The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Blue Photo Collage Food Drive Flyer (2)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papatpateep, 2020-02-27 10:08:54

ส่งงาน

Blue Photo Collage Food Drive Flyer (2)

THE

International
economy

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

YEAR 2020

preface

คาํ นํา

ศูนยพ์ ัฒนาการคา้ และธรุ กจิ ไทยในประชาคม
เศรษฐกจิ อาเซยี น (AEC Business Support
Center) หรือศนู ยA์ EC ตงั ขึนเพือให้ความชว่ ย
เหลอื เพือเตรยี ม ความพร้อมใหก้ ับผู้ประกอบ
การไทย รองรบั การเขา้ ร่วมAEC ในป 2558
ศนู ยA์ EC ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกมั พูชา

มีภารกจิ ดังนี
1) เปนแหลง่ รวบรวมข้อมูล จดั ท าข้อมูลเชิงลึก

กระจายข้อมลู ให้บรกิ ารขอ้ มลู เชงิ ลึกเพือให้ผู้
ประกอบการสามารถใชป้ ระกอบการตัดสินใจ
2) การสร้างความตนื ตวั กระจายขอ้ มลู ส่ง
เสรมิ ให้มกี ารใชแ้ ละขยายการใช้สทิ ธิประโยชน์
3) เปนผู้ประสานงานนดั หมายกับกาครัฐและ

เอกชน เพือสอบถามขอ้ มลู
ทสี นใจและพบปะเจรจาการคา้

TNETNOC FO ELBA ความหมาย
01 เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

นโยบายก ารค้า

02

ลัก ษ ณ ะก า ร ค้า ร ะห ว่า ง
03 ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ไ ท ย

04 ทุ น สาํ ร อ ง ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

อ ง ค์ก าร ค ว าม ร่ว ม มือท าง
05 เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ

07 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม

ความหมาย
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

การคา้ ระหว่างประเทศ เปนการนาํ สินค้าและบรกิ าร
ไปแลกเปลยี นกบั อีกประเทศหนึง เนืองจากความ

แตกตา่ งกนั ทางทรัพยากรและความสามารถ
ในการผลิต

นโยบายการค้า

Trade policy

การค้าแบบเสรี
Free trade

ไม่มกี ารเก็บภาษีคุ้มกัน, ไมใ่ ห้สทิ ธพิ ิเศษ ไมม่ ีขอ้
จํากดั ทางการค้า

การคา้ แบบคุ้มกัน
Escort trade

มกี ารตงั กําแพงภาษ,ี ไมใ่ ห้สิทธิพิเศษ, หา้ มนําเขา้
ห้ามส่งสินคา้ บางชนดิ ออก ใหอ้ ุดหนุนเพือผลิต
แข่งกับต่างประเทศ

ลักษณะการคา้ ระหว่าง
ประเทศของไทย

1. ใชน้ โยบายการค้าแบบคมุ้ กนั
2. ใชร้ ะบบภาษีศุลกากรพิกัดอตั ราเดยี ว
3. ประเทศคคู่ า้ สาํ คญั คือ ญีปุน, สหรัฐอเมรกิ า,

ซาอุดิอาระเบีย
4. สินคา้ ออก สว่ นใหญ่คอื สนิ คา้ จากภาค

เกษตรกรรม
5. สินค้าเขา้ เปนสินคา้ อุตสาหกรรม เครืองจกั ร

และเชอื เพลงิ

ลักษณะการคา้ ระหว่าง
ประเทศของไทย

1. ใชน้ โยบายการค้าแบบคมุ้ กนั
2. ใชร้ ะบบภาษีศุลกากรพิกัดอตั ราเดยี ว
3. ประเทศคคู่ า้ สาํ คญั คือ ญีปุน, สหรัฐอเมรกิ า,

ซาอุดิอาระเบีย
4. สินคา้ ออก สว่ นใหญ่คอื สนิ คา้ จากภาค

เกษตรกรรม
5. สินค้าเขา้ เปนสินคา้ อุตสาหกรรม เครืองจกั ร

และเชอื เพลงิ

ทนุ สํารองระหว่างประเทศ

International reserves

ทรพั ยส์ ินของประเทศทีเปนทองคําและเงินตราต่าง
ประเทศสกลุ สาํ คญั เชน่ เงินดอลลารส์ หรัฐ 
สิทธิพิเศษในการเบกิ เงินกองทุนสาํ รองระหวา่ ง
ประเทศเงนิ สํารองระหวา่ งประเทศมปี ระโยชน์คือ

1. ใชเ้ ปนทนุ สํารองเงินตราส่วนหนงึ

2. ใช้เปนทุนหมุนเวยี นสําหรบั ชําระเงนิ ให้
กบั ตา่ งประเทศ

3. ใชเ้ ปนทุนรักษาระดับอตั ราแลกเปลียน
เงินตราประเทศส่วนหนงึ
เพือใหม้ ีเสถยี รภาพมนั คง

องคก์ ารความรว่ มมอื ทาง
เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

สหภาพยโุ รป
(Economic Union)

จดุ ประสงคก์ ารก่อตงั
เพือพัฒนาและยกมาตรฐานการครองชีพ ยกข้อจาํ กัด
ทางการค้าในกลมุ่ สมาชกิ และปองกันประเทศนอกกลุ่ม

สมาคมประชาชาติ
เอเซียตะวันออกเฉียงใต้

ประกอบดว้ ย
อนิ โดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ฟลปิ นส์ สิงคโปร์ บรไู น
เวียดนาม พมา่ และลาว จุดประสงค์เพือการร่วมมอื กัน

ด้านสงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม

กลุ่มประเทศ
ผสู้ ่งออกนาํ มัน

กอ่ ตังเมือ พ.ศ. 2502 ประกอบดว้ ย
อิหร่าน คเู วต ซาอุดิอาระเบยี กาตาร์ ลเิ บีย สหรัฐอิมิเรต
แอลจเี รยี กาบอง เวเนซเู อลา เอกวาดอร์ อินโดนีเซยี อิรกั

โอมาน

องคก์ ารความรว่ มมอื ทาง
เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ

ธนาคารเพือการบูรณะ
และพันฒนา

หรือธนาคารโลก
เปนแหล่งใหก้ ู้เงนิ สําหรบั ประเทศต่าง ๆ

กองทนุ การเงิน
ระหวา่ งประเทศ

ตงั ขึนเพือสรา้ งความร่วมมอื ในด้านการเงินระหวา่ งประเทศ
รักษาเสถียรภาพของอตั ราแลกเปลียนเงินตราระหว่าง
ประเทศ และแก้ปญหาการขาดดลุ การชําระเงินแกป่ ระเทศ
สมาชิก

องคก์ ารคา้ โลก
(WTO)

มพี ัฒนาการมาจากขอ้ ตกลงวา่ ด้วยภาษีศลุ กากรและการค้า
แกตต์ General Agreement on Tariffs
and Trade : GATT          ตังเมอื
1 ม.ค. 2538  สาํ นักงานอยู่ที นครเจนีวา
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์   ปจจุบัน 2548
มีสมาชิก 148 ประเทศ 

บรรณานกุ รม

bibliography

https://www.google.com/search?
sxsrf=ALeKk03X1Ky4RfTW4GOpuyw7S8ldkRU02A%

3A1582806091206&ei=S7RXXtmHDKqM4-

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8
%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8
%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AB%E0%B8
%A7%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8
%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8

%97%E0%B8%A8

INTERNATIONA
L ECONOMY

BY
JIRAYUT
TEERAPAT


Click to View FlipBook Version