The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่ 5 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฐพล หนูจีนจิตร, 2020-09-07 10:01:37

บทที่ 5 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา

บทที่ 5 การลำดับเหตุการณ์ทางธรณีวิทยา

E-Learning/E-Books
Click

บทที่

การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Sequence of Geological Events

อาจารย์ ณัฐพล หนจู ีนจติ ร

สาขาวิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี
เอกสารประกอบการเรียนวชิ าวิทยาศาสตรโ์ ลกทัง้ ระบบ / ธรณวี ทิ ยาทั่วไป Version 07.09.2563
E-Learning: https://sites.google.com/sru.ac.th/nattaphon E-Books: https://anyflip.com/bookcase/xwefj

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
หวั ข้อบรรยาย

5.1) การลาดบั ชนั้ หนิ
5.2) อายุทางธรณวี ทิ ยา
5.3) ซากดกึ ดาบรรพ์
5.4) มาตราธรณีกาล

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด

1. สร้างแบบจาลองที่อธิบายการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์และคาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดีตของซากดกึ ดาบรรพ์ (สาระที่ 3 ว 3.2 ป.6/3)
2. วเิ คราะห์หลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่ีพบในปัจจบุ ัน และอธิบายลาดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยาในอดตี (สาระที่ 3 ว 3.2 ม. 6/7)

2

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชัน้ หนิ

Grand Canyon

 จากภาพหินบรเิ วณดงั กลา่ วเปน็ หินประเภทใด สงั เกตจากอะไร
 บรเิ วณดังกลา่ วมกี ารเปล่ียนลกั ษณะไปจากอดีตหรอื ไม่ อยา่ งไร
 ปัจจัยใดทาใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลงลกั ษณะของหินบรเิ วณน้ี
 ลกั ษณะของหนิ ในพน้ื ที่ปรากฏเหน็ ในปัจจุบนั สามารถอธบิ ายลาดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยาไดห้ รือไม่ อย่างไร

3

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้ันหนิ
กจิ กรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง

▪ ทรายสชี น้ั ที่ 1 ทีเ่ ทลงอันดบั แรกจะอยู่ดา้ นล่างสุดของภาชนะ
▪ ทรายสีชั้นที่ 2 ท่เี ทถดั มาจะอยูบ่ นทรายชั้นท่ี 1 และ
▪ ทรายช้ันท่ี 3 ท่เี ทเปน็ ลาดับสุดท้ายและจะอยชู่ ัน้ บนสดุ ของภาชนะ โดยทรายแต่ละสีจะมี

การกระจายตวั ทว่ั ภาชนะตามแนวราบของพื้นภาชนะ

ปรากฏการณ์ในธรรมชาติ

▪ ในธรรมชาติ ตะกอนมกี ารสะสมตวั ในแนวนอนขนานหรือเกือบขนานกับพื้นผวิ โลก
อนั เนื่องมาจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก และแพร่ขยายทั่วแอง่ สะสมตะกอน

▪ ชนั้ หินตะกอนท่ีอย่ลู ่างสุด เกดิ จากการตกสะสมตัวก่อน จะมอี ายุแกก่ ว่าตะกอนทว่ี างตวั อยูด่ ้านบน

4

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ช้นั หนิ
 สรปุ กจิ กรรมสบื เสาะจากแบบจาลอง

▪ นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ดส้ งั เกตการวางตวั ของช้ันตะกอนที่กาลังสะสมตัวในหลายบริเวณ พบว่า
ชน้ั ตะกอนมีการวางตัวในแนวนอนหรอื เกือบขนานกับพ้ืนโลก และกระจายตวั อยู่
ทว่ั แอ่งสะสมตะกอน เรียกว่า กฎชัน้ แนวนอน

▪ ตะกอนมีการสะสมตัวในแอ่งสะสมตะกอน โดยตะกอนท่ีมกี ารสะสมตัวก่อนจะวางตัวเปน็ ช้ัน
อยู่ด้านลา่ งสุดของแอง่ สะสมตะกอนและตะกอนทส่ี ะสมตัวภายหลงั จะวางตัวเป็นช้นั ปิดทับ
ดา้ นบน ดังนนั้ ช้นั ตะกอนท่ีวางตวั อยูล่ า่ งสุดของแอง่ สะสมตะกอนจะมีอายแุ ก่ที่สุดและ
ช้นั ตะกอนทีว่ างตวั อยู่บนสุดจะมีอายอุ ่อนสุด เรยี กว่า กฎการลาดับช้ัน

 การเปลีย่ นแปลงของชั้นหินเกิดได้จากสาเหตุใดบ้าง อยา่ งไร

5

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชั้นหิน

สถานการณ์ "นกั ธรณวี ิทยาสารวจพ้ืนทห่ี น่ึงพบหินอคั นีตัดแทรก กจิ กรรมสืบเสาะจากแบบจาลอง
เข้าไปในช้ัน หนิ ตะกอน 3 ชนิด ทีว่ างตัวซ้อนทบั กันในแนวราบ
และในพน้ื ทเี ดียวกนั นี้ยงั พบรอยเลอื่ นตัดผา่ นหนิ อัคนี" ▪ ดนิ น้ามันเปน็ ตัวแทนของหนิ ตะกอนและหินอคั นี
▪ หินตะกอนแตล่ ะชนดิ แทนดว้ ยดนิ น้ามันในสแี ตกต่างกัน
▪ หนิ ตะกอนชนดิ ที่ 1 มีการสะสมตัวก่อนและอยลู่ า่ งสุด จากนั้น

ถูกปิดทับดว้ ยหนิ ตะกอนชนิดท่ี 2 และ 3 ตามลาดบั
▪ หินตะกอนชนดิ ที่ 1 จงึ มีอายแุ กท่ ่สี ุด และหนิ ตะกอนชนิดที่ 2

มีอายุแกก่ ว่าหนิ ตะกอนชนิดท่ี 3
▪ เม่อื มกี ารแทรกดันของหินอคั นี คือ ดินน้ามนั สีท่ี 4 ผา่ นหนิ ตะกอน

ทง้ั 3 ชนดิ ทาใหห้ ินอัคนดี งั กล่าวมีอายุออ่ นกวา่ หินตะกอน

6

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้นั หนิ

ปรากฏการณ์ในธรรมชาติ

▪ หนิ ตะกอนมกี ารสะสมตัวกอ่ น ต่อมามีการแทรกดันของหนิ อคั นี

แลว้ มรี อยเลอ่ื นตดั ผ่านหนิ อัคนี เนือ่ งจาก
▪ กฎชน้ั แนวนอน ทว่ี า่ ตะกอนจะทบั ถมเป็นช้นั ในแนวนอนและขนาน

หรอื เกอื บขนานกับพน้ื ผวิ โลก
▪ กฎการลาดับชน้ั ท่วี ่า ชนั้ หินท่ีวางตวั อยดู่ ้านลา่ งจะมอี ายแุ กก่ วา่ ชั้น

หนิ ทว่ี างตัวปดิ ทับอยู่
▪ เม่อื มกี ารแทรกดนั ของหนิ อัคนใี นช้ันหนิ ตะกอน จงึ ทาใหเ้ ราทราบ

วา่ หินอคั นีน้ันมอี ายอุ ่อนสดุ ในพนื้ ท่ี ซงึ่ เปน็ ไปตาม

กฎความสมั พนั ธก์ ารตัดผา่ น

▪ ในธรรมชาติ รอยเล่ือนอาจเกิดไดห้ ลายรูปแบบ

▪ รอยเลื่อนอาจมีการตดั ผา่ นในแนวดิ่ง โดยมกี ารตัดผา่ นหินตะกอนท้งั 3 ชน้ั แต่ไม่ตัดผ่านหินอัคนี

ซ่งึ กรณีดังกล่าวอาจจะบอกได้ยากวา่ เหตกุ ารณใ์ ดเกิดข้นึ กอ่ นกัน ซงึ่ อาจต้องใช้ข้อมูลทาง

ธรณีวทิ ยาอื่น ๆ ประกอบร่วมด้วย 7

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชั้นหนิ

❑ จากรูปใหล้ าดบั เหตุการณ์ทางธรณวี ิทยาจากเหตุการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ กอ่ นไปเหตกุ ารณท์ ่เี กิดขน้ึ หลังสดุ
❑ จากรปู ลาดบั ชน้ั หนิ ต่อเน่ืองคู่ใดทีม่ ีชว่ งเวลาแตกต่างกนั มากที่สดุ เพราะเหตุใด

8

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชั้นหิน

9

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชัน้ หิน

❑ ช้ันหนิ ก เปน็ หนิ ตะกอนท่ีมกี าระสมตัวก่อนและมกี ารสะสมตวั ของหนิ ตะกอนช้ัน ข ค ง จ ฉ ปิดทบั ซ้อนข้ึนมา ชน้ั หนิ ตะกอน ก จงึ มีอายุแก่สดุ
❑ จากนน้ั มรี อยเลือ่ นปกติ ช ตดั ผ่านช้ันหินทกุ ช้นั ทาใหร้ อยเลือ่ นเปน็ เหตกุ ารณ์ทีม่ อี ายอุ ่อนสุด

10

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชั้นหิน
กฎของชน้ั แนวนอน (Law of Original Horizontality)

▪ ตะกอนจะทบั ถมเป็นชนั้ ในแนวนอนและขนานหรอื
เกือบขนานกับพนื้ ผวิ โลก

Law of original horizontality
▪ sedimentary layers and lava flows were originally

deposited as relatively horizontal sheets, like a
layer cake
▪ if they are no longer horizontal or flat it is because
they have been displaced by subsequent
movements of earth's crust

11

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ชนั้ หิน
กฎของการลาดับชน้ั (Law of Superposition) ▪ ชนั้ ตะกอนท่ีวางตัวอยู่ล่างสุดของแอ่งสะสมตะกอนจะมี
อายแุ กท่ สี่ ดุ และชน้ั ตะกอนทวี่ างตัวอยบู่ นสุดจะมอี ายุ
อ่อนสดุ

▪ ใช้กับชั้นลาวาที่ไหลมาปิดทับชัน้ หนิ อ่นื ๆ
▪ ชัน้ หินต่าง ๆ มีการสะสมตัวอยู่ในแนวราบ

และหนิ ไมถ่ ูกแปรสภาพจนเกิดการพลกิ กลับของช้นั หนิ

Law of Superposition
▪ in an undisturbed sequence of strata or lava flows, the

oldest layer is at the bottom of the sequence, the
youngest is at the top

12

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้นั หิน
กฎของชนั้ ต่อเนื่อง (Law of Lateral Continuity) ▪ การตกสะสมตวั ในแนวราบที่มีการกระจายตัวตอ่ เนือ่ งตลอด
ทัง้ แนว นแอง่ สะสมตะกอน

▪ ตวั อยา่ งเช่น การสะสมตวั อย่างต่อเนื่องในอทุ ยาน แกรนด์แคนยอน
รฐั อรโิ ซนา ประเทสหรัฐอเมรกิ า

▪ สงั เกตได้วา่ บางบรเิ วณทีช่ ัน้ หนิ ขาดหายไปเนอื่ งจากการผุพังหรือ
ถูกกัดเซาะ แต่ยงั พบว่าชนั้ หินมีความเชอื่ มโยงกนั ท้งั สองด้านของ
หนา้ ผาชนั ตลอดทั้งแนวเปน็ ชน้ั หนิ เดียวกัน

Law of Lateral Continuity
▪ Lava flows and strata extend laterally in all directions until they thin

to nothing (pinch out) or reach the edge of their basin of deposition

13

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click

5.1) การลาดบั ชั้นหิน Sequence of Geological Events

กฎของความสมั พันธก์ ารตดั ผ่าน (Law of Cross Cutting Relationships)

▪ รอยเล่อื น หรือหินอัคนี จะมีอายนุ ้อยกว่าหินทร่ี อยเล่ือนตัดผ่าน
หรอื หนิ ที่ถูกหนิ อัคนแี ทรกตัวเข้าไป

▪ เม่อื มกี ารแทรกดันของหนิ อัคนีในชัน้ หินตะกอน จงึ ทาใหเ้ ราทราบ
ว่าหินอัคนนี ัน้ มอี ายุออ่ นสุดในพื้นที่

Law of Cross Cutting
▪ Any feature that cuts across a body of sediment must be

younger than the rock or sediment that it cuts across

14

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ชั้นหิน
กฎของหนิ แปลกปลอม (Law of Inclusions) 15

▪ เศษหินท่ีอยูภ่ ายในชั้นหิน
จะมอี ายุแก่กว่ามวลหนิ นั้น

Law of Inclusion
▪ Any piece of rock that has

become included in another
rock or body of sediment must
be older than the rock or
sediment into which it has
been incorporated

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชนั้ หนิ
กฎของหินแปลกปลอม (Principle of Inclusions)

16

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้นั หนิ
Steno’s Laws of Stratigraphy ❑ กฎช้นั แนวนอน (law of original horizontality)
ช้ันหิน มี การสะสมตวั เปน็ ช้นั ๆ ในแนวราบ (แนวนอน)

❑ กฎช้ันต่อเนื่อง (law of lateral continuity)
ชน้ั หิน มี การวางตวั ต่อเนือ่ ง ในแนวราบ

❑ กฎการลาดบั ชนั้ (law of superposition)
ช้ันหิน ทม่ี ีอายุ น้อยกวา่ จะวางตัวอยู่ ด้านบน

❑ กฎความสัมพันธก์ ารตดั ผ่าน
(law of cross cutting relations)
รอยเลื่อนหรือหนิ อคั นี ที่ ตัดผ่าน ชน้ั หนิ
จะมอี ายุ นอ้ ยกว่า ชน้ั หนิ

❑ กฎของหินแปลกปลอม (law of Inclusions)
ชั้นหิน มอี ายุ นอ้ ยกว่า หินแปลกปลอม

17

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้นั หนิ
Steno’s Laws of Stratigraphy ❑ กฎช้นั แนวนอน (law of original horizontality)
ช้ันหิน มี การสะสมตวั เปน็ ช้นั ๆ ในแนวราบ (แนวนอน)

❑ กฎช้ันต่อเนื่อง (law of lateral continuity)
ชน้ั หิน มี การวางตวั ต่อเนือ่ ง ในแนวราบ

❑ กฎการลาดบั ชนั้ (law of superposition)
ช้ันหิน ทม่ี ีอายุ น้อยกวา่ จะวางตัวอยู่ ด้านบน

❑ กฎความสัมพันธก์ ารตดั ผ่าน
(law of cross cutting relations)
รอยเลื่อนหรือหนิ อคั นี ที่ ตัดผ่าน ชน้ั หนิ
จะมอี ายุ นอ้ ยกว่า ชน้ั หนิ

❑ กฎของหินแปลกปลอม (law of Inclusions)
ชั้นหิน มอี ายุ นอ้ ยกว่า หินแปลกปลอม

18

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ช้ันหิน
Steno’s Laws of Stratigraphy ❑ กฎช้นั แนวนอน (law of original horizontality)
ช้ันหิน มี การสะสมตวั เปน็ ช้นั ๆ ในแนวราบ (แนวนอน)

❑ กฎช้ันต่อเนื่อง (law of lateral continuity)
ชน้ั หิน มี การวางตวั ต่อเนือ่ ง ในแนวราบ

❑ กฎการลาดบั ชนั้ (law of superposition)
ช้ันหิน ทม่ี ีอายุ น้อยกวา่ จะวางตัวอยู่ ด้านบน

❑ กฎความสัมพันธก์ ารตดั ผ่าน
(law of cross cutting relations)
รอยเลื่อนหรือหนิ อคั นี ที่ ตัดผ่าน ชน้ั หนิ
จะมอี ายุ นอ้ ยกว่า ชน้ั หนิ

❑ กฎของหินแปลกปลอม (law of Inclusions)
ชั้นหิน มอี ายุ นอ้ ยกว่า หินแปลกปลอม

19

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ชนั้ หนิ
เหตกุ ารณท์ ี่หายไป → รอยชนั้ ไม่ต่อเนอ่ื ง (Unconformity)

กจิ กรรมสบื เสาะจากแบบจาลอง

▪ ดินนา้ มนั ชน้ั บนสุดทถ่ี กู ไมบ้ รรทดั ตัดนัน้ เป็นตัวแทนของหิตะกอนท่ีถูกกร่อนไป ทาให้

เห็นเป็นรอ่ งรอยการผุพงั และดนิ นา้ มนั กอ้ นใหมท่ วี่ างซอ้ นลงไป แทนการสะสมตัวของ

ตะกอนใหม่บนร่องรอยท่เี กิดการกรอ่ นน้นั

ปรากฏการณ์ในธรรมชาติ
▪ กระบวนการท่หี ยุดการสะสมตัวของตะกอนอาจมไี ด้หลายสาเหตุ เช่น การแทรกดนั

ของหนิ อัคนี การยกตวั ของเปลือกโลกการเปล่ยี นแปลง การข้ึนลงของน้าทะเล

การเปลย่ี นแปลงภูมิอากาศ ทาใหพ้ ืน้ ท่ีน้นั ไมเ่ หมาะสมกบั การสะสมตะกอน

▪ รอยชัน้ ไมต่ ่อเนอื่ งทเี่ กิดข้ึนสามารถสงั เกตไดจ้ ากร่องรอยการกร่อนของชั้นหนิ หรือ

อายขุ องช้นั หนิ

สถานการณ์ - ถ้าชั้นหนิ ตะกอนดงั กลา่ วหยุดการสะสมตวั เป็นระยะเวลายาวนาน และในชว่ งระยะเวลาท่มี ีการหยดุ

สะสมตวั นั้นมกี ระบวนการผพุ ัง กรอ่ น และปรากฏรอ่ งรอยบนหินชัน้ บนสดุ จากน้ันในเวลาต่อมาเริ่มมตี ะกอนใหมม่ า

สะสมตวั บนช้นั หินทถ่ี ูกกรอ่ นไป" 20

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชั้นหิน
รอยชัน้ ไมต่ อ่ เนอ่ื งคงระดับ (Disconformity) 21

▪ เปน็ บรเิ วณที่ช้ันหนิ มีรอยขรขุ ระมี
ลกั ษณะสงู -ต่า ไมม่ ีการเอียงเทของช้ันหิน
เกิดจากการผุกรอ่ นหรือไมม่ กี ารทบั ถม
ของตะกอน แสดงให้เห็นถึงการขาดช่วง
ในการสะสมตัวของตะกอน

Disconformity
▪ unconformity between parallel strata or

lava flows
▪ most are very irregular surfaces and

pieces of the underlying rock are often
included in the strata above them

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดบั ชั้นหนิ
รอยชั้นไมต่ ่อเนอ่ื งแบบวางตวั ขนาน (Paraconformity)

▪ เป็นบรเิ วณที่เห็นรอยช้ันไมต่ อ่ เนอ่ื งไมช่ ัดเจน แตส่ ามารถบง่ บอกได้จาก
ชอ่ งวา่ งของอายขุ องชั้นหิน

22

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับชน้ั หิน
รอยชนั้ ไม่ต่อเน่ืองบนหินอัคนี (Nonconformity) 23

▪ เปน็ บริเวณรอยต่อของหนิ ตา่ งประเภทกัน
ซึ่งเกดิ จากการแทรกดันตวั ของแมกมา
เข้ามาในพน้ื ที่

Nonconformity
▪ An unconformity between younger

sedimentary rocks and subjacent
metamorphic or igneous rocks
▪ formed when stratified sedimentary
rocks or lava flows are deposited on
eroded igneous or metamorphic rocks

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.1) การลาดับช้นั หิน
รอยช้ันไมต่ ่อเน่ืองเชงิ มมุ (Angular Unconformity)

▪ เปน็ บริเวณทีห่ ินชุดล่างมกี ารวางตวั เอียงเท
กับชน้ั หินชุดบน

Angular Unconformity
▪ Unconformity between two sets of strata

that are not parallel to one another
▪ forms when new horizontal layers cover

up older layers folded by mountain-
building processes and eroded down to
nearly a surface level

24

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายทุ างธรณวี ทิ ยา
 โลกของเรามีอายุเทา่ ไร นักวทิ ยาศาสตร์สามารถหาอายขุ องโลกได้ อย่างไร
 การลาดับชน้ั หินสามารถนามาหาอายุทางธรณีวทิ ยาไดห้ รอื ไม่ อย่างไร
 นกั วทิ ยาศาสตร์สามารถหาอายทุ างธรณวี ทิ ยาได้ก่แี บบ อะไรบ้าง

▪ การหาอายทุ างธรณวี ิทยามี 2 แบบ คือ อายุเปรียบเทียบและอายสุ มั บรู ณ์
▪ อายุเปรยี บเทียบ เป็นการบอกอายเุ ชงิ เปรยี บเทียบ โดยหาอายแุ ก่กวา่ หรอื ออ่ นกวา่ กนั
▪ อายุสัมบรู ณส์ ามารถหาอายไุ ดจ้ ากธาตกุ มั มนั ตรังสใี นแรป่ ระกอบหนิ

25

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายุทางธรณีวิทยา
อายเุ ปรียบเทยี บ (Relative Age) ❑ กฎชน้ั แนวนอน (law of original horizontality)
ช้นั หนิ มี การสะสมตัวเปน็ ชัน้ ๆ ในแนวราบ (แนวนอน)
▪ อายเุ ปรียบเทยี บ (Relative Age) เปน็ การบอกถึงอายสุ ัมพัทธข์ องเหตุการณ์
ต่าง ๆ เพื่อท่ีจะสามารถเรียงลาดับการเกิดเหตุการณ์กอ่ นหลังได้ ไมส่ ามารถ ❑ กฎชนั้ ต่อเนอื่ ง (law of lateral continuity)
บอกอายุไดเ้ ป็นตวั เลขหรอื ระบเุ ปน็ ช่วงเวลาตามมาตราธรณีกาล จาเป็นต้อง ช้นั หิน มี การวางตัวต่อเนอื่ งในแนวราบ
อาศัยหลกั การตา่ ง ๆ ได้แก่
▪ กฎชน้ั แนวนอน (law of original horizontality) ❑ กฎการลาดับชนั้ (law of superposition)
▪ กฎชน้ั ตอ่ เนอ่ื ง (law of lateral continuity) ชนั้ หิน ท่มี อี ายุ นอ้ ยกวา่ จะวางตวั อยู่ ด้านบน
▪ กฎการลาดบั ชัน้ (law of superposition)
▪ กฎความสมั พนั ธ์การตดั ผา่ น (law of cross cutting relations) ❑ กฎความสมั พันธก์ ารตดั ผ่าน
▪ กฎของหนิ แปลกปลอม (law of Inclusions) (law of cross cutting relations)
รอยเลอื่ นหรือหินอัคนี ที่ ตัดผา่ น ช้นั หิน
จะมอี ายุ น้อยกว่า ชน้ั หนิ

❑ กฎของหินแปลกปลอม (law of Inclusions)
ชั้นหิน มีอายุ น้อยกวา่ หินแปลกปลอม

26

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายทุ างธรณีวิทยา
อายสุ ัมบูรณ์ (Absolute Age)

 ถา้ นักวิทยาศาสตร์ต้องการหาอายสุ มั บรู ณ์ของหินแกรนติ ซงึ่ มี
แรป่ ระกอบหินเปน็ ควอตซ์ เฟลดส์ ปาร์ ไมกา

 นักวทิ ยาศาสตรจ์ ะใช้แรช่ นิดใดในการหาอายหุ นิ แกรนติ เพราะเหตใุ ด

Quartz SiO2

Feldspars (KAl, CaNa)Si3O8

Amphibole / Hornblende (K,Na)0-1(Ca,Na,Fe,Mg)2(Mg,Fe,Al)5(Al,Si)8O22(OH)2

Mica (black)/ Biotite K(Mg,Fe)3AlSi3O10(F,OH)2
Zircon ZrSiO4

27

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายทุ างธรณีวทิ ยา
อายุสัมบูรณ์ (Absolute Age) 28

คร่งึ ชวี ติ (half life)

▪ อะตอมของธาตหุ ลายชนดิ สามารถเปลยี่ นแปลงจากธาตุ
หน่งึ ไปเป็นอีกธาตหุ นงึ่ ได้ โดยการสลายตวั

▪ การสลายตัวทาใหจ้ านวนโปรตอน และ/หรอื จานวน
นวิ ตรอนของธาตุ เกิดการเปลย่ี นแปลง เชน่ การสลายตัว
ของธาตุโปตสั เซยี ม (K) กลายเป็นธาตอุ ารก์ อน (Ar)
โดยการสญู เสยี โปรตอนไป 1 ตวั

▪ การสลายตัวของธาตุกมั มนั ตรงั สี เปน็ กระบวนการที่ทา
ใหธ้ าตุซึ่งไม่เสถียร กลายเปน็ ธาตุท่เี สถยี ร

▪ การสลายตวั ของธาตเุ กดิ ขน้ึ ไดห้ ลายลกั ษณะ ธาตุที่เปน็
ต้นกาเนิดของการสลายตวั ของธาตุเรยี กว่า ไอโซโทป
ตน้ กาเนิด (parent isotope) สว่ นธาตทุ ี่ได้จากการ
สลายตวั เรยี กวา่ ไอโซโทปลกู (daughter isotope)

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายุทางธรณวี ิทยา
อายสุ มั บูรณ์ (Absolute Age) 29

คร่งึ ชีวติ (half life)

▪ คร่งึ ชวี ิต คือ ระยะเวลาท่ีธาตกุ ัมมันตรังสใี ช้ใน
การสลายตัวไปคร่งึ หนึง่ ของปรมิ าณทั้งหมด
อัตราการสลายตวั นี้ไม่เปลย่ี นแปลงไปกบั ความดัน
อณุ หภมู ิ หรือกลไกทางเคมี

▪ การใช้การสลายตัวของธาตกุ ัมมันตรังสมี าใช้บอกเวลา
ในทางธรณวี ทิ ยา จงึ มีความแม่นยาสงู มาก

▪ จาเปน็ จะตอ้ งทราบถึงอตั ราการสลายตัวของธาตุนั้น ๆ

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายทุ างธรณีวทิ ยา
อายสุ ัมบูรณ์ (Absolute Age)

ครึ่งชีวิต (half life)

 แร่ชนดิ หนง่ึ มสี ่วนประกอบของธาตุกมั มนั ตรงั สี
ซึง่ มีคร่ึงชีวติ 10,000 ปี ปัจจบุ นั เหลือธาตุกัมมันตรงั สี
ต้งั ต้นอยู่รอ้ ยละ 25 แร่ตัวอยา่ งมอี ายเุ ท่าไร

▪ ธาตุกัมมันตรงั สีหน่ึงมปี ริมาณของไอโซโทปอยู่ร้อยละ 100 เม่อื เวลาผ่านไป 10,000 ปี

ธาตกุ มั มันตรงั สจี ะสลายไปครงึ่ หน่งึ จะเหลอื ปริมาณไอโซโทปอยู่รอ้ ยละ 50 ของปรมิ าณเดิม
▪ เม่ือเวลาผ่านไปอกี 10,000 ปี ธาตกุ มั มันตรงั สีดังกล่าวจะเหลอื ปรมิ าณไอโซโทปอยู่ร้อยละ 25 ของปริมาณเดิม
▪ แสดงวา่ ธาตกุ มั มนั ตรังสีผา่ นครึ่งชีวติ ไปจานวน 2 ชว่ ง
▪ ดังน้นั จงึ คานวณหาอายขุ องแรไ่ ดโ้ ดย นาจานวนครง่ึ ชวี ติ มาคณู กบั จานวนชว่ งชวี ติ 10,000 × 2 ปี = 20,000 ปี

▪ แร่มอี ายุ 20,000 ปี

30

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.2) อายุทางธรณวี ิทยา
อายสุ ัมบรู ณ์ (Absolute Age)

▪ พน้ื ทแ่ี นวโครงสร้างสุโขทัย มีการระเบิดของภูเขาไฟและการแทรกดนั ตวั ของหินอคั นี
▪ นาไปหาอายุหนิ เชน่ หนิ แกรนติ หนิ ไรโอไลต์ หนิ แอนดไี ซต์ ใช้วธิ ีการหากัมมันตรังสขี อง

แรป่ ระกอบหนิ โดยการวิเคราะหไ์ อโซโทปของธาตุยเู รเนยี มและธาตุตะกั่ว U238 / Pb205 และ

การหาอัตราการสลายตัวของ ธาตยุ เู รเนียมเปน็ ธาตตุ ะกัว่ ทอี่ ยู่ใน เซอร์คอน (zircon) ซง่ึ เป็น

แรป่ ระกอบหินดังกล่าว
▪ หนิ อคั นใี นพืน้ ทมี่ ีอายุอยใู่ นช่วงประมาณ 250-220 ลา้ นปี

31

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดกึ ดาบรรพ์

 ซากดกึ ดาบรรพ์ (fossil) คืออะไร
และมกี ระบวนการเกดิ ได้ อย่างไร

▪ ซากดึกดาบรรพเ์ ป็นซากหรอื รอ่ งรอยของส่งิ มีชีวติ ทง้ั พืชและ
สตั วท์ ถี่ ูกเกบ็ รกั ษาไวใ้ นช้ันหิน

▪ เมอ่ื สิ่งมชี ีวติ ตายไป จะถกู ปิด ทับถมจากตะกอนอยา่ งรวดเรว็
ทาใหถ้ กู เกบ็ รกั ษาไว้ในหินซึ่งจะคงสภาพใหเ้ ห็นทงั้ หมด หรือ
บางสว่ น หรือเพยี งร่องรอย ซึง่ กระบวนการนเ้ี รียกวา่
กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์ (fossilization)

ซากดกึ ดาบรรพ์ (ภาพ A) ไม้กลายเปน็ หิน โดยขบวนการกลายเป็นหนิ

(ภาพ B) การเกิดรอยพมิ พ์ และรูปพมิ พ์ (ภาพ C) ฟิล์มบาง ๆ ของซากแมลงจาก

กระบวนการเพิม่ คารบ์ อน (ภาพ D) รอยประทับของปลา (ภาพ E) แมลงทถี่ กู เก็บรักษา

ในยางไม้ (ภาพ F) มูลสัตวโ์ บราณ 32

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดึกดาบรรพ์

 ซากดกึ ดาบรรพถ์ ูกเก็บรักษาไวใ้ นรปู แบบใดบ้าง

กระบวนการเกดิ ซากดึกดาบรรพ์ (fossilization) ซากดกึ ดาบรรพ์ (ภาพ A) ไมก้ ลายเป็นหนิ โดยขบวนการกลายเปน็ หนิ

มีหลายลักษณะ ไดแ้ ก่

▪ การกลายเปน็ หิน (petrified) เกดิ จาก ช่องวา่ ง โพรง หรอื รูต่าง ๆ ใน
โครงสรา้ ง มีแรเ่ ขา้ ไปตกผลึกทาให้แขง็ ขน้ึ หรือเน้ือเยือ่ ผนงั เซลล์ และสว่ น
ของแข็งอ่ืน ๆ ถูกแทนทด่ี ้วยแรโ่ ดยขบวนการ การแทนที่ (replacement)

▪ รอยพิมพ์ (mold) เกดิ จาก เปลอื กหอย หรือสง่ิ มชี ีวิต ท่ีจมอยตู่ าม
ชั้นตะกอน เม่ือถกู ละลายไปกับนา้ ใตด้ ิน จะเกดิ เปน็ รอยประทบั อย่บู น
ช้นั ตะกอน หากชอ่ งว่างนีม้ แี รเ่ ข้าไปตกผลึกจะได้ซากดกึ ดาบรรพ์
ในลักษณะท่เี รียกว่า รปู พิมพ์ (cast)

(ภาพ B) การเกดิ รอยพมิ พ์ และรูปพิมพ์ (ภาพ C) ฟิล์มบาง ๆ ของซากแมลงจาก

กระบวนการเพ่ิมคาร์บอน (ภาพ D) รอยประทบั ของปลา (ภาพ E) แมลงท่ถี กู เก็บรกั ษา

ในยางไม้ (ภาพ F) มูลสตั วโ์ บราณ 33

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดึกดาบรรพ์

▪ การเพิ่มคาร์บอน (carbonization) เกิดในใบไม้ หรือสัตว์เล็ก ๆ โดย ซากดกึ ดาบรรพ์ (ภาพ A) ไม้กลายเป็นหนิ โดยขบวนการกลายเปน็ หนิ
ส่วนประกอบที่เป็นของเหลวและก๊าซถูกขับออกไป เหลือไว้แต่แผ่น
ฟิล์มบาง ๆ ของคาร์บอน ในชั้นตะกอนเนื้อละเอียด เรียกว่า (ภาพ B) การเกดิ รอยพมิ พ์ และรปู พมิ พ์ (ภาพ C) ฟลิ ์มบาง ๆ ของซากแมลงจาก
รอยประทับ (impression)

▪ สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่มีลักษณะบอบบาง เช่น พวกแมลง สามารถถูก
เกบ็ รกั ษาไวใ้ น อาพัน หรือ ยางไม้ (amber)

▪ ร่องรอย (tracks) ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น รอยคืบคลาน รอยตีน ที่อยู่ใน
ชน้ั ตะกอน / ช่อง รู โพรง (burrows) ในชั้นตะกอน ในเนื้อไม้ หรือในหิน
ที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต ต่อมามีแร่ไปตกผลึกในช่องเหล่านี้ และกลายเป็นหิน
ในเวลาต่อมา

▪ มูลสัตว์โบราณ (coprolites) หรือเศษอาหารที่อยู่ในกระเพาะเป็น
ซากดึกดาบรรพท์ มี่ ีประโยชน์ในการบอกถึงนิสัยการกินของสัตว์นั้น ๆ หรือ
อาจเป็น กรวดในกระเพาะ (gastroliths) ที่สัตว์กินเข้าไปเพื่อช่วยใน
การยอ่ ยอาหาร

กระบวนการเพิ่มคารบ์ อน (ภาพ D) รอยประทบั ของปลา (ภาพ E) แมลงท่ีถกู เกบ็ รกั ษา

ในยางไม้ (ภาพ F) มลู สตั วโ์ บราณ 34

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดกึ ดาบรรพ์
กฎการสบื สตั วชาติ
 ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (Index fossil)
คอื อะไร (Law of Faunal Succession)

 ซากดกึ ดาบรรพ์ดชั นแี ตกตา่ งจาก William Smith (1769-1839)
ซากดกึ ดาบรรพ์อย่างไร ▪ กล่มุ ของซากดกึ ดาบรรพ์ทอี่ ยใู่ นชั้นหิน

 ซากดกึ ดาบรรพ์ดชั นนี ามาหาอายุ สามารถเปรียบเทยี บกบั ลกั ษณะของ
ทางธรณีวิทยาได้อยา่ งไร กลมุ่ ของซากดกึ ดาบรรพใ์ นบริเวณอืน่
ทม่ี ีลกั ษณะการเรยี งลาดับท่ีเหมอื นกันได้

35

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดึกดาบรรพ์
36
ซากดกึ ดาบรรพด์ รรชนี (Index fossils)

▪ ซากของสิ่งมชี วี ิตที่เคยมีชวี ิตอยใู่ นโลกและมี
การแพรก่ ระจายอยู่ท่วั ไป แต่มชี วี ติ อยู่ในช่วงส้นั ๆ

▪ การทพ่ี บซากดึกดาบรรพด์ รรชนี ในช้นั หนิ ตา่ ง
บรเิ วณกัน นกั ธรณวี ทิ ยาสามารถกาหนดได้ว่า
หนิ ที่พบซากดึกดาบรรพด์ รรชนีเหลา่ นัน้
มอี ายใุ นชว่ งเดียวกัน

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.3) ซากดึกดาบรรพ์
37
ซากดกึ ดาบรรพ์ดรรชนี (Index fossils)
▪ ซากดกึ ดาบรรพ์ เปน็ ร่องรอย โครงร่างของสิง่ มชี วี ิต

พบมีหลายชนดิ ตงั้ แต่สตั วบ์ ก สัตว์นา้ พชื เช่น ไดโนเสาร์ นก
หอย แอมโมไนต์ ฟวิ ซลู นิ ิด ไทรโลไบต์ เฟิรน์ รอยตนี ไดโนเสาร์
▪ ซากดึกดาบรรพ์ดชั นี มีลักษณะเฉพาะ กระจายอยู่ทัว่ ไป
วิวัฒนาการจนกระทั่งสูญพนั ธ์ใุ นช่วงเวลาสน้ั ๆ ซึ่งมี
ความสาคัญในการช่วยหาอายทุ างธรณวี ิทยาได้ เช่น ฟวิ ซูลินิด
(parafusulina bosei) มีช่วงอายใุ นยคุ คารบ์ อนเิ ฟอรสั ถึงเพอร์
เมยี น ซ่ึงจะไม่พบซากดกึ ดาบรรพ์ดังกล่าวในหินช่วงอายุอืน่
▪ ชั้นหินทพี่ บซากดึกดาบรรพ์ดัชนีจะมีอายุของการสะสมตวั
ใกลเ้ คียงกับอายุที่ได้จากซากดึกดาบรรพด์ ชั นนี นั้

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณีกาล
38
มาตราธรณีกาล (geologic time scale)

▪ การลาดบั เหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา ตั้งแตก่ าเนิดโลกถึงปจั จบุ นั ที่ถูกแบ่ง
ออกเป็นชว่ งเวลาตา่ ง ๆ เพื่อนามาอธิบาวิวฒั นาการของสิ่งมชี วี ิตบนโลก
ทาใหท้ ราบความเป็นมาของโลก

▪ ไดจ้ ากการศกึ ษาหนิ และซากดึกดาบรรพ์ ทาให้นกั วิทยาศาสตร์สามารถ
คาดการณส์ ภาพแวดล้อมของพืน้ ทไี่ ด้

▪ ใชก้ ารเปล่ียนแปลงของส่ิงมชี วี ติ มาในการแบ่งชว่ งอายทุ างธรณีวิทยา เช่น
การสญู พันธค์ รั้งย่ิงใหญข่ องไดโนเสารใ์ นยคุ ครีเทเชยี ส

▪ มหายุค (era) เปน็ ช่วงเวลาท่ีแบ่งโดยอาศยั ส่งิ มชี ีวติ ทีพ่ บในชัน้ หนิ
ใน บรมยุคอาร์เคยี น และ โพรเทอโรโซอิก ไม่มีการจดั แบ่งเปน็ มหายคุ ส่วน
บรมยคุ ฟาเนอโรโซอกิ แบ่งออกเปน็ 3 มหายุค คือ พาลโี อโซอิก
(Paleozoic แปลวา่ ชีวิตโบราณ (old life)) มโี ซโซอิก (Mesozoic
แปลว่า ชวี ิตชว่ งกลาง (middle life)) และซโี นโซอิก (Cenozoic
แปลว่า ชีวิตปจั จุบัน (recent life))

▪ ชอื่ ของแตล่ ะมหายคุ บง่ บอกถึงวิวัฒนาการของส่งิ มีชีวติ ในแต่ละช่วง

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณกี าล
39
มหายุคพาลโี อโซอกิ (Paleozoic)

▪ ประกอบด้วย ซากดึกดาบรรพท์ ไ่ี มม่ กี ระดูกสนั หลังของ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยใู่ นทะเลเปน็ จานวนมาก

▪ ต่อมาในระยะหลงั พบซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์มีกระดกู
สันหลัง จาพวกปลา และสตั ว์สะเทินน้าสะเทินบก
แบบด่ังเดิม

▪ พชื บกยุคแรกเริม่ ปรากฏ มกี ารแพร่ขยายออกไปอยา่ ง

กว้างขวาง และมีววิ ัฒนาการอย่างมาก แบง่ ออกเป็น
▪ ยุคแคมเบรยี น (Cambrian)
▪ ยุคออรโ์ ดวิเชยี น (Ordovician)
▪ ยคุ ไซลเู รยี น (Silurian)
▪ ยุคดีโวเนยี น (Devonian)
▪ ยุคคาร์บอนิเฟอรัส (Carboniferous)
▪ ยุคเพอร์เมียน (Permian)

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณีกาล
40
มหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic)

▪ หนิ อายุมหายุคมโี ซโซอกิ ประกอบดว้ ยซากดึกดาบรรพ์
ของสัตวเ์ ลอื้ ยคลาน รวมทั้งไดโนเสาร์ ซึง่ แพร่กระจาย
ท่ัวไป และครอบครองแผ่นดินดว้ ย

▪ ซากดึกดาบรรพข์ องสงิ่ ที่มีชวี ติ ที่ไมม่ กี ระดูกสันหลัง มี
ลักษณะใกลเ้ คยี งกบั สงิ่ มชี ีวิตปัจจุบนั

▪ มวี ิวัฒนาการของพชื ดอก หนิ ทีพ่ บมักเกดิ ข้ึนในทะเล
แบง่ ออกเปน็

▪ ยุคไทรแอสซิก (Triassic)
▪ ยุคจแู รสซิก (Jurassic)
▪ ยุคครีเทเชยี ส (Cretaceous)

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณกี าล

▪ สงิ่ มชี ีวิตในช่วงมหายุคพาลีโอโซอกิ ส่วนใหญม่ ีโครงสรา้ งอย่างงา่ ย อาศยั อย่ใู น
ทะเล เมือ่ ใกลจ้ ะส้นิ มหายคุ พาลีโอโซอิก มวี วิ ฒั นาการของสัตว์คร่ึงบกครงึ่ น้าและ
สัตวเ์ ลอ้ื ยคลานท่ีอาศัยบนบก

▪ นักวทิ ยาศาสตร์สมมติฐานการสิ้นสดุ ของมหายคุ พาลีโอโซอกิ วา่
อาจเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดลอ้ มของมหาสมทุ ร

▪ มหายคุ มีโซโซอกิ เป็นยุคของสตั ว์เลอ้ื ยคลาน เชน่ ไดโนเสาร์ และยงั พบนก
▪ การส้ินสดุ ของมหายุคซมี โี ซโซอิกน้ัน นักวิทยาศาสตร์สมมตฐิ านว่าอาจเกิดจาก

การชนของอกุ กาบาต ทาใหเ้ กดิ การปกคลมุ ของฝุน่ ละอองในชน้ั บรรยากาศทา
ใหอ้ ุณหภมู ิเฉล่ียของบรรยากาศโลกเปล่ยี นไป

41

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตุการณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณกี าล
42
มหายุคซโี นโซอิก

▪ ซากดึกดาบรรพท์ พี่ บในมหายุคนี้ มีความสัมพันธ์
ใกลช้ ดิ กบั สิ่งมชี ีวติ ท่ีพบอยใู่ นปัจจุบนั ประกอบด้วย
สตั ว์เล้ียงลูกด้วยนม พชื และสัตวไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลัง

▪ มีหญ้าเกดิ ขน้ึ และกลายเป็นแหลง่ อาหารทส่ี าคัญของ
สัตวเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนมท่ีกินหญา้ แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ยคุ

▪ ยคุ เทอร์เชยี รี (Tertiary)
▪ ยุคควอเทอร์นารี (Quaternary)

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณ์ทางธรณีวิทยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณีกาล
human

43

E-Learning/E-Books 5. การลาดับเหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
5.4) มาตราธรณีกาล
human

ววิ ัฒนาการของสัตวม์ ีกระดกู สนั หลังตลอดช่วงธรณกี าล

44

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
ตวั ชว้ี ัด
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง/สาระการเรยี นรูเ้ พม่ิ เตมิ
เน้ือหา ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรเู้ พ่มิ เตมิ
ซากดึกดาบรรพเ์ กดิ จากการทบั ถมหรอื การประทบั รอยของสง่ิ มีชวี ิตในอดีต จนเกดิ เป็นโครงสรา้ งของซากหรือรอ่ งรอย
การเกดิ ป.6/3 สร้างแบบจาลองทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ซากดกึ ดาบรรพ์และ • ของสิ่งมีชีวติ ท่ปี รากฏอยใู่ นหนิ ในประเทศไทยพบซากดึกดาบรรพท์ ห่ี ลากหลาย เช่น พืช ปะการงั หอย ปลา เต่า
ซากดึกดาบรรพ์และ คาดคะเนสภาพแวดลอ้ มในอดตี ของซากดกึ ดาบรรพ์ ไดโนเสาร์ และรอยตนี สัตว์
สภาพแวดลอ้ มในอดตี ซากดึกดาบรรพส์ ามารถใช้เปน็ หลักฐานหน่ึงท่ีชว่ ยอธบิ ายสภาพแวดล้อมของพ้ืนท่ใี นอดตี ขณะเกดิ ส่งิ มีชีวิตนั้น เชน่
หากพบซากดกึ ดาบรรพข์ องหอยนา้ จืด สภาพแวดล้อมบรเิ วณน้นั อาจเคยเป็นแหลง่ นา้ จดื มากอ่ น และหากพบ
• ซากดึกดาบรรพข์ องพชื สภาพแวดล้อมบรเิ วณนัน้ อาจเคยเป็นปา่ มาก่อน นอกจากนซี้ ากดกึ ดาบรรพ์ยงั สามารถใช้ระบุ
อายุของหนิ และเป็นขอ้ มลู ในการศกึ ษาววิ ฒั นาการของสิง่ มีชวี ิต
การลาดบั ช้ันหินและ ม.6/7 วิเคราะหห์ ลักฐานทางธรณวี ิทยาท่ีพบในปจั จุบัน และ • การลาดบั ช้ันหนิ เปน็ การศึกษาการวางตวั การแผ่กระจาย ลาดบั อายุ ความสัมพันธ์ของชน้ั หิน รอยชน้ั ไมต่ อ่ เนอ่ื ง และ
หลักฐานทางธรณวี ิทยาอนื่ ๆ ทป่ี รากฏ ทาใหท้ ราบลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวิทยา การเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ ม
ธรณีกาล อธิบายลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณวี ิทยาในอดีต ววิ ฒั นาการของสิ่งมีชวี ิตทเ่ี กดิ ขนึ้ บนโลกต้งั แตก่ าเนดิ โลกจนถงึ ปัจจุบัน
หลกั ฐานทางธรณวี ิทยา ได้แก่ ซากดกึ ดาบรรพ์ หนิ และลักษณะโครงสรา้ งทางธรณี ซงึ่ นามาหาอายไุ ด้ ๒ แบบ ไดแ้ ก่
• อายเุ ปรียบเทยี บ คือ อายุของซากดกึ ดาบรรพ์ หิน และ/หรือเหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยา เมื่อเทยี บกับซากดึกดาบรรพ์ หนิ
และ/หรอื เหตกุ ารณท์ างธรณวี ทิ ยาอ่ืน ๆ และอายสุ ัมบรู ณ์ คอื อายทุ ่ีระบุเปน็ ตวั เลขของหนิ และ/หรอื เหตกุ ารณท์ าง
• ธรณวี ิทยาซง่ึ คานวณไดจ้ ากไอโซโทปของธาตุ
ขอ้ มูลจากอายุเปรียบเทยี บและอายุสมั บรู ณส์ ามารถนามาจัดทามาตราธรณีกาล คือ การลาดบั ชว่ งเวลาของโลกตง้ั แต่
เกิดจนถงึ ปจั จุบัน แบ่งออกเป็น บรมยุค มหายุค ยคุ และสมยั ซึ่งแต่ละช่วงเวลามสี ิ่งมชี วี ิต สภาพแวดล้อมและ
เหตกุ ารณ์ที่เกิดขึ้นแตกต่างกัน

45

E-Learning/E-Books 5. การลาดบั เหตกุ ารณท์ างธรณีวทิ ยา
Click
Sequence of Geological Events
มโนทัศน์

มโนทศั นท์ ่คี ลาดเคล่ือน มโนทศั น์ทถี่ ูกต้อง

▪ การแทรกดันของหินอัคนสี ามารถ ▪ การแทรกดันของหนิ อัคนีเกดิ ขน้ึ ในขณะท่เี ป็นแมกมา และถูกบบี อดั จนออกมาตามรอยรา้ วของผิวโลกแล้วจึงแขง็ ตัวอยู่ในรอยรา้ วน้ัน

แทรกเข้ามาในเนอ้ื หิน เรยี กการแทรกดันของหนิ อคั นีแบบนี้วา่ พนงั (dike)

▪ ซากดึกดาบรรพ์มเี ฉพาะส่วนท่เี ป็น ▪ ซากดึกดาบรรพ์อาจพบเปน็ เน้อื เยอ่ื อ่อนได้หรอื รอ่ งรอย เชน่ ซากแมมมอธในธารน้าแขง็ หรอื ซากสตั วใ์ นเกลือหนิ รอยตีนไดโนเสาร์

ของแขง็ เชน่ กระดกู เปลือกหอย รอยชอนไชของสัตว์

46

E-Learning/E-Books แบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 5
Click

ตอบคาถามดังตอ่ ไปน้ี

คาศพั ท์ ความหมาย

1. การลาดบั ชน้ั หนิ ............ ก. บุคคลทศี่ กึ ษาเกี่ยวกับซากหรือรอ่ งรอยสงิ่ มีชวี ติ ในอดีต
2. ซากดึกดาบรรพ์ ............ ข. อายุของซากดึกดาบรรพ์ ลกั ษณะทางธรณี และเหตุการณท์ างธรณตี า่ ง ๆ ในช้นั หนิ เปรยี บเทียบกบั ขอ้ มลู ซากดกึ ดาบรรพ์
3. ซากดกึ ดาบรรพ์ดัชนี............ ลกั ษณะทางธรณี และเหตุการณ์ทางธรณีวิทยาอ่นื ๆ
4. มาตราธรณีกาล............ ค. ร่องรอยของกระบวนการทางธรณวี ทิ ยามารบกวน ทาใหค้ วามต่อเน่ืองของชน้ั หินขาดหายไป
5. รอยชัน้ ไม่ตอ่ เน่ือง............ ง. การเรยี งลาดับช้ันหินตามอายแุ ละลักษณะทางธรณีวทิ ยาท่ีพบในชั้นหิน
6. นักบรรพชวี ินวทิ ยา............ จ. ซากและร่องรอยของสง่ิ มชี ีวติ ทป่ี รากฏในหนิ มลี ักษณะเฉพาะ มีชว่ งอายุสน้ั ๆ และแพร่กระจายอยทู่ ่ัวโลก
7. อายุสมั บูรณ์............ ฉ. ลาดับเหตุการณท์ างธรณีวิทยาตัง้ แต่กาเนิดโลกถึงปจั จบุ นั ทถ่ี กู แบ่งออกเป็นช่วงเวลาต่าง ๆ
8. อายเุ ปรยี บเทยี บ............ ช. ซากและรอ่ งรอยของสงิ่ มชี วี ิตท่ปี รากฏอยใู่ นหนิ
9. ครึ่งชวี ติ ............ ซ. อายทุ างธรณวี ทิ ยาท่บี อกเปน็ ตวั เลข
10. การสลายตัวของกมั มันตรงั สี ฌ. ธาตุกมั มนั ตรังสมี ีการปลดปลอ่ ยพลังงานในรปู ของอนุภาคหรอื รงั สตี า่ ง ๆ จนได้ไอโซโทปของธาตุใหมท่ ี่เสถียรกวา่
ญ. เวลาท่ธี าตกุ มั มันตรังสีสลายตัวลดลงเหลอื ครงึ่ หน่ึงของจานวนเดิม
............

47

E-Learning/E-Books แบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 5
Click

ตอบคาถามดงั ตอ่ ไปน้ี

❑ บริเวณภูเขาหินแหง่ หนง่ึ พบซากดึกดาบรรพ์ฟิวซูลนิ ดิ ในชน้ั หนิ ปนู และที่บรเิ วณภเู ขาอีกลูกหน่งึ ที่อย่ใู กล้กนั พบซากดกึ ดาบรรพ์
ไดโนเสาร์ในชน้ั หนิ ทราย หินบริเวณภูเขาลกู ใดมีอายแุ กก่ วา่ ทราบไดอ้ ยา่ งไร

❑ จากการสารวจภเู ขาลูกโกลน จังหวัดนครสวรรค์ พบหนิ ปูนและหินดินดานเกดิ สลบั ช้นั กัน
ในช้นั หินปูนพบซากดึกดาบรรพ์ ฟวิ ซูลนิ ิด ไบรโอซัว (bryozoa) หอยฝาเดียว หอยสองฝา และ
พบพนงั หนิ แอนดีไซต์ (andesite dike) ซ่ึงเป็นหนิ อัคนีทป่ี ระกอบดว้ ยฮอร์นเบลนด์และแพลจโิ อเคลสเฟลดส์ ปาร์
แทรกตัดผา่ นหินปนู และหินดินดานข้ึนมา นกั เรยี นจะนาหนิ ประเภทใดไปหาอายุสัมบรู ณ์ด้วยวธิ ีการใด

48

E-Learning/E-Books แบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 5
Click

ตอบคาถามดังตอ่ ไปน้ี

ถ้านักเรยี นมีความสูง 160 เซนตเิ มตร ยนื อยูบ่ นหาดของอา่ วแห่งหนงึ่ ในบรเิ วณใกล้
กบั หน้าผาฝงั่ ทิศตะวนั ตกดงั รปู สังเกตชั้นหนิ ของหน้าผา

ก. พบช้ันหนิ โคลนสดี าในระดบั สายตาหนาประมาณ 60 เซนตเิ มตร และพบ
ซากดกึ ดาบรรพ์ดัชนีหอยน้าจดื ชนิดหนึ่ง ซึง่ มีอายปุ ระมาณ 13 ล้านปี
มีอยู่จานวนมากในชั้นหิน

ข. พบหินทรายอยู่เหนือหินโคลนสีดา หนาประมาณ 40 เซนตเิ มตร
ค. ใต้ชัน้ หนิ โคลนสดี าพบช้ันหนิ ดินดานหนาประมาณ 20 เซนตเิ มตร
ง. จากชัน้ หินดินดานจนถงึ พนื้ ที่ยืนอย่พู บชัน้ หนิ แปรหนาประมาณ 40 เซนติเมตร

❑ จากซากดกึ ดาบรรพ์หอยน้าจืดท่ีพบในชน้ั หินโคลนสีดา นักเรียนคดิ ว่าสภาพแวดลอ้ มขณะทม่ี ีการสะสมตวั ของตะกอนเปน็ อยา่ งไร
❑ ให้ลาดบั ชนั้ หนิ จากสถานการณ์ทก่ี าหนดให้พรอ้ มวาดภาพประกอบ
❑ ให้เรียงลาดบั อายขุ องช้ันหนิ จากอายแุ ก่สดุ ไปอ่อนสุด และอธิบายเหตผุ ลประกอบ
❑ ถ้านกั เรยี นต้องการทราบอายุของชั้นหินโคลนสดี า จะใชว้ ิธกี ารหาอายแุ บบใดเพอื่ ให้ทราบอายขุ องช้นั หินโคลน พรอ้ มทัง้ อธบิ ายเหตุผ
❑ ถา้ พบวา่ หน้าผาฝ่งั ทศิ ตะวันออกมีลาดบั ช้ันหนิ เดยี วกนั กบั หนา้ ผาท่ียืนอยู่ แต่มีหนิ แปรหนากว่าประมาณ 1 เมตร นักเรียนคดิ ว่าลาดับชั้นหิน

ของหน้าผาท้ังสองฝ่งั เคยเปน็ ผนื เดียวกันหรือไม่ ทราบได้อยา่ งไร

49

E-Learning/E-Books แบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 5
Click

ใหเ้ รยี งลาดบั ชั้นหินจากอายุแก่สุดไปอายอุ ่อนสดุ และบอกเหตุผลประกอบ

50


Click to View FlipBook Version