The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิเคราะห์ผู้เรียน ป.2 ปี 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นะมน น่ามน, 2022-09-06 09:31:06

วิเคราะห์ผู้เรียน ป.2 ปี 64

วิเคราะห์ผู้เรียน ป.2 ปี 64

รายงานการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบคุ คล

รายวชิ า คณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564

นางสาวนฤมล มธุ ะจิต
ผ้สู อน

โรงเรียนชุมชนบ้านน้าดบิ จังหวัดแม่ฮอ่ งสอน
สา้ นกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮอ่ งสอน เขต 2

ส้านกั งานการศึกษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

บนั ทึกข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรียนชุมชนบ้านน้าดบิ สพป.มส.2 จังหวดั แม่ฮ่องสอน
ท…ี่ ……..วันที่ ……. เดือน………………….. พ.ศ…………
เรือ่ ง รายงานการวเิ คราะห์ผเู้ รียนรายบุคคลของนักเรยี นชันประถมศึกษาปที ่ี 2
...................................................................................................................

เรยี น ผอู้ า้ นวยการโรงเรยี นชมุ ชนบ้านนา้ ดบิ

สงิ่ ท่ีส่งมาด้วย รายงานการศกึ ษาและวิเคราะหผ์ ูเ้ รียนรายบุคคลของนักเรียนชันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 จา้ นวน 1 ฉบบั

ด้วยข้าพเจ้า นางสาวนฤมล มุธะจิต ต้าแหน่งครู วิทยฐานะ ช้านาญการพิเศษ ปฏิบัติการสอนวิชา
คณติ ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ได้ศกึ ษาผเู้ รยี นรายบุคคลของนกั เรียนชนั ประถมศึกษาปที ี่ 2 ประจ้าปี
การศึกษา 2564 เพ่ือวิเคราะหผ์ เู้ รียนเปน็ รายบุคคลและเป็นข้อมลู เบอื งตน้ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ ง
กับวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งจะน้าไปสู่การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน บัดนี ได้ท้าการวิเคราะห์เสร็จสินแล้วขอ
รายงานผลตามเอกสารท่ีแนบมาด้วยนี

จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงชอ่ื ผูร้ ายงาน
(นางสาวนฤมล มธุ ะจิต)

ลงชอ่ื
(นางสุภาพร รตั นะวนา)

หวั หน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์

บนั ทึกนเิ ทศจากกล่มุ บริหารวิชาการ บันทึกนิเทศและสั่งการของผู้อ้านวยการ

…..……………………………………… ………………………………………………. ……
.…………………………………………. …………………………………………………….
ลงช่ือ ว่าทีร่ อ้ ยตรี
ลงชือ่
( กิตตพิ งษ์ ทนิ แยง่ )
( นางตวิษา พรรณสขุ ) ผู้อ้านวยการโรงเรยี นชุมชนบ้านน้าดบิ
หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารวิชาการ

คา้ น้า

ตามหลกั การและจุดมุ่งหมายของหลักสตู รการศึกษาขันพืนฐาน พ.ศ. 2551 และ พระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้ก้าหนดเป้าหมายและทิศทางการปฏิรูปการศึกษา กระบวนการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาคนไทย
ให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ทังร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้คู่คุณธรรม โดยมีหลักการส้าคัญของการจัดการศึกษา
ประกอบด้วย ผู้เรียนมีความส้าคัญท่ีสุด ทกุ คนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศกั ยภาพ

ดงั นัน ครูผ้สู อนซ่ึงเป็นผ้มู ีบทบาทส้าคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ ให้ผ้เู รยี นรูจ้ ักแสวงหาความรู้ พัฒนาตนเอง
คดิ เอง ปฏิบัติเอง เพ่ือนา้ ไปสู่การสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ความพึงพอใจ ตามความถนดั ตามความสนใจของแต่
ละบคุ คล การวิเคราะห์ผู้เรยี นเพอ่ื ศึกษาผู้เรียนเปน็ รายบุคคลจึงมีความจ้าเป็นและส้าคัญมาก ผู้สอนจึงได้จัดท้าแบบ
วิเคราะห์ผู้เรียนเล่มนีขึนเพื่อวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ก่อนด้าเนินการสอนในปีการศึกษา 2564 ข้อมูลจาก
การศกึ ษาวิเคราะห์ผเู้ รยี นในครงั นมี คี วามส้าคัญและเป็นประโยชนต์ อ่ การจัดการเรยี นการสอนอย่างยง่ิ

ลงช่ือ………..………………………
(นางสาวนฤมล มุธะจติ )

ต้าแหน่ง ครูช้านาญการพิเศษ

คา้ ช้ีแจง

การวิเคราะห์ผเู้ รยี นฉบบั นี จัดท้าขนึ เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลส้าหรับศึกษา วิเคราะห์ แยกแยะผู้เรียน เพื่อ
หาความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวกับความพร้อมด้านความรู้พืนฐาน และประสบการณ์เดิมท่ีมีอยู่ก่อนท่ีจะให้
ผู้เรียนได้รบั การเรียนร้ใู ดๆในระดับชนั ตลอดทงั ศึกษาวเิ คราะห์เกี่ยวกับความพร้อมดา้ นพฤติกรรมและองค์ประกอบ
ความพรอ้ มด้านตา่ งๆ ดงั นี

1. ด้านความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
2. ความพร้อมดา้ นสตปิ ญั ญา
3. ความพรอ้ มดา้ นพฤตกิ รรม
4. ความพร้อมด้านร่างกาย
5. ความพรอ้ มด้านสังคม

การวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นมีการด้าเนนิ การดงั นี

1. เก็บรวบรวมข้อมูลในวิชาที่ต้องการวิเคราะห์จากครูคนเดิม ที่ได้จากการเรียนรู้ในปีการศึกษาท่ีผ่านมา
หรือ จัดสร้างเคร่อื งมอื แบบทดสอบวิชานนั ๆ ขนึ ใหม่ แลว้ นา้ มาใช้ทดสอบผู้เรยี นทกุ คน

2. น้าข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์ หรือแยกแยะตามความเป็นจริง พร้อมจัดกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
กลมุ่ เก่ง กลุ่มปานกลาง (หรือผา่ นเกณฑ์) และกลุ่มท่ีต้องปรับปรุงแกไ้ ข

3. การวิเคราะห์ผู้เรียน ควรพิจารณาทังความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ สติปัญญา และความพร้อม
ดา้ นอืน่ ๆ ของผเู้ รยี น ควบคูไ่ ปด้วย

4. ผู้เรียนท่ีมีความพร้อมต่้ากวา่ เกณฑ์ท่ีก้าหนด ผู้สอนได้รีบด้าเนินการปรับปรุงแก้ไขให้มีความพร้อมดีขึน
กอ่ น จึงคอ่ ยดา้ เนนิ การจดั การเรียนรู้ ในระดับชันท่จี ะทา้ การสอน สว่ นความพรอ้ มอน่ื ๆ ให้พยายามปรบั ปรงุ แก้ไขให้ดี
ขนึ ในล้าดับต่อไป

แนวคิดวัตถุประสงคแ์ ละขอบเขตของการวเิ คราะห์ผเู้ รียน

1. แนวคดิ ในการวิเคราะหผ์ เู้ รียน
1) การจัดการเรยี นร้ใู ห้ประสบความส้าเร็จ มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงผู้เรียนจะต้องมคี วามพร้อม

ทด่ี ีในทกุ ดา้ น ดงั นนั ก่อนจะเริ่มด้าเนนิ การสอน ครูผสู้ อนไดศ้ ึกษา วเิ คราะหผ์ ู้เรียนรายบุคคลเกี่ยวกบั
- ความพร้อมดา้ นความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
- ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ญั ญา
- ความพรอ้ มด้านพฤติกรรม
- ความพร้อมด้านร่างกาย
- ความพรอ้ มด้านสังคม
2) ก่อนด้าเนินการจัดการเรียน ครูผู้สอนได้ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนให้รู้ถึงความแตกต่างระหว่าง

บคุ คลในแตล่ ะด้าน เมอ่ื ผู้เรยี นคนใด มขี ้อบกพร่องดา้ นใด ควรปรับปรงุ แกไ้ ขใหม้ ีความพรอ้ มทดี่ กี อ่ น
3) การเตรียมความพร้อม หรือการแก้ไขข้อบกพร่อง ส้าหรบั ผู้เรยี นท่ยี ังขาดความพรอ้ มในดา้ นใดๆ

ควรใชก้ ิจกรรมหลายๆแบบ หรอื ใชเ้ ทคนิควิธีการที่เหมาะสมจนผูเ้ รยี นมีความพร้อม ดขี นึ

2. วตั ถุประสงคข์ องการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น
1) เพ่ือศกึ ษาวิเคราะหแ์ ยกแยะ เก่ียวกับความพร้อมของผ้เู รียนในแต่ละด้านเป็นรายบุคคล
2) เพ่ือให้ครูผู้สอนได้รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล และหาทางช่วยเหลือผู้เรียน ที่มีข้อบกพร่องให้มี

ความพรอ้ มท่ดี ีขนึ
3) เพ่ือให้ครูผู้สอนได้จัดเตรียมการสอน ส่ือ หรือนวัตกรรมส้าหรับด้าเนินการจัดการเรียนรู้แก่

ผู้เรียนไดส้ อดคล้องเหมาะสม และตรงตามความตอ้ งการของผ้เู รียนมากยิง่ ขึน

3. ขอบเขตของการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น
การวเิ คราะห์ผ้เู รียน เพ่ือแยกแยะความแตกตา่ งระหว่างบุคคล ในเรอ่ื งต่างๆ ดงั นี
1) ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์

(1) ความรู้พืนฐานของวิชาคณิตศาสตร์
(2) ความสามารถในการอา่ น
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้
2) ความพรอ้ มดา้ นสตปิ ญั ญา
(1) ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์
(2) ความมเี หตผุ ล
(3) ความสามารถในการเรียนรู้
3) ความพร้อมด้านพฤติกรรม
(1) การแสดงออก
(2) การควบคมุ อารมณ์
(3) ความมงุ่ ม่นั อดทน ขยนั หมนั่ เพียร
(4) ความรบั ผิดชอบ
4) ความพร้อมด้านรา่ งกาย
(1) ดา้ นสุขภาพร่างกายสมบูรณ์

(2) การเจรญิ เตบิ โตสมวัย

(3) ความสมบรู ณท์ างดา้ นสขุ ภาพจิต
5) ความพรอ้ มด้านสังคม

(1) การปรบั ตวั เขา้ กบั ผู้อื่น
(2) การชว่ ยเหลือ เสียสละ แบง่ ปนั
(3) การเคารพครู กตกิ า และมีระเบียบ

6) คะแนนจากผลการสอบกลางภาคเรียนหรือปลายภาคเรียนที่ผ่านมาของวิชาที่สอนหรือผลจากการสอบ
จากเคร่อื งมือวดั ทีส่ ร้างขนึ

แบบสรปุ ผลการวเิ คราะห์ผเู้ รียน

วชิ า คณติ ศาสตร์ ชันประถมศึกษาปีที่ 2 จา้ นวนนักเรียน 15 คน
โรงเรียนชมุ ชนบ้านนา้ ดบิ จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน ปีการศึกษา 2564

ด้านที่ รายการวิเคราะหผ์ ู้เรยี น ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ หมายเหตุ

1 ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ จา้ นวน รอ้ ยละ จ้านวน ร้อยละ จา้ นวน รอ้ ยละ
2 (1) ความรพู้ นื ฐานของวชิ าคณติ ศาสตร์
3 (2) ความสามารถในการอา่ น 6 40 9 60 00
(3) ความสนใจและสมาธิในการเรียนรู้ 6 40 6 40 3 20
4 5 33.33 10 66.67 00
5 ความพรอ้ มด้านสตปิ ัญญา
6 (1) ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ 00 15 100 00
(2) ความมีเหตผุ ล 8 53.33 7 46.67 00
(3) ความสามารถในการเรียนรู้ 12 80 3 20 00

ความพร้อมดา้ นพฤตกิ รรม 6 40 9 60 00
(1) การแสดงออก 11 73.33 4 26.67 00
(2) การควบคมุ อารมณ์ 10 66.67 5 33.33 00
(3) ความมุ่งมัน่ อดทน ขยนั หมัน่ เพยี ร 7 46.67 8 53.33 00
(4) ความรบั ผิดชอบ
14 93.33 00 1 6.67
ความพร้อมด้านร่างกาย 14 93.33 1 6.67 00
(1) ด้านสุขภาพรา่ งกายสมบูรณ์ 14 93.33 1 6.67 00
(2) การเจรญิ เตบิ โตสมวยั
(3) ความสมบูรณ์ทางดา้ นสขุ ภาพจติ 11 73.33 4 26.67 00
13 86.67 2 13.33 00
ความพรอ้ มด้านสังคม 14 93.33 1 6.67 00
(1) การปรบั ตัวเขา้ กบั ผูอ้ ืน่
(2) การชว่ ยเหลือ เสียสละ แบ่งปนั ….. ….. ….. ….. ….. …..
(3) การเคารพครู กติกา และมรี ะเบียบ

ผลจากการสอบคะแนนกลางภาคหรือปลาย
ภาคเรยี นทผ่ี า่ นมา

ผลการวิเคราะห์ผ้เู รียนพบว่าผูเ้ รียนมีผลการประเมินด้านความรคู้ วาสามารถและประสบการณ์ ในเรื่อง

ความสามารถในการอ่าน มนี กั เรยี นอยู่ในระดับผลการประเมนิ ในระดบั ทต่ี ้องปรบั ปรงุ และพฒั นาใหม้ ากขึนโดยพบว่า

1. ความรพู้ นื ฐานของวิชาคณติ ศาสตร์ ระดบั ดี ร้อยละ 40.00

ระดบั ปานกลาง ร้อยละ 60.00

ระดับปรบั ปรุง รอ้ ยละ 00.00

2. ความสามารถในการอา่ น ระดบั ดี รอ้ ยละ 40.00

ระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 40.00

ระดับปรบั ปรงุ รอ้ ยละ 20.00

3. ความสนใจและมสี มาธใิ นการเรียนรู้ ระดบั ดี รอ้ ยละ 33.33

ระดบั ปานกลาง รอ้ ยละ 66.67

ระดบั ปรับปรงุ ร้อยละ 00.00

แบบวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล

1. ชอื่ – สกุล……………………………………...…………...อาย…ุ ………. ปี ชอื่ ผปู้ กครอง……………………………..…………
2. ผลการเรียนในปกี ารศกึ ษาทผ่ี า่ นมา ระดับชันประถมศึกษาปีท่ี 1 เกรดเฉล่ีย…………………….………
3. ผลการวเิ คราะห์ผู้เรียนรายบุคคลวชิ าคณติ ศาสตร์ ชันประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ปกี ารศึกษา 2564

ท่ี รายการวเิ คราะห์ผเู้ รียน ผลการประเมนิ วิเคราะห์ผู้เรียน การปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ดี ปานกลาง ปรบั ปรงุ
1 ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์
….. ……………… ………………
(1) ความร้พู นื ฐานของวิชาคณิตศาสตร์ ….. ……………… ………………
(2) ความสามารถในการอา่ น ….. ……………… ………………
(3) ความสนใจและสมาธใิ นการเรยี นรู้
….. ……………… ………………
2 ความพรอ้ มด้านสตปิ ญั ญา ….. ……………… ………………
….. ……………… ………………
(1) ความคดิ รเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์
(2) ความมเี หตผุ ล ….. ……………… ………………
(3) ความสามารถในการเรียนรู้ ….. ……………… ………………
….. ……………… ………………
3 ความพร้อมด้านพฤติกรรม ….. ……………… ………………

(1) การแสดงออก ….. ……………… ………………
(2) การควบคมุ อารมณ์ ….. ……………… ………………
(3) ความมุ่งม่นั อดทน ขยันหมั่นเพียร ….. ……………… ………………
(4) ความรบั ผดิ ชอบ
….. ……………… ………………
4 ความพร้อมดา้ นร่างกาย ….. ……………… ………………
….. ……………… ………………
(1) ดา้ นสุขภาพร่างกายสมบูรณ์
(2) การเจรญิ เตบิ โตสมวัย
(3) ความสมบรู ณท์ างด้านสขุ ภาพจติ

5 ความพร้อมดา้ นสงั คม

(1) การปรับตัวเข้ากับผอู้ ่นื
(2) การชว่ ยเหลอื เสยี สละ แบ่งปัน
(3) การเคารพครู กติกา และมีระเบยี บ

ความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะของครู
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอื่ ………………………………………………………….
(นางสาวนฤมล มุธะจิต)

คะแนนจากการสอบปลายภาคเรียน วชิ า คณิตศาสตร์ รหสั วิชา ค11101 ภาคเรยี นที่1-2 ปีการศึกษา2563

ท่ี ช่ือ-สกุล คะแนน เกง่ ปานกลาง อ่อน/ หมายเหตุ
ปรบั ปรงุ

1 เดก็ ชายจีรายุทธ ทามลู 70 /

2 เดก็ ชายอทิ ธิศักดิ์ ปรีดิพา 82 /

3 เดก็ ชายดาเกโซ ไม่มีช่อื สกุล 71 /

4 เดก็ ชายลภสั กร ชมุ่ ดวงพร 78 /

5 เดก็ ชายอรรถนนท์ เปี้ยเอย้ 56 /

6 เดก็ ชายชานน เลิศชวี ิน 75 /

7 เดก็ ชายกิตตโิ ชติ ปรีดพิ า 80 /

8 เด็กชายธนวชิ ญ์ สริ ิวนาสาร 59 /

9 เดก็ ชายเทพนภทั ร ค้าอ้าย 81 /

10 เดก็ ชายณฐั สิทธิ์ ใฝส่ ขุ สรรค์ 80 /

11 เด็กชายอชริ ะ งานรุ่งด้ารง 89 /

12 เด็กหญิงนภักษร สิทธพิ งษ์ 75 /

13 เด็กหญิงธัญชนก บุญยวง 86 /

14 เดก็ หญิงหทยั ชนก ภักดพี ฒั นาสกลุ 78 /

15 เดก็ ชายธีรพงษ์ ไม่มีช่ือสกลุ 50 /

รวม

รอ้ ยละ

หมายเหตุ เกณฑ(์ ปรับเปลีย่ นได้ตามความเหมาะสม)

กลุ่มเกง่ ชว่ งคะแนน รอ้ ยละ 80 – 100

กลุม่ ปานกลาง ชว่ งคะแนน รอ้ ยละ 50 – 79

กลมุ่ ออ่ น ชว่ งคะแนน ร้อยละ ต้่ากว่า 50

สรุปผลการวเิ คราะหผ์ ู้เรียน
ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 โรงเรียนชุมชนบ้านน้าดบิ
จากตารางสรปุ ผลการวิเคราะห์ผเู้ รียน ชัน ป.2 จ้านวน 15 คน ปรากฏว่านักเรยี นสว่ นมากของหอ้ ง อยใู่ น
ระดับ ปานกลาง
ครูผู้สอนได้น้าข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียน มาจัดแบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น 3 กลุ่ม โดยพิจารณา จาก
เกณฑ์มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ทางภาษา ความพร้อมดา้ นสติปญั ญา เพ่ือใช้เปน็ ข้อมลู ในการวาง
แผนการสอนใหเ้ หมาะสมกบั สภาพความแตกตา่ งของผ้เู รียน ดังนี
1. กลุ่มเก่ง มีจา้ นวน 6 คน ดังน้ี
1.เด็กชายอิทธิศกั ด์ิ ปรีดิพา
2. เด็กชายกติ ตโิ ชติ ปรดี พิ า
3. เดก็ ชายเทพนภทั ร ค้าอ้าย
4. เดก็ ชายณัฐสทิ ธิ์ ใฝส่ ุขสรรค์
5. เด็กชายอชริ ะ งานรงุ่ ดา้ รง
6. เดก็ หญงิ ธัญชนก บุญยวง
2. กลุม่ ปานกลาง มีจา้ นวน 9 คน ดงั นี้
1. เดก็ ชายจีรายุทธ ทามลู
2. เด็กชายดาเกโซ ไมม่ ชี อื่ สกลุ
3. เด็กชายลภสั กร ชมุ่ ดวงพร
4. เด็กชายอรรถนนท์ เป้ยี เอ้ย
5. เดก็ ชายชานน เลิศชวี ิน
6. เดก็ ชายธนวิชญ์ สริ วิ นาสาร
7. เดก็ หญงิ นภักษร สทิ ธิพงษ์
8. เด็กหญิงหทัยชนก ภกั ดพี ัฒนาสกุล
9. เดก็ ชายธีรพงษ์ ไมม่ ีชอื่ สกุล
3. กลุ่มอ่อน มจี ้านวน - คน
แนวทางส่งเสรมิ หรือพฒั นาผเู้ รียน
นกั เรียนกลุ่มเกง่ : สง่ เสริมใหน้ ักเรียนได้แสดงความสามารถด้านการคดิ ค้านวณ การอ่าน การ
วิเคราะหแ์ ละเสริมแบบฝึกที่หลากหลายรูปแบบ
นักเรียนกลุ่มปานกลาง: จัดกิจกรรมเพอ่ื พฒั นาความสามารถดา้ นการคิดคา้ นวณ การอา่ น การ
วิเคราะห์และเสรมิ แบบฝกึ ที่หลากหลายรปู แบบ เชน่ การท้าแบบฝึกเพ่ิมเติม การฝกึ ท้าโจทย์การวิเคราะห์
โจทย์ และฝกึ การอา่ นเพ่ิมเตมิ เพ่ือพฒั นานักเรียนใหเ้ กิดทกั ษะมากย่งิ ขนึ
นักเรียนกลมุ่ ออ่ น: จดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาความสามารถด้านการคิดค้านวณ การอ่าน การวเิ คราะห์
และเสรมิ แบบฝกึ ท่ีหลากหลายรูปแบบ เชน่ การท้าแบบฝกึ เพิ่มเติม การฝกึ ท้าโจทย์การวิเคราะห์โจทย์ และ
ฝกึ การอา่ นเพมิ่ เติม โดยเรมิ่ จากง่ายไปยาก และสอนเสริมในเวลาว่าง เพ่ือฝกึ และพฒั นานักเรียนใหเ้ กดิ ทกั ษะ
มากย่งิ ขนึ

ลงชอ่ื ........................................................
(นางสาวนฤมล มธุ ะจิต)
ครปู ระจา้ ชนั


Click to View FlipBook Version