตราแลกเปลี่ยนอย่างเป็น

ทางการ


2) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบเสรี : เป็นระบบที่ปล่อยให้ราคาค่าเงินขึ้นและลงไปตามอุป

สงค์และอุปทานในตลาดอย่างเสรี


3) ระบบอัตราแลกเปลี่ยนลอยตัวแบบมีการจัดการ : เป็นระบบที่ปล่อยให้ราคาค่าเงินขึ้นและลงไป

ตามอุปสงค์และอุปทาน โดยมีธนาคารกลางเข้าแทรกแซงบางช่วงเวลาเพื่อไม่ให้ค่าเงินมีความผันผวน

จนเกินไป ซึ่งในประเทศไทยใช้นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนในแบบนี้

อัตราค่าเงินบาทสามารถมีราคาสูงขึ้น (แข็งตัว) หรือ ถูกลง(อ่อนตัว) ลงได้ โดยสามรถอธิบายได้ดังนี้


อัตราค่าเงินบาทแข็งตัว : อัตราค่าเงินบาทแข็งตัวขึ้นก็ต่อเมื่อความต้องการใช้เงินบาทสูงขึ้น ท าให้


ราคาของเงินบาทสูงขึ้น เช่นในปัจจุบันค่าเงินบาทคือ 1 บาท มีค่า 0.03 USD ดังนั้นถ้าราคาเงินบาทสูงขึ้น
เป็น 1 บาท มีค่า 0.04 USD ก็แสดงว่าแข็งตัวขึ้น การที่ค่าเงินบาทแข็งตัวขึ้นท าให้สินค้าไทยดูมีราคาแพงขึ้น

ในสายตาต่างชาติ เช่น ของราคา 100 บาท เมื่อก่อนใช้เงิน 3 USD มาซื้อ เมื่อค่าเงินแข็งขึ้น ต้องใช้เพิ่มเป็น 4

8


USD. ท าให้การส่งออกของไทยมีปริมาณลดลงได้ ในทางกลับกันของน าเข้าจากต่างประเทศจะดูถูกลงใน

สายตาคนไทย เช่น เดิม ของราคา 3 USD เราใช้เงิน 100 บาทไปซื้อ เมื่อเงินบาทแข็ง เราก็ใช้เงินน้อยกว่า 100

บาทไปซื้อ ท าให้ไทยอาจจะมีการน าเข้ามากขึ้น


อัตราค่าเงินบาทอ่อนตัว : อัตราค่าเงินบาทอ่อนตัวลงก็ต่อเมื่อความต้องการใช้เงินบาทลดลง ท าให้

ราคาเงินบาทอ่อนลง เช่นในปัจจุบันค่าเงินบาทคือ 1 บาท มีค่า 0.03 USD ดังนั้นถ้าราคาเงินบาทต ่าลงเป็น 1

บาทมีค่า 0.02 บาท ก็แสดงว่าค่าเงินบาทอ่อนตัวลง เมื่อค่าเงินบาทอ่อนตัวลง สินค้าไทยจะดูมีราคาถูกลงใน

สายตาต่างชาติ เช่น เดิม ของราคา 100 บาท ต้องใช้เงิน 3 USD มาซื้อ เมื่อเงินบาทอ่อนตัวลงก็ใช้เพียว 2
USD ท าให้ไทยส่งออกของได้มากขึ้น ในทางกลับกันของที่น าเข้าจากต่างชาติจะมีราคาสูงขึ้นท าให้มีการ


น าเข้าน้อยลง หรือถ้าสินค้าที่น าเข้าเป็นปัจจัยการผลิต เช่น น ้ามัน ก็อาจจะท าให้สินค้าอุปโภคบริโภคใน
ประเทศมีราคาสูงขึ้นไปด้วย


ดุลการช าระเงิน



มูลค่าการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในระยะเวลา 1 ปีจะถูกบันทึกไว้ในดุลการช าระเงิน

ซึ่งประกอบด้วย 3 บัญชีดังนี้


1) บัญชีเดินสะพัด : ประกอบด้วย 3 บัญชี 1) ดุลการค้า ซึ่งแสดงรายการมูลค่าการน าเข้าและส่งออก
สินค้า 2) ดุลบริการ ซึ่งแสดงรายการมูลค่าการน าเข้าและส่งออกบริการ 3) ดุลบริจาค ซึ่งแสดงมูลค่าการรับ

และการให้ความช่วยเหลือระหว่างประเทศ


2) บัญชีทุนและการเงิน : เป็นการบันทึกรายการการเคลื่อนย้ายทุนระหว่างประเทศทั้งในทางตรงและ

การลงทุนทางการเงิน


3) บัญชีทุนส ารองระหว่างประเทศ : เป็นรายการแสดงทรัพพย์สินที่ประเทศถือไว้เป็นทุนส ารอง

ระหว่างประเทศ เช่น ทองค า เงินตราต่างประเทศ ประเทศถือทุนส ารองระหว่างประเทศไว้เพื่อเป็นทุน

ส ารองส าหรับการพิมพ์ธนบัตร รวมถึงเป็นทุนที่เอาไว้ใช้แทรกแซงอัตราแลกเปลี่ยนอีกด้วย

9


บรรณานุกรม


BOOTCAMPDEMY.“การค้าระหว่างประเทศ”.[ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก :

https://www.bootcampdemy.com/content/196-

%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E

0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0

%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A8-

%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%

E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0

%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%

B8%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9

%80%E0%B8%97%E0%B8%A8

10


ประวัติส่วนตัว





























นางสาวปิยะพร โอ่งรัมย์ ชื่อเล่น ป็อป


เกิดวันที่ 25 มกราคม 2542 อายุ 20 ป ี



ปัจจุบันศึกษาอยู่ ปวส.1 วิทยาลัยเทคนิคระยอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์

11


ประวัติส่วนตัว
































นางสาวศิรินทร์ญา บุญเชื่อม ชื่อเล่น ยาหยี


เกิดวันที่ 9 ตุลาคม 2542 อายุ 20 ป ี


ปัจจุบันศึกษาอยู่ ปวส.1 วิทยาลัยเทคนิคระยอง สาขาการจัดการโลจิสติกส์


Click to View FlipBook Version