กนิษฐา โกศัลวิตร์ เลขที่3 การตรวจอากาศชั้นบน Upper Air Observation จัดทำ โดย www.tmd.go.th 1182
การตรวจอากาศชั้นบน 1.ตรวจด้วยวิธี Radiosohde ความถี่ 1680 MHz (วิทยุหยั่งอากาศ) เวลา 07.00 น. (0000 UTC) และ 19.00 น. (1200 UTC) ผลการตรวจ ได้แก่ ความกด อากาศ อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทาง ความเร็ว ร็ ลม ค่า เฉลี่ยความสูงที่ตรวจได้มากกว่า 20 กิโลเมตร จากพื้น ดิน 2. ตรวจด้วยวิธี Radiowihd ความถี่ 403 MHz (วิทยุหยั่งลม) เวลา 13.00 น. (0600 UTC) ผลการตรวจ ได้แก่ ทิศทาง/ความเร็ว ร็ ลม ค่าเฉลี่ยความสูงที่ตรวจได้ มากกว่า 20 กิโลเมตร จากพื้นดิน 3. ตรวจด้วยวิธี Pilot balloon เวลา 01.00 น. (1800 UTC) ผล การตรวจ ได้แก่ ทิศทาง ความเร็ว ร็ ลม ค่าเฉลี่ยความสูงที่ตรวจได้ 0 กิโลเมตร - ระยะสายตา มองเห็น ขึ้นอยู่กับอุปสรรค เช่น มีเมฆมาก มีฝนตก
การตรวจอากาศชั้นบน การตรวจอากาศชั้นบน คือ การตรวจวัดลม ระดับผิวพื้นสูงขึ้นไป ตามระดับชั้นบรรยากาศ โดย ใช้บอลลูนตรวจอากาศตามวิธีการ ตรวจ ประกอบ ด้วย -การตรวจสายบอลลูน และ กล้องธีโอโดไลท์ - การตรวจสายบอลลูน และ ผูกพ่วงเครื่องส่ง วิทยุส่งสัญญาณ วิทยุมายังเครื่องรับ รั ภาคพื้นดิน โดยการประมวลผลที่ตรวจได้สามารถนำ ไปใช้ ในการพยากรณ์ อากาศประจำ วัน และแลกเปลี่ยน ข่าวลมชั้นบนกับประเทศสมาชิก WMO ตามเวลาที่ กำ หนด
การตรวจอากาศชั้นบน มีสถานีตรวจอากาศชั้นบน 11 สถานี (อยู่ห่างกันไม่เกิน 250 กิโลเมตร) 1. ส่วนตรวจอากาศชั้นบน (บางนา) 2.ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน (ขอนแก่น) 3.ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนล่าง (อุบลราชธานี) 4. ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ (เชียงใหม่) 5.ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันตก (ภูเก็ต) 6.ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้ฝั่งตะวันออก (สงขลา) 7.สถานีอุตุนิยมวิทยาประจวบคีรีขั รีขั นธ์ 8. สถานีอุตุนิยมวิทยาสุราษฎร์ธ ร์ านี 9. สถานีอุตุนิยมวิทยาจันทบุรี 10. สถานีอุตุนิยมวิทยาพิษณุโลก 11. สถานีอุตุนิยมวิทยานครราชสีมา
การตรวจอากาศชั้นบน การตรวจอากาศชั้นบน ทำ การตรวจทุก 6 ชั่วโมง ตาม WM0 กำ หนด 07.00 น. 0000 UTC 13.00 น. 0600 UTC 19.00 น. 1200UTC 01.00 น. 1800UTC โดยเริ่มสอบก่อนเวลาสอบจริง ริ 45 นาที ก่อน เวลาตรวจจริง ริ หรือ รื อยู่ที่ดุลยพินิจของผู้ตรวจสอบ ตามสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในขณะตรวจสอบ
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธี Radiosonde ความถี่ 1680 MHz การตรวจเวลา 07.00 น. (0000 UTC) และ 19.00 น. (1200 UTC) ผลการตรวจ ความกดอากาศ อุณหภูมิ ความชื้น ทิศทาง / ความเร็ว ร็ ลม 1. 2. 3. 4.
RADIOSONDE อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ เครื่องมือตรวจอากาศ ระบบ Radiosonde ความถี่ 1680 MHz วิทยุหยั่งอากาศ 1680 MHz
RADIOSONDE อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ บอลลูน ขนาด 300 แกรม (สีขาว) แก๊สไฮโดรเจน สำ หรับ รั บรรจุบอลลูน
RADIOSONDE อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ เชือก ร่ม ร่ ชูชีพ
RADIOSONDE อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ เชื่อมต่อวิทยุหยั่งอากาศเพื่อทำ การ Ground Check ตรวจสอบข้อมูล อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ก่อนทำ การปล่อย
RADIOSONDE กราฟแสดงอุณหภูมิ ความชื้น ความกด ทิศทาง และความเร็ว ร็ ลม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 1. จะทำ การตรวจก่อนเวลารายงานข่าว ประมาณ 2 ชั่วโมง ตามขั้นตอนดังนี้ 2. อัดบอลลูนขนาด 300 กรัม รั ด้วยก๊าซ ไฮโดรเจน 3. นำ บอลลูนมาสวมที่ปลายท่อก๊าซ 4. บอลลูนขนาด 300 กรัม รั ใช้ตุ้มเหล็กถ่วงน้ำ หนักขนาด 1450-1500 กรัม รั เพื่อให้ได้อัตรา ลอยประมาณ 280 - 330 เมตร/นาที 5. ค่อยๆเปิดวาร์ว ร์ ท่อก๊าซ โดยห้ามใช้โลหะ เคาะเพื่อทำ การเปิด
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 6. ปล่อยก๊าซจนกระทั่งบอลลูนขยายจน สามารถยกตุ้มเหล็กให้ลอยได้ ยกอิสระ 1450-1500 กรัม รั หรือ รื อัดบอลลูนให้ลูกตุ้มลอยตัวยกขึ้น จาก 3.5กิโลกรัม รั ให้เหลือ 2.0 กิโลกรัม รั 7. ใช้เชือกยาวประมาณ 5-7 เมตร ผูกติดกับ ร่ม ร่ ชูชีพ (พาราซูท) และผูกกับบอลลูนให้แน่น เพื่อไม่ให้ก๊าซรั่ว ออกมา 8. นําบอลลูนออกมาจากโรงก๊าซเพื่อเตรีย รี มผูก ติดกับเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (RADIOSONDE)
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 9. ทำ การเปิดระบบไฟฟ้า, ระบบซาวดิ่ง, เครื่องทำ การGround Check,ระบบ คอมพิวเตอร์แ ร์ ละโปรมแกรม 10. เริ่มต้น การทำ งานโปรแกรมการซาวดิ่ง DigiCORA 11. เชื่อมต่อเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ กับ เครื่องทำ การ Ground Check 12. ทำ การอ่านข้อมูลผิวพื้นฯลฯ แล้วนำ ข้อมูลมาป้อนในโปรมแกรมของ DigiCORA เพื่อสอบเทียบ 13. ทำ การตรวจเช็คสัญญาณของเครื่องวิทยุ หยั่งอากาศอีกครั้ง ว่าสัญญาณดีหรือ รื ไม่
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 13. ทำ การตรวจเช็คสัญญาณของเครื่องวิทยุ หยั่งอากาศอีกครั้ง ว่าสัญญาณดีหรือ รื ไม่ 14. ทําการหันแผงสายอากาศ (ANTANA)ไป ยังบริเ ริ วณจุดที่ทำ การปล่อยบอลลูนโดยการ บังคับที่อุปกรณ์ RTH21 โดยกดปุ่ม AUTO/MANUAL – CMD – ENTER เพื่อเปลี่ยน เป็นโหมดการติดตามวิทยุหยั่งอากาศ 15. ทําการปล่อยบอลลูน 16.เมื่อทำ การปล่อยบอลลูนให้ผู้ใช้งานกลับ มายังแผงสายอากาศ(ANTANA)และให้สังเกต ว่าแผงสายอากาศทำ การติดตามตรงกับ บอลลูนหรือ รื ไม่
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 17.หากบอลลูนไม่ตรงกับแผงสายอากาศ (ANTANA)ให้ทำ การคอนโทรน อุปกรณ์RTH21 โดยกดปุ่ม AUTO/MANUAL – CMD–ENTERอีกครั้งเพื่อให้แผงสายอากาศ เป็น MANUAL แล้วกดปุ่มลูกศรโดยการ เลือกเคอร์เ ร์ซอร์ - หรือ รื- ปุ่มเคอร์เ ร์ซอร์ หรือ รื เมื่อเห็นว่าแผงสายอากาศตรงกับ บอลลูนแล้วจึงกดปุ่มAUTO/MANUAL–CMDENTER เพื่อทำ การ AUTOTRACKอีกครั้ง
RADIOSONDE การตรวจด้วยวิธีเรดิโอซอนด์ (RADIOSONDE) และการอัดบอลลูน 18. เฝ้าทำ การติดตาม วิทยุหยั่งอากาศ และ แผงสายอากาศโดยสังเกต มุมAzimuth และ มุม Elevation 19. สังเกตการณ์ทำ งานของ SENSOR วัดค่า ความกดอากาศ อุณหภูมิ ความชื้น ว่าทำ งาน ปกติหรือ รื ไม่ 20. ทำ การตรวจจนกล่าวบอลลูน แตก หรือ รื ตกเป็นอิสระ 21. ทำ การ save ข้อมูล และ รหัสข่าว TEMP ตามขั้นตอน 22. นำ รหัสข่าวที่ได้มากรอกลงในโปรแกรม METNET เพื่อรายงานข่าวให้สำ นักสื่อสารกรม อุตุนิยมวิทยา
ทําการตรวจเวลา 13.00 น. (0600UTC) ทำ การตรวจด้วยซอฟต์แวร์ปร์ ฏิบัติการ imetos-II โดยใช้เครื่องวิทยุหยั่งลง ความถี่ 403 MHz และเสาอากาศติดตาม แบบ iMet-1790 ผลการตรว => ทิศทาง / ความเร็ว ร็ ลม RADIOWIND การตรวจด้วยวิธี Radiowihd ความถี่ 403 MHz
RADIOWIND อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ เสาอากาศติดตาม iMet-1790 Hand help
RADIOWIND อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ วิทยุหยั่งลม ความถี่ 403 MHz บอลลูน 300แกรม
RADIOWIND อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ แก๊สไฮโดรเจน สำ หรับ รั รรจุบอลลูน เชือก
RADIOWIND อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ ร่ม ร่ ชูชีพ ซอฟแวร์ร ร์ ะบบ iMetOS-ll
1.เตรีย รี มบอลลูนโดยนำ บอลลูน 300 กรัม รั ไปอัดแก๊สไฮโดรเจนเข้าไป ในบอลลูน 2.การนำ บอลลูนมาสวมกับท่อ แล้ว แล้วหมุนวาว ปล่อยแก๊สจากนั้น ค่อยๆ หมุนเปิดวาวของเซฟตี้ เพื่อ ให้แก๊สเข้าไปในบอลลูนช้า ๆ RADIOWIND วีิธีการตรวจ
RADIOWIND วิธีการตรวจ 3.ทำ การถ่วงบอลลูนด้วยตุ้มเหล็กถ่วงน้ำ หนักขนาด 1500 กรัม รั จากนั้นปล่อยแก๊ส จนกระทั่งบอลลูนขยายจนสามารถยกตุ้ม เหล็กให้ลอยได้ยกอิสระหรือ รื ลูกตุ้ม ลอยตัวยกขึ้น จนน้าหนักจาก 3.5 กิโลกรัม รั เหลือ 2.0 กิโลกรัม รั 4.ใช้เชือกยาวผูกบอลลูนให้แน่นเพื่อ ไม่ให้แก๊สรั่วนำ บอลลูนออกมาจาก โรงการเพื่อผูกเครื่องวิทยุหยั่งลมให้ ติด กับบอลลูนและผูกร่ม ร่ ชูชีพติดกับ เครื่องวิทยุหยั่งลม 5.เริ่มต้นการทํางานโปรแกรม iMetOS-11
6.ทำ การปรับ รั ค่าความถี่ให้ตรงกับวิทยุหยั่ง ลมให้เสา อากาศติดตาม inset-1790 หุ้น ตามวิทยุหยั่งลม 7.ปล่อยบอลลูน 8.บันทึกข้อมูลที่วิทยุส่งมาเรื่อย ๆ จนกว่า บอลลูนจะแตกหรือ รื ไม่มีสัญญาณ 9 ทำ การ save ข้อมูล และ เขียนรหัสข่าว PILOT ตามขั้นตอน 10 นำ รหัสข่าวที่ได้มากรอกลงใน โปรแกรม METNET เพื่อรายงานข่าวให้สำ นักสื่อสาร กรมอุตุนิยมวิทยา RADIOWIND วิธีการตรวจ
PILOT BALLON อุปกรณ์ทีใช้ในการตรวจ กล้องธีโอโดไลท์ ซอฟแวร์ร ร์ ะบบTEBAL Control
PILOT BALLON โคมกระดาษ+เทียน บอลลูน 100 แกรม อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ
PILOT BALLON ไฮโดรเจน เชือก อุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจ
PILOT BALLON วิธีการตรวจ 1. เตรีย รี มบอลลูนโดยนักบอลลูน 100 กรัม รั ไปอัดแก๊ส ไฮโดรเจนเข้าไปในบอลลูน 2. นำ บอลลูนมาสวมกับท่อแล้วแล้วหมุน วาวปล่อย แก๊สจากนั้นค่อย ๆ หมุนเปิด วาร์ว ร์ ของเซฟตี้เพื่อให้ แก๊สเข้าไปใน บอลลูนช้า ๆ
PILOT BALLON วิธีการตรวจ 3.ทำ การถ่วงบอลลูนด้วยตุ้มเหล็กถ่วงน้ำ หนักจากนั้นปล่อย การจนกระทั่งบอลลูน บายจนสามารถยกตุ้มเหล็ก น้ำ หนัก 500 กรัม รั ให้ลอยได้ยกอิสระ หรือ รื ลูกตุ้ม ลอยตัวยกขึ้นจน นํ้าหนักลูกตุ้มลดลง 4 .ใช้เชือกยาวผูกบอลลูนให้แน่นเพื่อไม่ ให้ก๊าซรั่วออกมา เมื่อปลายเชือกให้ยาวซัก 5-7 เมตร นำ บอลลูนออกมาจาก โรงก๊าซ เพื่อเตรีย รี มปล่อย ผูกติดกับโคมกระดาษ
5.จุดไฟโคมที่ผูกติดกับบอลลูนขนาด 100 แกรม (ใช้ทำ การตรวจเวลา 01.00 น.) 6.ทำ การปล่อยบอลลูน เริ่มจับเวลา ติดตามการ เคลื่อนตัวของ บอลลูนแล้วบันทึกค่ามุมสูง - มุน นอน 7.ใช้กล้องธีโอโดไลท์ส่องและจดค่ามุมทุก 1 นาที ตั้งแต่นาทีที่ 1 ถึงนาทีที่ 11 และนาทีคี่ คือ 13,15,17 เรื่อยไป จนถึงนาทีที่ 59 หรือ รื จนกว่าจะมองไม่เห็นบอลลูน PILOT BALLON วิธีการตรวจ
PILOT BALLON วิธีการตรวจ 8. นำ ค่าที่จดไว้มากรอกลงในโปรแกรมเพื่อหา ทิศทาง และความเร็ว ร็ ลม 9. ตรวจสอบความถูกต้องของรหัสข่าว 10. นำ รหัสข่าวที่ได้มากรอกในโปรแกรม METNET เพื่อรายงานให้กรมอุตุนิยมวิทยา
ข่าวPILOT เป็นข้อมูลจากกการ รายงานสภาพอากาศของลมชั้นบนซึ่ง ประกอบไปด้วยข้อมูลทิศทาง และ ความเร็ว ร็ ลมที่ตรวจวัดจากสภานีตรวจ ภาคพื้นดิน จากการตรวจวิธี PILOT BALLON ข่าวการตรวจอากาศชั้นบน
การส่งรหัสข่าว การส่งรหัสข่าว PILOT PPAA YYGGa4 II iii 55nP1P1 ddfff ddffff ddfff 7HmHmHmHm dmdmfmfmfm (4VbVbVaVa) (77999) PPBB YYGGa4 IIiii 9tnU1U2U3 ddfff ddffff ddfff 21212 nono PoPoPo dodofofofofo n1n1P1P1P1 d1d1f1f1f1 nnnnPnPnPn dndnfnfnfn PPCC YYGGa4 IIiii 55nP1P1 ddfff ddffff ddfff 7HmHmHmHm dmdmfmfmfm (4VbVbVaVa) (77999) PPDD YYGGa4 IIiii 9tnU1U2U3 ddfff ddffff ddfff (21212 n1n1 P1P1P1 d1d1f1f1f1 nnnnPnPnPn dndnfnfnfn)
PPAA 57002 48453 55385 27017 26018 23011 55340 00501 02514 05525 55320 05024 05036 09534 77999= PPBB 57002 48453 90/12 20004 22510 24013 90346 24018 25018 29015 90789 29516 29518 28017 91246 25523 23021 22520 9205/ 23510 35001 9305/ 03512 05518 9405/ 05526 02032 9504/ 07535 08044= PPCC 57002 48453 55270 08531 08541 77999= PPDD 57002 48453 9605/ 06524 07539 9705/ 09041 02514= ตัวอย่างข่าว PILOT
PPAA 57002 48453 55385 27017 26018 23011 55340 00501 02514 05525 55320 05024 05036 09534 77999= ข่าว PILOT PART A PPAA คือ การรายงานข่าวทิศทาง และ ความเร็ว ร็ ลมที่ระดับความกดมาตรฐาน โดย เริ่มต้นที่ระดับ ผิวพื้นต่อมาจะเป็นระดั ความกดมาตรฐาน คือ 850 ถึง 100 hPa
ข่าว PILOT PART A 0 = Radiosonde ความถี่ 1680 MHz 1 = กล้องธีโอโดไลท์ (Optical theodolite) 2 = Rawinsonde ความถี่ 403 MHz 3 = ตรวจด้วยเรดาร์ 4 = เครื่องมือมีเครื่องวัดความกดอากาศ แต่ตัววัดความ กดอากาศเสีย
ข่าว PILOT PART B PPBB คือ การรายงานลมตั้งแต่ระดับผิว พื้น จนถึงระดับสุดท้าย โดยเริ่มต้น 1,000 ft สิ้นสุดที่ระดับสุดท้ายที่ 54,000 ft PPBB 57002 48453 90/12 20004 22510 24013 90346 24018 25018 29015 90789 29516 29518 28017 91246 25523 23021 22520 9205/ 23510 35001 9305/ 03512 05518 9405/ 05526 02032 9504/ 07535 08044=
ข่าว PILOT PART B 0 = Radiosonde ความถี่ 1680 MHz 1 = กล้องธีโอโดไลท์ (Optical theodolite) 2 = Rawinsonde ความถี่ 403 MHz 3 = ตรวจด้วยเรดาร์ 4 = เครื่องมือมีเครื่องวัดความกดอากาศ แต่ตัววัดความ กดอากาศเสีย
ข่าว PILOT PART C PPCC คือ การรายงานทิศทางและ ความเร็ว ร็ ลม ต่อจาก part a ที่ความกด ระดับมาตรฐาน ต่ำ กว่า 100mb จนถึง 10mb PPCC 57002 48453 55270 08531 08541 77999=
ข่าว PILOT PART C 0 = Radiosonde ความถี่ 1680 MHz 1 = กล้องธีโอโดไลท์ (Optical theodolite) 2 = Rawinsonde ความถี่ 403 MHz 3 = ตรวจด้วยเรดาร์ 4 = เครื่องมือมีเครื่องวัดความกดอากาศ แต่ตัววัดความ กดอากาศเสีย
ข่าว PILOT PART D PPDD คือ การรายงานทิศทางและ ความเร็ว ร็ ลม ต่อจาก part B ตั้งแต่ ระดับมากกว่า 54,000 ft จนถึงระดับ 95,000 ft PPDD 57002 48453 9605/ 06524 07539 9705/ 09041 02514=
ข่าว PILOT PART D 0 = Radiosonde ความถี่ 1680 MHz 1 = กล้องธีโอโดไลท์ (Optical theodolite) 2 = Rawinsonde ความถี่ 403 MHz 3 = ตรวจด้วยเรดาร์ 4 = เครื่องมือมีเครื่องวัดความกดอากาศ แต่ตัววัดความ กดอากาศเสีย
ข่าวการตรวจอากาศชัั้นบน จากการตรวจด้วยวิธี RAWINSONDE ข่าว TEMP เป็นข้อมูลจากการ รายงานสภาพอากาศชั้นบน ซึ่ง ประกอบด้วยข้อมูลของความกด อากาศ อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ ทิศทาง และความเร็ว ร็ ลมที่ตรวจวัด จากสถานีตรวจอากาศภาคพื้นดิน
ตัวอย่างข่าว TEMP TTAA 70001 48453 99012 26456 10002 00120 25458 10005 92802 22056 10516 85532 16836 08010 70160 06461 02010 50586 08381 0102 8 40757 14391 29024 30969 30770 23534 25096 42157 15543 20243 52956 22051 15422 67157 2549 10658 81556 21523 88999 77999 31313 44102 82339= TTBB 7000/ 48453 00012 26456 11845 16433 22775 12658 33731 08656 44715 08061 55653 03464 66644 05281 77602 01280 88597 0229 3 99596 02492 11568 00289 22499 08382 33494 07593 44472 07999 55372 17390 66344 21180 77240 44956 88239 44956 99226 46561 11195 54550 22169 61359 33140 70356 44134 71560 55100 81556 21212 00012 10002 11956 10517 22894 10013 33852 08510 44818 04010 55774 03510 66733 00513 77669 06006 88632 0 2510 99579 00515 11503 01028 22472 36022 33379 25525 44308 24035 55260 16542 66249 15043 77239 14541 88223 18033 99212 2054 0 11196 22052 22141 19542 33114 25027 44100 21523 31313 44102 82339 41414 /////= PPBB 70000 48453 90/12 10002 10511 10517 90357 10515 08510 03511 91025 00512 05506 01014 9168/00515 01 021 9205/ 01026 29525 9305/ 24536 17541 9405/ 20538 21047 9504/ 20537 23520= TTCC 70005 48453 70858 78962 17506 50057 70171 25025 88917 83356 19017 77999 31313 44102 82339 TTDD 7000/ 48453 11917 83356 22818 79161 33704 79761 44615 69770 55574 68572 66478 70571 21212 11888 18015 22861 18513 3384 4 19510 44737 00000 55530 23024 66478 27022 31313 44102 82339= PPDD 70000 48453 96059 33006 23009 27022=
การถอดรหัสข่าว TEMP ตารางแสดงอุณหภูมิ +,- หมายเหตุ ตั้งแต่ผิวพื้นถึง 700 mb อุณหภูมิเข็น (+) จุดทศนิยมเลขคี่ ให้ปัดลง (เลขคู่ รายงานเหมือนเดิม) : เช่น 14.1 รายงานเป็น 14.0 - ตั้งแต่ 500 mb ขึ้นไป อุณหภูมิเป็น จุดทศนิยม เลบดูให้ ปิดขึ้น (เลขรายงานเหมือนเดิม) เช่น -5.0 รายงานเป็น 5.1
การถอดรหัสข่าว TEMP ตารางแสดงจุดน้ำ ค้าง ผลต่างค่า DD อุณหภูมิ - อุณหภูมิจุดน้ำ ค้าง = ผลต่าง T - Td = DD ผลต่าง 0.0 - 5.0 รายงานตรงตัว (ความชื้นมาก) ผลต่าง 5.1 - 5.5 รายงาน 50 (ความชื้นกลาง) ผลต่าง 5.6 ปัดเป็น 6 แล้ว +50 (ความชื้นน้อย)
ข่าว TEMP PART A TTAA คือ การรายงานข่าวทิศทาง ความเร็ว ร็ ลม และอุณหภูมิที่ระดับความกดมาตรฐาน โดยจะเริ่มต้นที่ระดับผิวพื้นต่อมาจะเป็น ความกดมาตรฐาน คือ 925,850,700,500,400 ,300,250,200,150,100 Mb โดยระดับสุดท้ายจะอยู่ที่ระดับ 100 Mb
ข่าว TEMP PART B TTBB คือ การรายงานข่าวระดับซ่อมของ อุณหภูมิความชื้นสัมพัทธ์ และทิศทาง ความเร็ว ร็ ลม ซึ่งการอ่านระดับสังเกต จาก เลขคู่หน้าจะซ้ำ กัน โดยเริ่มตั้งแต่ 00,11 จนถึง 99 ถ้ายังมีระดับสูงขึ้นไป ให้มาเริ่ม ต้นที่ 11 ใหม่ และไปสิ้นสุดที่ ระดับ สุดท้ายที่ 100 Mb
ข่าว TEMP PART C TTCC คือ การรายงานกรุ๊ปรุ๊ นี้จะรายงานที่ ความกดมาตรฐานที่ความกดต่ำ กว่า 100 Mb ระดับหลักตั้งแต่ 70, 50, 30, 20 และ 10 Mb