The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wisarakcee, 2019-12-15 22:56:58

ทดสอบ E-BOOK

ทดสอบ E-BOOK

กสร. 20/2562 กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน
สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน กระทรวงแรงงาน

วสิ ยั ทศั น (VISION)

“แรงงานมคี ุณภาพชีวติ ที่ดี ไดร ับความเปนธรรม
อยา งทว่ั ถึง เทียบเทาระดับสากลในป พ.ศ. 2564”

พนั ธกิจ (MISSION STATEMENT)

พัฒนาระบบบริหารจัดการดานแรงงานของประเทศใหเทียบเทา
มาตรฐานสากล

สรางและยกระดบั คณุ ภาพชีวิตและความปลอดภยั ในการทาํ งาน
พัฒนาความรวมมือระหวางนายจางและลูกจางบนพื้นฐาน

ความไววางใจซง่ึ กนั และกนั
สรางความเช่ือมั่น การมีสวนรวมและความรวมมือเพื่อยกระดับ

การบรหิ ารจัดการดานแรงงานในทกุ ภาคสวน
สงเสริมใหนายจางปฏิบตั ิตามกฎหมายอยางมคี วามรับผดิ ชอบ
เสริมสรา ง พัฒนาองคกรและศักยภาพของบคุ ลากรใหส ามารถ

ปฏิบตั งิ านไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพบนพืน้ ฐานของคณุ ธรรม

คํานํา

รายงานความเคล่ือนไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562
ฉบับน้ี กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน โดยสํานักพัฒนามาตรฐานแรงงานไดจ ัดทําขึ้นเพ่ือเสนอ
ขอ มูลขา วสารดานเศรษฐกจิ และแรงงานท่สี ําคัญ เผยแพรแกห นว ยงานท่ีเกย่ี วของและผสู นใจทั่วไป

ภาวะเศรษฐกิจไทยในไตรมาส 3 ป 2562 ชะลอตวั ลง เน่ืองจากเศรษฐกิจของประเทศคูคา
ชะลอตัวจนสงผลกระทบตอภาคการสงออกสินคาเชนเดียวกับการลงทุนภาคเอกชนท่ีมีแนวโนม
ชะลอตัวลง ขณะท่ีการใชจายภาครัฐขยายตัวตามรายจายเพ่ือการลงทุน และภาคการทองเท่ียวที่
ขยายตัวตามจาํ นวนนกั ทอ งเท่ียวจีนเปนสําคญั สวนเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจประเทศคูคาของไทย
มีแนวโนมชะลอตัวเชนเดียวกัน

ดานภาวะการทํางานของประชากร จากรายงานของสํานักงานสถิติแหงชาติ ไตรมาส 3 ป 2562
พบวา อัตราการวางงานยังคงทรงตัวอยูท่ีรอยละ 1.1 โดยการจางงานนอกภาคเกษตรกรรมลดลง
เกอื บทุกสาขา โดยเฉพาะการจางงานในภาคอุตสาหกรรมท่เี กี่ยวเน่อื งกับการสงออก ภาคการกอสราง
การคาสง และคาปลีก และภาคบริการโดยเฉพาะบรกิ ารขนสง

กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานหวังวารายงานฉบับนี้ จะเปนประโยชนตอหนวยงาน
ท่ีเก่ียวของและผูสนใจทั่วไป แมวาขอมูลบางรายการจะเปนขอมูลเบื้องตนและขอมูลประมาณการ
ซ่งึ จะมีการปรบั ปรุงในฉบับตอ ไป

กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน
พฤศจิกายน 2562

สารบัญ

บทสรปุ ผบู ริหาร หนา
(1) – (2)
รายงานภาวะเศรษฐกิจทส่ี ําคญั และแนวโนม
รายงานความเคล่อื นไหวดา นแรงงาน 1
สรุปสถิติความเคล่อื นไหวดา นแรงงานทสี่ ําคัญ 9
41
เกบ็ ตกขา วมาเลา
ขาวเศรษฐกิจ – แรงงาน 53
ขาวประชุม/สัมมนา 62
สรุปขา วสัน้ รอบโลก 67

กรณีศกึ ษา 72
82
สรุปผลรายงานศึกษาวิจัยทิศทางการจางงานของประเทศไทย 89
ในยุคอตุ สาหกรรม 4.0

สรุปผลโครงการ ศึกษาวิเคราะหการเขาสูตลาดแรงงานและการทาํ งาน
ของวัยแรงงานตอนตนในประเทศไทยแบบมุง อนาคต

รายงานสถานการณการใชแ รงงานเด็กในรปู แบบที่เลวรา ย
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2561

บทความพิเศษ 94
การจัดการมาตรฐานแรงงานในระเบียงเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก 97
เพ่ือมงุ สูการเปน ประเทศพัฒนาแลว

ผลการสาํ รวจเด็กทาํ งานในประเทศไทย

บทความ

พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองแรงงาน ฉบับท่ี 7 บงั คบั ใช 5 พฤษภาคม 2562 99

เชื่อมโยงและคงสทิ ธิประกนั สังคม เพื่อคมุ ครองแรงงานท้งั อาเซียน 100

“คนทาํ งานรบั ใชใ นบา น” สทิ ธิแรงงานท่ียงั ไมเ ทา เทยี ม 101

กระทรวงพาณิชยร ะดมสมองรบั มือปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม 4.0 เผยในอาเซียน 28 ลา นคน 102

ตอ งเปลีย่ นอาชพี

การเกษียณอายุ เมอ่ื ทาํ งาน 20 ป กบั คาชดเชย 400 วัน 103

มาเลเซยี ใชน วัตกรรม blockchain สนบั สนุนอุตสาหกรรมยานยนต 105

บทสรปุ ผูบ รหิ าร (1)

1. สถานการณด านเศรษฐกจิ พบวาจากผูที่อยูในกําลังแรงงาน 37.96 ลา นคน เปนผูมี
งานทําจํานวน 37.48 ลานคน จําแนกเปนผูทํางานใน
เศรษฐกิจไทยไตรมาสท่ี 3 ป 2562 อยูในภาวะ ภาคเกษตรกรรม 12.43 ลานคน และนอกภาคเกษตรกรรม
ชะลอตวั โดยการสง ออกหดตวั ตอเนื่องตามการชะลอตัว 25.05 ลา นคน เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของ
ของเศรษฐกจิ ของประเทศคูคา เชน เดียวกับภาคการผลิต ปกอน พบวา จํานวนผูมงี านทําในภาคเกษตรกรรม
ภาคอุตสาหกรรมและเครื่องช้ีการลงทุนภาคเอกชน ลดลง0.2 ลานคน เชน เดยี วกับผูมงี านทํานอกภาคเกษตรกรรม
หดตัว ขณะท่ีเคร่ืองช้ีการบริโภคภาคเอกชนขยายตัว ทลี่ ดลง 0.61 ลานคน สําหรับผูวางงานมีจํานวน 4.0 แสนคน
ใกลเคียงกับไตรมาสกอน อยางไรก็ตาม การใชจ ายภาครัฐ อัตราการวางงานคิดเปนรอยละ 1.1 โดยผูวางงานที่เคยทํางาน
กลบั มาขยายตัวตามรายจายลงทุน และภาคการทองเท่ียว มากอน 2.0 แสนคน และไมเคยทํามากอน 2.0 แสนคน
ขยายตวั ตอเน่ืองตามจํานวนนักทองเท่ียวจีนเปนสําคัญ
ดานอัตราเงินเฟอทั่วไปลดลงจากราคาน้ํามันขายปลีก 2.2 ความเคล่ือนไหวดานแรงงานที่เกี่ยวของ
ในประเทศท่ีลดลงตามราคานํ้ามนั ดิบในตลาดโลกและ กับภารกิจของกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานใน
อัตราเงินเฟอพ้ืนฐานที่ลดลง สวนอัตราการวางงาน ไตรมาส 3 ป 2562 (กรกฎาคม – กนั ยายน 2562)
ทีข่ จดั ปจจยั ฤดูกาลแลวทรงตวั จากไตรมาสกอน
- การรับคํารอ งทวั่ ประเทศ มจี ํานวน 2,407 ราย
สาํ หรบั แนวโนมภาวะเศรษฐกจิ ไทยในไตรมาส 4 ลูกจางท่เี ก่ียวของ 5,600 คน สวนใหญเปนการรองทุกข
ป 2562 ประเมินวายังคงชะลอตัวตามภาวะธุรกิจใน ในเร่ืองคาจาง คาชดเชยการเลิกจาง และคาจางแทน
ภาคการผลิตเพอ่ื การสงออก ภาคอสังหาริมทรัพย และ การบอกกลาวลวงหนา เจาหนาท่ีของกรมไดดําเนินการ
กอสราง อยางไรก็ตาม การปรับตัวของภาวะเศรษฐกิจ ชวยเหลือลูกจางใหไดรับสิทธิประโยชน 1,641 ราย
ยังคงตองตดิ ตามมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครฐั ลกู จางท่เี ก่ยี วของ 3,718 คน เปนเงนิ 71.173 ลา นบาท
ทั้งการเพ่ิมเงินชวยเหลือในบัตรสวัสดิการแหงรัฐและ
มาตรการ “ชิม ชอป ใช” วาจะสามารถกระตุนเศรษฐกิจ - สถานประกอบกิจการและลูกจางที่ผาน
เพิม่ เติมไดม ากนอ ยเพยี งไร การตรวจคุมครองแรงงานมีจํานวน 5,482 แหง และ
210,980 คน ในจาํ นวนน้เี ปนสถานประกอบกิจการที่มี
ในสวนภาพรวมของเศรษฐกิจตางประเทศ การใชแรงงานหญิง 5,005 แหง เปนสถานประกอบกิจการ
มีแนวโนมชะลอลงจากภาคการสงออกที่หดตัวและ ท่ีมีการใชแรงงานเด็ก 26 แหง และเปนสถานประกอบ-
สงผลกระทบมายงั ภาคการผลติ โดยการผลิตและการ กิจการท่ีผานการตรวจคุมครองแรงงานตางดาว 580 แหง
สงออกสินคาหดตัวในทุกประเทศตามปริมาณการคาโลก ผลการตรวจพบวาปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย
ทีช่ ะลอตัวเนอ่ื งจากมาตรการกีดกันทางการคาระหวาง คุมครองแรงงาน 1,406 แหง คิดเปนรอยละ 25.6 โดย
สหรัฐฯ และจีนท่ีอาจยืดเยื้อและรุนแรงข้ึน ประกอบกับ สวนใหญปฏิบัติไมถูกตองในเรื่องคาจางขั้นตํ่า รองลงมา
วัฏจักรสินคาอิเล็กทรอนิกสที่มีแนวโนมไมฟนตัว ไดแ ก การจัดต้ังคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ-
รวมถึงปญหาภูมิรัฐศาสตรอื่น ๆ ท่ีอาจสงผลตอความ กจิ การและการจายคา ลวงเวลาในวันหยุดทั้งน้ี สถานประกอบ-
ผนั ผวนในตลาดการเงนิ และตลาดสินคา โภคภัณฑ กิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองไดดําเนินการปรับปรุงแกไขให
ถูกตองตามกฎหมาย คงเหลือสถานประกอบกิจการ
2. รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน ทอี่ ยูระหวางดําเนนิ การใหถ กู ตอ ง 29 แหง หรือคิดเปน
รอยละ 0.5 ของสถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจ
2.1 ภาวะการทํางานของประชากร คมุ ครองแรงงานทงั้ หมด

สํานักงานสถิติแหงชาติไดรายงานภาวะการทํางาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ของประชากรระหวางเดอื นกรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฏาคม – กันยายน 2562

(2) บทสรุปผบู รหิ าร

- สถานประกอบกจิ การและลกู จางในกิจการ ประกอบดวย สมาคมนายจาง 318 แหง สหพันธนายจาง
ประมงทะเลที่ผานการตรวจคุมครองมีจํานวน 965 แหง 2 แหง และสภาองคก ารนายจา ง 14 แหง
และ 11,244 คน ผลการตรวจพบวาปฏิบัติไมถูกตองคิดเปน
รอ ยละ0.4 - การแจงขอเรียกรองในสถานประกอบ-
กิจการมจี ํานวน 43 แหง ลูกจางทเี่ ก่ียวของ 45,957 คน
- สถานประกอบกิจการ/ผูจางงาน และลูกจาง สวนใหญเปนการแจงขอเรียกรองโดยสหภาพแรงงาน
กลุมผูรบั งานไปทาํ ท่ีบานท่ีผานการตรวจคมุ ครองแรงงาน ซ่ึงขอเรียกรองสามารถยุติไดโดยไมเกิดขอพพิ าทแรงงาน
มีจํานวน 56 ราย และ 801 คน ผลการตรวจไมพบการปฏิบัติ 8 แหง ลกู จา งที่เกี่ยวของ 10,152 คน สาํ หรับขอเรียกรอง
ไมถูกตองตามกฎหมายแตอยา งใด ท่ีไมสามารถตกลงกันไดจนเกิดเปนขอพิพาทแรงงานมี
6 แหง ลูกจางทเี่ กีย่ วของ 5,596 คน
- นายจางและลูกจางในงานเกษตรกรรมที่ผาน
การตรวจคุมครองแรงงานมจี ํานวน 321 ราย และ 3,474 คน - การเกดิ ขอ ขัดแยง ในสถานประกอบกิจการ
ผลการตรวจไมพบการปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย มีจํานวน 25 แหง ลูกจางท่ีเก่ียวของ 19,176 คน เจาหนาท่ี
แตอยา งใด สามารถดําเนินการแกไขขอขัดแยงจนยุติได 23 แหง
สวนสาเหตุของการเกิดขอขัดแยงสวนใหญเปนเร่ือง
- ผูจางงานและลกู จางท่ีผานการตรวจแรงงาน การเลิกจาง รองลงมาเปนเรื่องการไมปฏิบัติตาม
งานบานอันมิไดประกอบธุรกิจรวมอยูดวย 25 ราย และ ขอ ตกลงเกี่ยวกบั สภาพการจาง และการโยกยายหนาท่ี
25 คน ผลการตรวจไมพบการปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย
แตอ ยา งใด - การรับรองมาตรฐานแรงงานไทย (มรท.
8001 - 2553) ณ วันท่ี 30 กันยายน 2562 มีสถานประกอบ-
- สถานประกอบกิจการและลูกจางท่ีผาน กิจการที่อยูในระบบการรับรองมาตรฐานแรงงานไทย
การตรวจคุมครองความปลอดภัยในการทํางานมีจํานวน จํานวน 374 แหง จําแนกเปนระดับสมบูรณสูงสุด 6 แหง
3,662 แหง และ 274,552 คน ผลการตรวจพบวาปฏิบัติ ระดับสมบูรณ 52 แหง และระดับพ้ืนฐาน 316 แหง
ไมถกู ตอง คิดเปนรอยละ 2.5 โดยสว นใหญปฏบิ ัติไมถูกตอง โดยสถานประกอบกิจการสวนใหญอยูในอุตสาหกรรม
ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ การผลิตผลติ ภณั ฑอาหารและเคร่ืองดืม่
สภาพแวดลอมในการทํางาน พ.ศ. 2554 รองลงมาเปน
กฎหมายความปลอดภัยฯ ในเร่ืองการดําเนนิ การเกี่ยวกับ - การจัดสวัสดิการแรงงานมีสถานประกอบ-
เจาหนาท่ีความปลอดภัยในการทํางาน และการจัดตั้ง กิจการท่ีไดรับการสงเสริมสวัสดิการนอกเหนือกฎหมาย
คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ จาํ นวน 3,750 แหง ลกู จา ง จํานวน 292,776 คน และ
สภาพแวดลอมในการทํางาน และการควบคุมอันตรายจาก มสี ถานประกอบกจิ การท่ีจัดสวัสดิการนอกเหนือกฎหมาย
เครอ่ื งจกั ร ปนจัน่ และหมอนา้ํ จํานวน 2,956 แหง ลูกจางท่ีไดรับสวัสดิการ จํานวน
244,082 คน โดยสถานประกอบกิจการท่ีจัดสวัสดิการ
- จํานวนองคการแรงงาน จําแนกเปนองคการ นอกเหนือกฎหมายสวนใหญเปนสวัสดิการทส่ี ถานประกอบ-
ลูกจา ง ประกอบดว ย สหภาพแรงงานรฐั วิสาหกจิ 47 แหง กิจการจัดใหครอบคลุมถึงครอบครัวลูกจาง ไดแก
สหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) 1,394 แหง สหพันธแรงงาน จัดชุดทํางานใหพนักงาน จัดที่พักใหพนักงาน และ
รัฐวิสาหกิจ 1 แหง สหพันธแรงงาน (กิจการเอกชน) 21 แหง จัดอาหารฟรีใหพ นกั งาน เปนตน
และสภาองคการลูกจาง 15 แหง สําหรับองคการนายจาง
สส

รายงานความเคลอื่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม - กนั ยายน 2562 กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานภาวะเศรษฐกิจทสี่ าํ คญั และแนวโนม 1

ภาวะเศรษฐกิจไทย

เศรษฐกิจไตรมาสท่ี 3 ป 2562 อยูในภาวะชะลอตัว ขยายตัวชะลอลงหลังผลของฐานตํ่าจากอุปทานลนตลาด
การสงออกสินคาไมรวมทองคําหดตัวตอเนื่องและ ในปกอนหมดลง อยางไรก็ดี ราคาสนิ คาเกษตรหลกั อื่น ๆ

สง ผลกระทบตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจในประเทศชดั เจน ยังหดตัว อาทิ ยางพารา มันสําปะหลัง และปาลมน้ํามัน
โดยเครื่องช้ีการบริโภคภาคเอกชนขยายตัวชะลอลง ตามผลผลติ ทเ่ี พ่มิ ขนึ้ (ตารางที่ 1)

ในเกือบทุกหมวด การผลิตภาคอุตสาหกรรมและ 1.2 ภาคอตุ สาหกรรม
เคร่ืองชี้การลงทนุ ภาคเอกชนหดตัว มีเพียงการใชจาย
ไตรมาสที่ 3 ป 2562 ดัชนีผลผลิตภาคอุตสาหกรรม
ภาครัฐและภาคการทองเที่ยวท่ีขยายตัวได สวนหนึ่ง หดตัวเกือบทุกหมวดโดยเฉพาะ (1) หมวดผลิตภัณฑ
เปนผลของฐานต่ําในปกอนจากเหตุการณเรือนักทองเท่ียว ปโตรเลียมท่ีหดตัวสูง จากการปดซอมบํารุงโรงกลั่น
ลมท่ีจังหวัดภูเก็ต ดานเสถียรภาพเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟอ น้ํามันบางแหง (2) หมวดยางพาราและพลาสติกท่ีหดตัว
ทว่ั ไปลดลงจากราคานํ้ามันขายปลีกในประเทศท่ลี ดลง ตามการผลิตยางแทงเปนสําคัญ เน่ืองจากอุปสงคจากจีน
ยังคงชะลอตัวตอเน่ือง (3) หมวดอิเล็กทรอนิกสท่ีหดตัว
ตามราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก และอัตราเงินเฟอพ้ืนฐาน โดยเฉพาะแผงวงจรรวม สอดคลองกับวัฏจักรอิเล็กทรอนิกส
ท่ีลดลง อัตราการวางงานที่ขจัดปจจัยฤดูกาลเพิ่มขึ้น ที่ยังไมฟนตัว นอกจากนี้ การผลิตฮารดดิสกไดรฟท่ี
เล็กนอยตามจํานวนผูมีงานทําที่ลดลง ดุลบัญชีเดินสะพัด ขยายตัวสูงในไตรมาสกอนกลับมาหดตัวในไตรมาสน้ี
เกินดุลเพ่ิมขึ้น ตามดลุ การคาจากการสงออกทองคําที่ สะทอนอุปสงคตา งประเทศที่ยังเปราะบาง และ (4) หมวด
ยานยนตท หี่ ดตวั ตอเนื่อง ตามการชะลอตัวของอุปสงค
เพิ่มข้นึ และการนาํ เขาสินคาที่หดตัวสงู ขณะที่ดุลบัญชี
เงินทุนเคลือ่ นยายเกนิ ดุลสุทธเิ ล็กนอ ยจากดา นหน้สี ิน

1. ดานอุปทาน ทัง้ ในและตางประเทศ ท้ังนี้ เมื่อขจัดปจจัยฤดูกาลแลว

1.1 ภาคเกษตรกรรม การผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมลดลงจากไตรมาสกอน
ตามหมวดฮารดดิสกไดรฟ หมวดผลิตภัณฑป โตรเลยี ม

ไตรมาสที่ 3 ป 2562 รายไดเกษตรกรขยายตัว และการผลิตหมวดยานยนต เปนสําคญั

ใกลเคียงกับไตรมาสกอนจากดานราคาเปนสาํ คัญ โดย เคร่ืองช้ีประกอบของภาคอุตสาหกรรมเม่ือ

ราคาขาวขยายตัวโดยเฉพาะขาวเหนียวและขาวหอมมะลิ ขจัดปจจยั ฤดกู าลแลว ปริมาณการนาํ เขาวตั ถดุ ิบ ดชั นี

เน่ื องจากป ญหาภั ยแล งและอุ ทกภั ยในภาคตะวั นออก ช่วั โมงการทํางานภาคอุตสาหกรรม และดัชนีการใชไ ฟฟา

เฉยี งเหนอื สงผลใหอปุ ทานลดลง นอกจากนี้ ตลาดยังมี ภาคอุตสาหกรรมลดลงจากไตรมาสกอนสอดคลองกับ

ความกังวลตอผลผลิตในระยะถัดไป ขณะท่ีราคาสุกร ดชั นีผลผลิตภาคอตุ สาหกรรมท่ีลดลง

สส ตารางท่ี 1 รายไดเกษตรกรจากพืชผลสําคญั

อตั ราการเปลย่ี นแปลงจากระยะเดยี วกันของปก อน

อตั ราการเปลย่ี นแปลง ป 2561 ป 2561 ไตรมาส 1 ป 2562 ส.ค. ก.ย.
จากระยะเดียวกันปก อ น ครึ่งปแรก ครงึ่ ปหลัง 0.2 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 4.1 4.0
1.6
รายไดเกษตรกร 7.7 0.8 3.1 0.8 -0.4 3.4 1.4 1.3
-5.7 10.7 5.4 -2.4 1.1
ผลผลิตสินคา เกษตรกรรม -8.9 -2.1 -0.6 2.1 2.4 2.7 2.6

ราคาสินคา เกษตรกรรม

หมายเหตุ : รายไดเกษตรกรไมไดรวมเงินจายโอนจากภาครัฐ สํานกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ทม่ี า : สาํ นักงานเศรษฐกิจการเกษตร คาํ นวณรายไดเ กษตรกรโดยธนาคารแหงประเทศไทย กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

2 รายงานภาวะเศรษฐกจิ ที่สาํ คญั และแนวโนม

อัตราการใชก าํ ลงั การผลติ ท่ขี จดั ปจจัยฤดูกาล เปนสําคัญ สวนหนึ่งเปนผลจากอุปทานคงคางยังอยูใน

ลดลงจากไตรมาสกอน ตามหมวดผลติ ภณั ฑปโตรเลียม ระดับสูง สําหรับดานอุปสงคภาคอสังหาริมทรัพย

เปน สาํ คัญ สอดคลองกับทศิ ทางการผลิตภาคอุตสาหกรรม กลับมาเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากไตรมาสกอนตามอุปสงค

(ตารางที่ 2) ที่อยูอาศัยแนวราบ ขณะท่ีอุปสงคอาคารชุดลดลง

1.3 ภาคการทองเท่ยี วและโรงแรม ตอเน่ือง สวนหน่ึงมาจากอุปสงคของนักลงทุนตางชาติ
ท่ีชะลอตัว รวมท้ังเปนผลของการปลอยสินเช่ือของ
ไตรมาสที่ 3 ป 2562 จํานวนนักทองเที่ยว สถาบันการเงินท่ีรัดกุมหลังการบังคับใชมาตรการ
ตางประเทศขยายตัวเรงขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน ควบคมุ สนิ เชือ่ ท่อี ยูอ าศัย (LTV) ในไตรมาสกอน
จาก (1) ฐานจํานวนนักทองเท่ียวจีนที่ต่ําจากเหตุการณ
เรือนกั ทอ งเท่ียวลม ทจี่ งั หวัดภเู ก็ต (2) มาตรการยกเวน ราคาอสังหาริมทรัพย ดัชนีราคาท่ีอยูอาศัย
คาธรรมเนียม visa on arrival ท่ีมีสวนทาํ ใหจํานวน แนวราบในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลทรงตัวเม่ือ
นักทองเท่ียวจีน อินเดีย และไตหวัดขยายตัวดี และ เทียบกับไตรมาสกอน โดยราคาบานเดี่ยวเพิ่มข้ึน
(3) เหตคุ วามไมส งบในฮองกงท่ีทําใหนักเที่ยวบางกลุม ตอเนื่อง ขณะที่ราคาทาวนเฮาสปรับลดลง สําหรับ
เปลี่ยนเสนทางมาไทยแทน นอกจากนี้ ยังมีนักทองเท่ียว ราคาอาคารชุดกลับมาเพิ่มขึ้นเล็กนอยหลังจากลดลง
สัญชาติเอเชียอ่ืนท่ีขยายตัวดีตอเนื่อง อาทิ นักทองเที่ยว ไปมากในชว งกอ นหนา

ญ่ีปุน และเกาหลีใต ท้ังนี้ เม่ือขจัดปจจัยฤดูกาลแลว 1.5 ภาคการบรกิ าร
จํานวนนักทองเท่ียวตางประเทศปรับตัวเพ่ิมข้ึนจาก
ไตรมาสกอน จากนกั ทอ งเที่ยวจนี เปน สําคญั (ตารางท่ี 3) ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 ภาคบริการขยายตัว
ชะลอลงจากระยะเดียวกันปกอน ตามภาคการคา
1.4 ภาคอสงั หาริมทรพั ย โดยเฉพาะภาคการคาสง ขณะท่ีภาคโรงแรมและ

ไตรมาสที่ 3 ป 2562 อุปทานท่ีอยูอาศัยโดยรวม ภัตตาคารขยายตัวเรงข้ึนตามจํานวนนักทองเที่ยว
ลดลงจากไตรมาสกอน ตามการเปดตัวอาคารชุดที่ลดลง ตางชาติ ซึง่ สวนหน่ึงเปนผลของฐานต่ําจากเหตุการณ
สส ตารางท่ี 2 ดัชนีผลผลติ สนิllคl า อตุ สาหกรรม

(อตั ราการเปลี่ยนแปลงจากระยะเดยี วกนั ปก อ น)

อุตสาหกรรม ป 2561 ป 2561 ป 2562 P

คร่งึ ปแ รก ครึ่งปหลงั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค. ก.ย.

อาหารและเคร่ืองดม่ื 4.8 5.6 3.9 0.6 -1.5 1.6 0.9 -0.1

ปโ ตรเลียม 4.8 7.5 2.3 1.2 0.8 -7.4 -3.2 -11.2

สง่ิ ทอ และเคร่ืองนงุ หม 2.0 -0.3 4.3 -3.7 -5.7 -9.0 -10.2 -4.8

Hard Disk Drive 2.7 12.9 -5.9 -15.2 -13.4 0.5 13.3 -6.6

IC & Semiconductor 2.6 0.8 4.4 -2.5 -4.5 -12.0 -15.2 -9.4

ยานยนต 9.9 11.6 8.3 4.7 -1.0 -6.3 -7.7 -5.0

ปนู และวสั ดุกอ สราง 4.6 3.7 5.5 -0.3 1.0 -4.0 -6.3 -2.8

เคมี 4.6 6.4 2.7 -0.7 -1.3 1.7 3.0 5.9

ยางและพลาสตกิ -1.2 -0.2 -2.1 -4.1 -7.2 -9.4 -9.4 -12.2

เครื่องใชไฟฟา อนื่ 0.9 -0.8 3.1 2.3 7.8 1.3 -6.1 -0.2

อื่น ๆ -0.5 1.0 -1.9 -6.1 -5.4 -5.7 -8.3 -7.1

รวม 3.6 4.9 2.4 -1.2 -2.5 -4.2 -4.4 -4.7

หมายเหตุ : P คอื ขอ มลู เบอื้ งตน
ท่มี า : สาํ นกั งานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม คาํ นวณโดยธนาคารแหง ประเทศไทย

รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานภาวะเศรษฐกิจที่สําคญั และแนวโนม 3

ตารางท่ี 3 เครอ่ื งชี้ภาวะการทองเท่ยี ว

นกั ทอ งเท่ียวตางประเทศ ป 2561 ป 2562

ป 2561 ครงึ่ ปแรก คร่ึงปหลัง ไตรมาส1 ไตรมาส 2 ไตรมาส3 ส.ค. ก.ย.P

จาํ นวนนกั ทองเท่ยี วตา งประเทศ (พันคน) 38,178 19,425 18,753 10,795 8,974 9,696 3,466 2,903

% 7.3 11.9 2.9 2.1 1.4 7.2 7.4 10.1

หมายเหตุ : P คือ ขอมลู เบื้องตน

% คอื อัตราการเปลยี่ นแปลงเปรยี บเทยี บกบั ระยะเดียวกันของปก อ น

ท่ีมา : การทองเท่ยี วแหงประเทศไทย และธนาคารแหง ประเทศไทย

เรือนักทองเที่ยวลมที่จังหวัดภูเก็ต อยางไรก็ตาม ยอดขายปลีกสินคา ก่ึงคงทน สวนหนึ่งคาดวาเปนผลจาก
ภ า ค อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย ห ด ตั ว ห ลั ง ม า ต ร ก า รค ว บ คุ ม มาตรการสงเสริมการขายผานชองทาง E-commerce
สินเช่ือเพ่ือที่อยูอาศัย มีผลบังคับใชในเดือนเมษายน สอดคลองกับขอมูลยอดใชจายผานบัตรเครดิตใน
2562 ขณะที่ภาคการขนสงหดตัวตอเน่ืองจากการขนสง ทุกกลุมรายไดทีเ่ พิ่มขึ้นในไตรมาสน้ี
สินคา เปน สําคัญ สอดคลองกับการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
ท้งั นี้ เมือ่ ขจัดปจจัยฤดูกาลแลวเครื่องช้ีภาคบริการทรงตัว การใชจายในหมวดสินคาไมคงทนขยายตัว
จากไตรมาสกอน ชะลอลงจากระยะเดียวกันปกอน แมในไตรมาสนี้จะมี
มาตรการชวยพยุงกําลังซ้ือของภาครัฐ แตยังไมเห็นผล
2. ดา นอุปสงคภายในประเทศ ตอการใชจายที่ชัดเจนนัก โดยการใชจายในหมวดสินคา
อุปโภคหดตัว และยอดการจําหนายนํ้ามันเช้ือเพลิง
2.1 การอุปโภคบริโภคภาคเอกชน ขยายตัวชะลอลง สอดคลองกับยอดจําหนายรถยนต
ภายในประเทศทีห่ ดตวั
ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 เคร่ืองช้ีการบริโภค
ภาคเอกชนขยายตัวใกลเคียงกับไตรมาสกอน โดยการ การใชจายในหมวดบริการขยายตัวดีจาก
ใชจายในหมวดบริการและหมวดสินคาก่ึงคงทนท่ี ไตรมาสกอน ตามการใชจายในหมวดขนสงผูโดยสาร
ขยายตัวสูงข้ึนชวยชดเชยการใชจายหมวดสินคาไมคงทน ที่ปรับตัวดีขึ้น สอดคลองกับจํานวนนักทองเท่ียว
ทช่ี ะลอและการใชจายหมวดสนิ คาคงทนที่หดตัวสูงขึ้น ตางชาติและนกั ทอ งเทีย่ วไทยทีเ่ พ่มิ ขึ้น อยางไรก็ดี การ
ตามยอดจาํ หนา ยรถยนตภ ายในประเทศ ท้ังน้ี เมื่อขจัด ใชจายหมวดโรงแรมและภัตตาคารขยายตัวใกลเคียง
ปจ จัยทางฤดูกาลแลว การบริโภคภาคเอกชนลดลงจาก กบั ไตรมาสกอน
ไตรมาสกอน สอดคลองกับปจจัยพ้ืนฐานดานรายได
ท่ลี ดลง ความเช่ือมั่นของผูบริโภคเม่ือขจัดผลของ
ฤดูกาลแลว ความเชอื่ มนั่ ผบู ริโภคโดยรวมลดลงตอเน่ือง
การใชจายในหมวดสินคา คงทนและกึ่งคงทน ท้ังดัชนีความเช่ือม่ันในปจจุบันและในอีก 2 ไตรมาส
หดตัวสงู ข้นึ จากระยะเดียวกันปกอน ตามยอดจําหนาย ขา งหนา และอยูในระดับตํา่ กวาคาเฉลี่ย 5 ปยอนหลัง
รถยนตนั่งสวนบุคคล และยอดจําหนายรถยนตเชิง จากความเชื่อมั่นดานเศรษฐกิจโดยรวม โอกาสใน
พาณิชยสอดคลองกับปจจัยดานรายไดท่ีลดลงตอเน่ือง การหางานทํา และรายไดในอนาคตท่ีลดลง (ตารางที่ 4
โดยเฉพาะลูกจางนอกภาคเกษตรกรรม และความ และตารางท่ี 5)
ระมัดระวังของสถาบันการเงินในการปลอยสินเช่ือ
รถยนตจ ากคุณภาพสินเช่ือที่ดอยลง สําหรับการใชจ าย 2.2 การลงทนุ ภาคเอกชน
ในหมวดสินคาก่ึงคงทนกลับมาขยายตัวจากระยะเดียวกัน ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 การลงทุนภาคเอกชน
ปกอ น จากทงั้ การนาํ เขาเสื้อผาและเคร่ืองนุงหมและ หดตัวตอเนื่องจากระยะเดียวกันปกอ น ทง้ั การลงทุน

รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

4 รายงานภาวะเศรษฐกิจทีส่ ําคญั และแนวโนม

ตารางที่ 4 ดัชนีการอุปโภคบริโภคภาคเอกชน

อตั ราการเปลี่ยนแปลง ป 2561 ป 2561 ป 2562P
จากระยะเดียวกนั ปกอน
คร่งึ ปแ รก คร่งึ ปหลัง ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค. ก.ย.P
ดชั นีการอุปโภคบรโิ ภคภาคเอกชน 1.3
4.6 4.7 4.4 4.2 2.5 1.4 1.0
%

หมายเหตุ : P คอื ขอมูลเบอื้ งตน
% คือ อตั ราการเปลี่ยนแปลงเทียบกบั ระยะเดยี วกนั ของปกอ น

ที่มา : ธนาคารแหงประเทศไทย

ตารางที่ 5 เครอ่ื งชีก้ ารอุปโภคบริโภคภาคเอกชน

อัตราการเปลยี่ นแปลง ป 2561 ป 2561 ป 2562 P
จากระยะเดียวกันปกอน
1.4 ครึ่งปแรก ไตรมาส 3 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค. ก.ย. P
หมวดสินคาไมคงทน 2.8 1.7 1.1
หมวดสินคาก่งึ คงทน 8.0 1.3 1.4 2.4 3.3 1.8 -0.6 1.3
หมวดสินคา คงทน 5.3 -4.0 -5.7
หมวดบริการ -0.6 2.5 3.1 1.4 1.0 0.9 2.7 3.7
การใชจา ยของนักทองเท่ียวตางชาติ 5.9 7.5
7.9 8.2 5.3 0.1 -3.1

7.1 3.6 3.5 2.2 2.6

3.6 -4.3 -2.5 1.8 4.6

หมายเหตุ : P คือ ขอมูลเบื้องตน

ท่ีมา : ธนาคารแหง ประเทศไทย

หมวดเครื่องจกั รและอุปกรณ และการลงทุนหมวดกอสราง ยอดจดทะเบียนรถแทรกเตอรท ี่หดตัว ตามภาคการกอสราง
สอดคลองกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ชะลอตัว ทั้งน้ี ทชี่ ะลอตัว
เมื่อขจัดปจจัยฤดูกาลแลว เครื่องชี้การลงทุนภาคเอกชน
เพ่มิ ข้ึนเล็กนอย การลงทนุ ดานการกอสรางหดตัวตอเนื่องจาก
ระยะเดียวกันปกอน จาก 1) พื้นท่ีไดรับอนุญาตกอสราง
การลงทุนดานเคร่ืองจักรและอุปกรณหดตัว ท่ียังหดตัวในเกือบทุกวัตถุประสงค ยกเวนพื้นที่เพื่อ
ตอเน่ืองจากระยะเดียวกันปกอน จาก 1) การนําเขาสินคา การอตุ สาหกรรมท่ยี ังขยายตัวได และ 2) ยอดจําหนาย
ทนุ ภาคเอกชนท่ียังหดตัว ตามการนําเขาอุปกรณเก่ียวกับ วัสดุกอสรางหดตัวตอเนื่องตามยอดจําหนายคอนกรีต
โครงสรางพ้ืนฐานในหมวดโทรคมนาคม และการนําเขา ผสมเสร็จเปนสําคัญ สอดคลองกับกิจกรรมในภาค
หมอแปลงไฟฟาและเครื่องกําเนิดไฟฟา 2) ยอดจําหนาย การกอ สรา งและอสังหาริมทรพั ยที่ชะลอลง
เครื่องจักรในประเทศที่หดตัวสูงตอเนื่อง ตามการหดตัว
ของยอดจําหนายคอมพิวเตอร ซ่ึงสวนหนึ่งเปนผลของ ดชั นคี วามเช่ือม่ันทางธุรกิจปรับลดลงตอ เน่ือง
ฐานสูงในปกอน ยอดจําหนายเคร่ืองจักรใชงานท่ัวไป จากไตรมาสกอน ตามความเชื่อม่ันของผูประกอบการ
ยอดจําหนายเครื่องผลิตไฟฟาและมอเตอรไฟฟา และ ในภาคการผลติ ท่ีปรับลดลงในหลายอุตสาหกรรม จาก
ยอดจําหนายเคร่ืองยนตและเคร่ืองผลิตไฟฟา และ ความเชื่อมั่นดานคําสั่งซ้ือลดลงจากท้ังลูกคาในและ
3) ยอดจดทะเบียนรถยนตเพ่ือการพาณิชยหดตัวตอเนื่อง ตางประเทศ ขณะท่ีความเชื่อม่ันของผูประกอบการใน
ตามยอดจดทะเบียนรถแท็กซี่ ซึ่งสวนหน่ึงมาจากผล ภาคท่ีมิใชการผลิตปรับดีขึ้น โดยเฉพาะกลุมท่ีพักแรม
ของฐานสงู ตามรอบจดทะเบียนรถแทก็ ซใี่ นปกอน และ และบริการอาหาร สอดคลองกับภาคทองเทีย่ วท่ีขยายตัวดี

รายงานความเคล่อื นไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานภาวะเศรษฐกิจทสี่ ําคญั และแนวโนม 5

สําหรับดัชนีความเชื่อม่ันทางธุรกิจในไตรมาสตอไป ออนคาลงในชวงปลายเดือนตุลาคม 2562 สวนหนึ่งจากการ

ทรงตัวใกลเคียงกับไตรมาสกอนตามความเช่ือม่ันใน ปรับฐานการลงทุนของนักลงทุนตางชาติ (Rebalancing

ภาคการผลติ เปนสําคญั (ตารางท่ี 6) portfolio) ในชวงสิ้นไตรมาส NEER ออนคาลงของเงินบาท

2.3 ภาคการคลัง ท่ีมากกวา เดิมสกุลคูแขงเกอื บทกุ สกลุ โดยเฉพาะเงนิ หยวนจีน

ไตรมาสที่ 3 ของปงบประมาณ 2562 รายจาย ณ วนั ที่ 24 ตลุ าคม 2562 อัตราแลกเปล่ียนบาท
ของรฐั บาล (ไมรวมเงินโอน) กลับมาขยายตัวเล็กนอ ย ตอดอลลาร สรอ. แข็งคาขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสกอน
จากระยะเดียวกนั ปกอน โดยรายจายลงทุนของรัฐบาล ตามการออ นคา ของเงนิ ดอลลาร สรอ. เน่ืองจากตัวเลข
ก ล า ง ข ย า ย ต ัว ส ูง ต า ม ก า ร เ บ ิก จ า ย ง บ ล ง ท ุน ข อ ง เศรษฐกิจของสหรัฐฯ ออกมาต่ํากวาที่คลาดการณ
กรมทางหลวงเปนสําคัญ ขณะท่ีรายจายลงทุนของ ประกอบกับความเชื่อม่ันของนักลงทุนปรับเพิ่มข้ึน
ภาครัฐวิสาหกิจกลับมาหดตัวตามการเบิกจา ยของ รฟม. ภายหลังสถานการณความขัดแยงทางการคาระหวาง
และ ปตท. ดานรายจายประจําหดตัวเล็กนอยตามรายจาย สหรัฐฯ กับจีนมีทาทีท่ีผอนคลายลง สําหรับ NEER
เพื่อซื้อสินคาและบริการ ขณะที่รายจายคาตอบแทน ปรับแข็งคา ข้ึนเม่ือเทียบกับไตรมาสกอน ตามการแข็งคา
บุคลากรขยายตัวเลก็ นอยจากใชจา ยบํานาญเปนสาํ คญั ของเงนิ บาททมี่ ากกวาเงนิ สกลุ คคู า คแู ขง็ เกอื บทุกสกลุ

สําหรับดุลการคลัง ดุลเงินสดเกินดุลสุทธิ 3.2 ตนทุนการระดมทุนของภาคเอกชน

เล็กนอย โดยรายไดนําสงหดตัวตามการเหลื่อมนําสง ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 การระดมทุนโดยรวม

ภาษีของกรมสรรพากรจากเดือนกันยายนเปนเดือน ของภาคธรุ กจิ ลดลงเลก็ นอยจากไตรมาสกอน จากการ
ตุลาคม ขณะทร่ี ายจายขยายตวั สงู ตามการเบกิ จา ยเงนิ โอน ระดมทุนผานตราสารหน้ีสุทธิ สําหรับปริมาณสินเชื่อ

สาํ หรบั มาตรการกระตุน เศรษฐกิจ (มติ ครม. เมอื่ วันท่ี ใหมโดยรวมชะลอลดลงเล็กนอยจากสินเชื่อภาค

20 สงิ หาคม 2562) เปนสําคัญ ครัวเรือนเปนสําคัญ สวนอัตราแลกเปล่ียนบาทตอ

3. ภาวะการเงิน ดอลลาร สรอ. ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562 ทรงตัว
3.1 อัตราแลกเปล่ยี น ขณะท่ี NEER ออ นคาลงเลก็ นอยจากไตรมาสกอน

ณ วันที่ 24 กรกฎาคม 2562 อัตราดอกเบี้ย
ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 อัตราแลกเปล่ียนเงิน เงินฝากโดยรวมทรงตัวเม่ือเทียบกับเดือนกอน ยกเวน
ดอลลาร สรอ. ทรงตอเมื่อเทียบกับไตรมาสกอน โดย
ในชวงตนของไตรมาสเงินบาทแข็งคาข้ึน จากความเช่ือมั่น อัตราดอกเบ้ียเงินฝากประจําพิเศษระยะ 7 เดือนของ
ธนาคารบางแหงท่ีปรับลดลง ดานอัตราดอกเบี้ยเงินกู
ของนักลงทุนท่เี พ่ิมข้ึนภายหลังสถานการณความขัดแยง โดยรวมทรงตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสกอน รัฐบาลระยะสั้น
ทางการคาระหวางสหรัฐฯ กับจีนมีทาทีผอนคลายลง
ประกอบกับธนาคารกลางยุโรปปรับลดอัตราดอกเบี้ย ปรับลดลงตอเนื่อง สวนหน่ึงจากการท่ีกองทุนรวม
กลับเขาซ้ือพันธบัตรระยะส้ันเพิ่มข้ึนหลังจากท่ีเรงซ้ือ
นโยบายลง และเขาซ้ือสินทรัพยทางการเงินเพื่อ พนั ธบัตรระยะยาวไปมากในชวงกอนท่ีภาษีทุนตราสาร
ผอนคลายภาวะการเงนิ เพ่มิ ขนึ้ จากนน้ั เงินบาทกลับมา
หนี้มีผลบังคับใช สําหรับอัตราตน ทุนการระดมทุนผาน
สสส ตารางท่ี 6 ดชั นีกาlรlลงทุนภาคเอกชน

อัตราการเปลย่ี นแปลง ป 2561 ป 2561 ป 2562 P

จากระยะเดยี วกนั ปก อน คร่งึ ปแรก ครง่ึ ปแ รก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค. ก.ย.P

ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน

 % 3.5 4.2 2.9 -1.0 -3.3 -3.4 -6.3 -3.9

หมายเหตุ : P คือ ขอ มูลเบี้องตน
% คอื อตั ราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับระยะเดียวกันตปรกาอสนารหนี้

ทมี่ า : ธนาคารแหงประเทศไทย

รายงานความเคล่ือนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

6 รายงานภาวะเศรษฐกจิ ที่สาํ คญั และแนวโนม

ตราสารหน้ี ณ สิ้นเดือนกันยายน 2562 อัตราผลตอบแทน เปนสําคัญ เนื่องจากการสงผานผลของราคาอาหารสด
พั น ธ บั ต ร ร ะ ย ะ ย า ว ค อ น ข า ง ท ร ง ตั ว เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ ไปยังอาหารสําเร็จรปู มจี ํากัด อยางไรก็ดี ราคาหมวดของใช
ไตรมาสกอน สวนบุคคลอุปกรณทําความสะอาด และเครื่องประกอบ-
อาหารปรับเพิ่มขึ้นหลังผูประกอบการลดการใชมาตรการ
ณ วนั ที่ 24 ตุลาคม 2562 อัตราผลตอบแทน สงเสริมการขาย
พันธบัตรรัฐบาลระยะส้ันทรงตัวใกลเคียงกับเดือนกอน
ขณะที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรระยะยาวปรับเพิ่มขึ้น 4.2 ภาวะแรงงาน
ภายหลังสถานการณความขัดแยงทางการคาระหวาง
สหรฐั ฯ กบั จีนผอนคลายลง ไตรมาสที่ 3 ป 2562 อัตราการวางงานหลัง
ขจัดปจจัยฤดูกาลทรงตัวจากไตรมาสกอน อยางไรก็ตาม
3.3 ภาวะการระดมทุนของภาคเอกชน จํานวนผูมีงานทําลดลงตอเนื่อง ตามการจางงานนอก
ภาคเกษตรกรรมที่ปรับลดลงในทุกสาขา ทั้งการจางงาน
ไตรมาสที่ 3 ป 2562 ปริมาณการระดมทุน ในภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะท่ีเก่ียวเน่ืองกันกับการ
ของภาคธุรกิจลดลงเล็กนอยจากไตรมาสกอน จากการระดมทุน สงออก สอดคลองกับภาคการผลิตอุตสาหกรรมและ
ผานตราสารหนสี้ ทุ ธเิ ปนสําคัญ สว นหนง่ึ มาจากภาคธุรกิจ การสงออกที่หดตัว การจางงานในภาคการกอสราง
เรงระดมทุนผานตราสารหน้ีไปมากแลวในชวงกอนหนา การจางงานในภาคการคาทั้งภาคการคาสงและคาปลีก
ดานการระดมทุนผานชองทางสินเชื่อลดลงเล็กนอยจาก และการจางงานในภาคบริการโดยเฉพาะบริการขนสง
ไตรมาสกอ น สอดคลอ งกบั ภาวะเศรษฐกจิ ในประเทศที่ ขณะที่ผูออกนอกกําลังแรงงานเพิ่มข้ึนตอเน่ืองสวนหน่ึง
ชะลดตัว ขณะที่การระดมทุนผานตราสารทุนเพิ่มข้ึน มาจากผูท่ีมีอายุ 60 ปขึ้นไปตามทิศทางของสังคมผูสูง
โดยเฉพาะในธุรกิจพลังงาน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย และ วัยท่ีเพ่ิมข้ึน อยางไรก็ตาม เร่ิมเห็นการออกนอกกําลัง
ธุรกจิ ผลิตสินคา อตุ สาหกรรม สว นหนึ่งเพ่ือนาํ ไปใชควบรวม แรงงานของแรงงานกลมุ ทอี่ ายนุ อ ยกวา 60 ปม ากข้ึน
และซอ้ื กจิ การ และลงทนุ ในตางประเทศ
5. ภาคตา งประเทศ
ปรมิ าณสนิ เชอ่ื ใหมข อง ODCs ทใี่ หแกภาคเอกชน
สินเช่ือภาคเอกชนโดยรวมชะลอลงเล็กนอยจากไตรมาสกอน 5.1 การคาตางประเทศ
ตามสินเชอ่ื ภาคครัวเรือน โดยเฉพาะสนิ เชื่อบัตรเครดิตและ
สินเช่ือเพื่อทีอ่ ยูอาศัย ขณะท่สี ินเช่ือภาคธุรกิจลดลงเล็กนอย ไตรมาสที่ 3 ป 2562 การสงออกสินคา หดตัว
โดยเฉพาะการระดมทนุ ของธรุ กิจการคาสงและคา ปลกี รอยละ -2.7 จากระยะเดียวกันปกอน หากไมรวม
การสงออกทองคํามูลคาการสงออกหดตัวรอยละ 0.0
4. เสถยี รภาพในประเทศ โดยเปนการหดตัวตอเนื่องจาก 1) ภาวะเศรษฐกิจ
ประเทศคูค า ทชี่ ะลอตวั 2) วัฏจักรสินคา อิเล็กทรอนิกส
4.1 ดัชนีราคาผูผลิต และดัชนีราคาผูบริโภค ที่ยังไมฟน ตัว และ 3) ราคาน้ํามันดิบในตลาดโลกท่ีหดตัว
(อตั ราเงินเฟอ ) สงผลใหการสงออกยังคงหดตัวในหลายหมวดสินคา
อาทิ 1) สินคา หมวดที่เคลื่อนไหวตามราคานํ้ามันดิบ 2) สินคา
ไตรมาสที่ 3 ป 2562 อตั ราเงนิ เฟอทั่วไปอยูที่ หมวดเกษตรทัง้ ขา ว มนั สาํ ปะหลงั และยางพารา 3) สินคา
รอ ยละ 0.32 ลดลงจากไตรมาสกอนรอยละ 0.52 จากราคา หมวดเคร่ืองจักรและอุปกรณ โดยเฉพาะเคร่ืองแปลง
หมวดพลังงานที่หดตวั มากข้ึนจากผลของฐานสูงในปกอน ไฟฟาและสวนประกอบเคร่อื งจกั รไฟฟา และ 4) สินคา
และอัตราเงินเฟอพื้นฐานท่ีลดลงตามราคาอาหารสําเร็จรูป หมวดอเิ ล็กทรอนิกสทีห่ ดตัวตอเนื่อง อยางไรก็ดี การสงออก
เปนสําคัญ สวนราคาอาหารสดขยายตัวใกลเคียงกับ สนิ คา บางหมวดกลับมาขยายตวั อาทิ การสงออกยานยนต
ไตรมาสกอน โดยราคาหมวดขาว แปง และผลิตภัณฑจากแปง และชิ้นสวน สินคาเกษตรแปรรูป และเคร่ืองใชไฟฟา
เพมิ่ ขนึ้ ตามราคาขา วสารเหนียว ที่ผลผลิตออกสูตลาดนอยลง สวนหน่ึงเปนผลจากฐานท่ีตํ่า และไดรับผลดีจากการ
แตถกู ชดเชยดวยราคาเนอื้ สตั วท่ีลดลง และราคาผกั ผลไม สงออกสินคาทดแทนไปตลาดสหรัฐฯ และจีนเพิ่มข้ึน
ทลี่ ดลงตอเนือ่ งตามปริมาณผลผลติ ทีอ่ อกสูต ลาดมากข้ึน รวมท้ังการยา ยฐานการผลิตมาไทยในชว งกอนหนา

อัตราเงนิ เฟอพื้นฐานอยูที่รอยละ 0.44 ลดลง สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
เล็กนอยรอยละ 0.49 ตามราคาอาหารสําเร็จรูปที่ลดลง กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลือ่ นไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

รายงานภาวะเศรษฐกิจที่สาํ คญั และแนวโนม 7

การนําเขาสินคา หดตัวรอยละ -0.5 จากระยะ ที่ลดลง ขณะที่ดุลบริการ รายได และเงินโอน เกินดุลเพิ่มข้ึน

เดยี วกนั ปกอน หาไมร วมการนาํ เขา ทองคาํ มลู คาการนําเขา เล็กนอยตามดุลรายไดที่มีการสงกลับกําไรและเงิน

หดตัวทีร่ อ ยละ -6.8 จาก 1) การนาํ เขาวตั ถุดิบและสินคา เปนผลลดลงจากไตรมาสกอน (ตารางที่ 8)

ขั้นกลางโดยเฉพาะช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสท่ีหดตวั สอดคลอง 5.3 ภาวะเศรษฐกจิ ตา งประเทศ
กบั ภาคการผลิตและการสงออก รวมการนําเขา นํา้ มนั ดบิ ท่ี
หดตัวจากท้ังดานราคาและปริมาณสวนหน่ึงเปนผลจาก เศรษฐกิจโลกมีแนวโนมขยายตัวชะลอลง
การปดซอมบํารุงโรงกลั่นนาํ้ มันบางแหง และ 2) การนําเขา เน่ืองจากมาตรการกีดกันทางการคาระหวางสหรัฐฯ และ
สินคาทุนทไ่ี มร วมเครือ่ งบินและแทนขุดเจาะ โดยเฉพาะ จีนท่ีรุนแรงข้ึนสงผลกระทบตอการผลิต การสงออก
อุปกรณโทรคมนาคมและเคร่ืองกําเนิดไฟฟาที่หดตัว และการลงทุนภาคเอกชน ขณะที่การบริโภคภาคเอกชน
สอดคลองกับการลงทุนภาคเอกชน อยางไรก็ดี การนําเขา ยังเปนสนับสนุนสําคัญจากการจางงานท่ีอยูในเกณฑด ี
สินคาอุปโภคบริโภคกลับมาขยายตัว สวนหน่ึงเปนผล ประกอบกับทิศทางนโยบายการเงินท่ีผอนคลายมากขึ้น
จากฐานทคี่ อ นขา งตํา่ (ตารางท่ี 7) แ ล ะ ม า ต ร ก า ร ก ร ะ ตุ น เ ศ ร ษ ฐ ก ิจ ข อ ง ภ า ค ร ัฐ ที ่มี
แนวโนมเพิ่มขึ้น จะชวยสนับสนุนการขยายตัวทาง
5.2 ดุลการชําระเงิน เศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมหลักในระยะตอ ไป

ไตรมาสที่ 3 ป 2562 ดุลการคาเกินดลุ 7.9 คณะกรรมการนโยบายการเงินจึงปรับลดขอสมมติ

พันลา นดอลลาร สรอ. โดยดลุ บญั ชีเดินสะพัดกลับมาเกินดลุ อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจประเทศคูคาลงเปน

เพ่ิมข้ึนจากไตรมาสกอน จากมูลคาการสงออกทองคํา รอยละ 2.8 ในป 2562 และรอยละ 2.7 ในป 2563

ll ตารางที่ 7 มลู คา การสงออกและการนาํ เขา (ในรูปดอลลาร สรอ.)

(อตั ราการเปล่ียนแปลงจากระยะเดียวกนั ปกอน)

(หนว ย : รอ ยละ) ป 2561 P ป 2561P ป 2562P

การสงออก ท้งั ป ครึง่ ปแ รก ครงึ่ ปหลัง ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค. ก.ย.
สนิ คาเกษตร
สินคาประมง 0.4 3.4 -2.5 -2.1 -4.9 -8.9 -10.0 -19.5
สินคาอุตสาหกรรม -6.5 -1.4 -11.0 -14.9 -9.2 -2.9 -2.2 -6.7
8.6 13.2 4.4 -1.9 -5.4 -4.9 -10.6 -2.1
- อิเล็กทรอนิกส 5.0 12.4 -1.5 -11.3 -9.5 -6.0 -9.5 -3.3
- ยานยนต 7.9 15.3 1.4 -3.8 -3.5 -0.5 -8.1 6.8
- เกษตรแปรรปู 7.6 10.2 5.2 0.7 -5.7 -0.7 -3.8 5.3
- เครื่องจักรและอปุ กรณ 6.7 10.3 3.4 -2.9 -6.2 -7.2 -7.0 -9.5
- เครอ่ื งใชไ ฟฟา 1.6 6.6 -3.6 -4.6 2.2 2.8 -4.6 8.4
- ผลิตภัณฑปโตรเลียม 21.8 26.5 17.8 -7.2 -13.4 -17.9 -24.5 -16.2
การสง ออกรวม
การนาํ เขา 7.5 12.4 2.9 -4.0 -4.2 0.0 -2.1 -1.5
สนิ คา อปุ โภคบริโภค
วัตถุดบิ และสินคา ข้ันกลาง 12.5 16.7 8.6 -1.3 1.6 8.9 -2.2 9.1
- เช้อื เพลงิ และนาํ้ มันหลอลื่น 17.9 19.5 16.3 -0.1 -4.8 -7.0 -10.6 -9.7
สนิ คาทุน 36.9 36.9 36.9 7.9 -3.7 -11.5 -0.9 -21.3
อื่น ๆ * 1.0 5.6 -3.3 -9.1 -5.0 4.1 -4.6 4.9
การนาํ เขารวม 9.0 15.2 4.4 10.3 2.0 -29.3 -47.9 -6.7

13.7 16.7 11.1 -2.9 -3.4 -6.8 -15.5 -4.5

หมายเหตุ : นยิ ามการสงออกและการนาํ เขาตามคมู อื ดลุ การชาํ ระเงนิ ของ IMF ฉบบั ที่ 6
P คอื ขอ มูลเบอ้ื งตน

* คอื ไมร วมราคาทองคาํ
ท่มี า : กรมศุลกากร

รายงานความเคล่อื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน

8 รายงานภาวะเศรษฐกิจท่ีสําคญั และแนวโนม

อยางไรก็ดี เศรษฐกิจประเทศคูคายังมีโอกาสขยายตัว รายไดภาคอสังหาริมทรพั ยและกอสรางขยายตัวในกลุม

ตํ่ากวากรณีฐาน ตามความไมแนนอนของสภาวะการ บานระดับกลาง-บนจากอุปสงคของลูกคากําลังซื้อสูง

กีดกันทางการคาฯ ที่ยืดเยื้อจนสงผลตอแนวโนม เปนหลัก รายไดภาคบริการหดตัวตามจํานวนนักทองเท่ียว

การบริโภคและการลงทุน ตลอดจนแนวโนมการฟนตัว และการแขงขันของประเทศคูแขงที่คาใชจายต่ํากวาไทย

ของวัฎจักรอิเล็กทรอนิกสและการสงออก รวมถึง ความเช่ือมั่นทางเศรษฐกิจเชื่อมั่นวาเศรษฐกิจยังคง

ปญหาภูมิรัฐศาสตรอ่ืน ๆ ที่อาจสงผลตอความผนั ผวน ทรงตัวในอีก 12 เดือนขางหนา ตนทุนในการทําธุรกิจ

ในตลาดการเงินและตลาดสนิ คา โภคภณั ฑ ระบุวาตนทุนเพ่ิมข้ึน สวนใหญมาจากทุนคาจางแรงงาน

6. แนวโนม ภาวะเศรษฐกจิ ไตรมาสที่ 4 ป 2562 ขอ จํากัดในการทําธุรกิจ ระบุวา การแขงขันรุนแรงจาก
ตลาดในประเทศเปนอุปสรรคในการดําเนนิ ธุรกิจ และ

ภาวะเศรษฐกิจในไตรมาสที่ 4 ป 2562 ภาคธุรกิจ ขอ จํากดั ดานแรงงานระบุวาไมจางแรงงานเพิ่มเพ่ือบริหาร
มองวาเศรษฐกิจไทยชะลอตัว ตามภาวะธุรกิจในภาคการผลิต ตนทุนท่วั ไปลดลงจากราคานา้ํ มันขายปลีกในประเทศที่
เพื่อการสงออกสินคา และอสังหาริมทรัพย รวมถึง ลดลงตามราคานํ้ามันดิบในตลาดโลก และอัตราเงินเฟอ
กอสรางท่ีชะลอลง ขณะท่ีภาคบริการหดตัว รายได พ้ืนฐานท่ีลดลง อัตราการวางงานที่ขจัดปจจัยฤดูกาล
ทางการคา ขยายตวั ในกลมุ สินคา อปุ โภค0บรโิ ภค เนื่องจาก เพ่ิมขึ้นเล็กนอยตามจํานวนผูมีงานทําท่ลี ดลง ดุลบญั ชี
มีการเพิ่มเงินชวยเหลือในบัตรสวัสดิการแหงรัฐเปน เดินสะพดั เกนิ ดุลเพม่ิ ขน้ึ ตามดุลการคา จากการสงออก
500 บาท (พ.ค.-มิย.) รายไดภาคการผลิตขยายตัวใน ทองคําที่เพ่ิมขึน้ และการนําเขาสินคาท่ีหดตัวสูง ขณะที่
กลุมช้ินสวนอิเล็กทรอนิกสสําหรับยานยนตเปนหลัก ดุลบัญชีเงินทนุ เคลื่อนยา ยเกินดุลสทุ ธเิ ลก็ นอ ยจากดา นหนี้สิน

lllllll ตารางท่ี 8 ดลุ การชําระเงิน (Balance of Payments)

ป 2561 ป 2562
(หนวย : ลานดอลลาร สรอ.) ป 2561 ครึ่งปแ รก ครึ่งปห ลัง ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ส.ค.
ก.ย.

ดุลการคา 22,388 13,823 8,564 6,459 5,710 7,962 3,583 2,687

ดุลบัญชเี ดินสะพัด 9/ 28,457 18,361 10,096 12,213 5,067 9,127 3,990 3,531

ดุลบญั ชีทุน -611 -611 - - 1 29 - 29

ดลุ บัญชีการเงนิ 9/10/ -14,948 -11,398 -3,551 -5,109 -3,216 181 -1,436 -925

- ธนาคารแหง ประเทศไทย 11/ -1,712 -1,006 -705 -722 1,395 -1,562 -226 -274

- ภาครัฐ 4,383 526 3,857 -643 -141 -230 -237 -216

- สถาบนั การเงนิ ท่ีรับฝากเงนิ -5,869 -4,106 -1,764 3,289 -1,225 590 -956 -1,838

- ภาคอนื่ ๆ -11,751 -6,812 -4,939 -7,032 -3,245 1,383 -16 1,404

ดุลการชาํ ระเงิน 7,266 9,637 -370 5,463 104 6,758 1,009 1,042

หมายเหตุ : 9/ ตงั้ แตต ุลาคม 2549 ธปท. บนั ทึก “กําไรทน่ี ํากลับมาลงทนุ (Reinvested Earnings)” เปน สว นหนง่ึ ของการลงทนุ โดยตรงในดุลบัญชี
เงินทุนและการเงนิ

10/ ขอมูลเดือนลาสุดเปนขอมลู เร็วเบื้องตน ซ่งึ จะมีการเปลี่ยนแปลงและแกไขในเดือนถดั ไป
11/ ตั้งแตป 2548 รวมการถือครองพันธบัตร ธปท. โดยผูมีถิ่นท่ีอยูในตางประเทศ

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน 9

1. ภาวะการทํางานของประชากร

จากการสาํ รวจภาวะการทํางานของประชากร เมื่อพิจารณาผูท่ีอยูในกําลังแรงงาน 37.96
โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ ระหวางเดือนกรกฎาคม –
กันยายน พ.ศ. 2562 พบวา มีจํานวนประชากรรวมท้ังสิ้น ลานคน พบวา ในจํานวนน้เี ปน ผูมีงานทํา 37.48 ลานคน
67.99 ลานคน ในจํานวนนี้เปนผูมีอายุ 15 ปขึ้นไป ลดลงจากชว งเดยี วกนั ของปกอน 0.81 ลานคน คิดเปน

56.62 ลานคน จําแนกเปนผูอยูในกําลังแรงงาน 37.96 ลานคน อัตราลดลงรอยละ 2.1 และเปนผูวางงาน 0.40 ลานคน
ลดลงจากชวงเดียวกนั ของปกอน 0.77 ลานคน คิดเปน ซึ่งมีจํานวนเพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันของปกอน 0.01
อัตราลดลงรอยละ 2.0 สวนผูไมอยูในกําลังแรงงานมี ลานคน คิดเปนอัตราเพิ่มข้ึนรอยละ 2.6 สวนผูที่รอ
จาํ นวน 18.65 ลานคน เพิ่มข้นึ จากชวงเดียวกันของปก อน ฤดูกาลมีจํานวน 0.08 ลานคน เพิ่มขึน้ จากชว งเดียวกันของ
ปกอน 0.03 ลานคน คิดเปนอัตราเพิ่มข้ึนรอยละ 60
1.06 ลานคน คิดเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 6.0 สําหรับ สําหรับอัตราการวางงานในไตรมาส 3 ป 2562 คิดเปน
ประชากรที่มีอายุต่ํากวา 15 ป มีจํานวน 11.37 ลานคน รอ ยละ 1.1 (แผนภูมิที่ 1)
ลดลงจากชวงเวลาเดียวกันของปกอน 0.14 ลานคน
หรอื คิดเปน อัตราลดลงรอยละ 1.2

แผนภมู ิท่ี 1 จําแนกปะชากรตามสถานภาพแรงงานไตรมาส 3 ป 2562

ประชากรทง้ั ประเทศ
67.99 ลานคน

ผมู ีอายตุ ่าํ กวา 15 ป ผมู ีอายุ 15 ปข น้ึ ไป
11.37 ลานคน 56.62 ลา นคน

ผูอ ยูในกําลงั แรงงาน ผไู มอ ยูใ นกําลังแรงงาน
37.96 ลานคน 18.65 ลา นคน

ผมู งี านทาํ 37.48 ลา นคน ทาํ งานบา น 5.49 ลา นคน

ผูวา งงาน 0.40 ลา นคน เรียนหนงั สอื 4.38 ลา นคน

ผูรอฤดกู าล 0.08 ลานคน
อ่ืน ๆ, ยังเด็ก ชรา ไมสามารถทาํ งานได 8.78 ลานคน
รายงานความเคลอื่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 สาํ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน

10 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

เมื่อพิจารณาผูมีงานทํา 37.48 ลานคน จําแนก ตารางท่ี 1 จํานวนผูมีงานทํา จาํ แนกตามสาขาอุตสาหกรรม
ตามสาขาอุตสาหกรรม พบวา เปนผูทํางานในภาคเกษตรกรรม
12.43 ลานคน ลดลงจากชวงเดยี วกันของปกอน 0.20 ลานคน หนวย : ลานคน
คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 1.6 และเปนผูทํางานนอก
ภาคเกษตรกรรม 25.05 ลานคน ลดลงจากชวงเดียวกัน อุตสาหกรรม Q3 Q3
ของปกอน 0.61 ลานคน คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 2.4 ป 2561 ป 2562
โดยสวนใหญลดลงในอุตสาหกรรมการผลิต การขายสง
การขายปลีก การซอมยานยนต และรถจักรยานยนต ยอดรวม 38.29 37.48
การกอสราง การบริหารราชการ และปองกันประเทศ
การประกนั สังคม กิจกรรมทางวิชาชีพ วิทยาศาสตร และ 1. สาขาเกษตรกรรม 12.63 12.43
เทคนิค กิจกรรมการบริหารและการบริการสนับสนุน และ การเกษตร การปาไม และการประมง 12.63 12.43
กจิ กรรมบรกิ ารดานอน่ื ๆ
2. สาขานอกเกษตรกรรม 25.66 25.05
เมื่อพิจารณาเฉพาะผูมีงานทํานอกภาคเกษตรกรรม
พบวา ผูมีงานทําสวนใหญอยูในสาขาการขายสง การขายปลีก 1) การทาํ เหมอื งแรแ ละเหมืองหนิ 0.07 0.06
การซอมยานยนต และรถจักรยานยนต จํานวน 6.01 ลานคน
คิดเปนรอยละ 24 ของผูมีงานทําสาขานอกภาคเกษตรกรรม 2) การผลิต 6.22 5.92
รองลงมาอยูในสาขาการผลิต จํานวน 5.92 ลา นคน คดิ เปน
รอยละ 23.6 ของผูมีงานทําสาขานอกภาคเกษตรกรรม 3) ไฟฟา กาซ ไอนํ้า และระบบปรับอากาศ 0.12 0.13
แ ล ะ อ ยู ใ น กิ จ ก ร ร ม โ ร ง แ ร ม แ ล ะ บริ การ ด านอ าหาร
มีจํานวน 2.91 ลานคน คิดเปนรอยละ 11.6 ของผูมีงานทํา 4) การจัดหาน้ํา การจดั การ และการ 0.08 0.10
สาขานอกภาคเกษตรกรรม (ตารางที่ 1 และแผนภมู ิที่ 2)
บําบดั นา้ํ เสยี ของเสยี และสิ่งปฏิกูล

5) การกอสราง 2.08 2.02

6) การขายสง การขายปลกี การซอม 6.25 6.01

ยานยนต และรถจักรยานยนต

7) การขนสง และสถานท่เี กบ็ สินคา 1.31 1.29

8) กิจกรรมโรงแรมและบริการดานอาหาร 2.83 2.91

9) ขอมูลขา วสารและการสือ่ สาร 0.19 0.19

10) กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 0.50 0.50

11) กิจกรรมอสงั หาริมทรัพย 0.18 0.19

12) กจิ กรรมทางวชิ าชีพ วิทยาศาสตร และ 0.40 0.36

เทคนคิ

13) กิจกรรมการบรหิ ารและการบริการ 0.56 0.60

สนับสนนุ

14) การบริหารราชการ การปองกันประเทศ 1.62 1.57

การประกนั สงั คม

15) การศึกษา 1.17 1.15

16) กจิ กรรมดา นสุขภาพและงานสงั คม 0.65 0.64

แผนภมู ิที่ 2 ผูมีงานทาํ จําแนกตามภาคเกษตรกรรม สงเคราะห
และนอกภาคเกษตรกรรม
17) ศลิ ป ความบันเทิง และนันทนาการ 0.25 0.27
ลา นคน
18) กิจกรรมบรกิ ารดา นอ่ืน ๆ 0.89 0.85

19) กิจกรรมการจางงานในครัวเรือน 0.19 0.21

สวนบุคคล การผลติ สินคา และบรกิ าร

30 ท่ีทําขึ้นเองเพื่อใชในครัวเรือน
25.66
25.05 20) กจิ กรรมขององคก ารระหวา งประเทศ 0.005 0.006
25
21) ไมท ราบ 0.08 0.08

20 เมื่อพิจารณาถึงระดับการศึกษาท่ีสําเร็จของ
ผูมีงานทาํ พบวา ผูมีงานทําสวนใหญมีระดับการศึกษา
15 12.63 12.43 ระดับประถมศึกษา มีจํานวน 8.27 ลานคน คิดเปนรอยละ
22.1 ของผูมีงานทําทงั้ หมด รองลงมาเปนผูมีการศึกษาระดับ
10 อุดมศึกษา มีจํานวน 8.06 ลานคน คิดเปนรอยละ 21.5
ของผูมีงานทําท้ังหมด และมีการศึกษาระดับต่ํากวา
5 ประถมศกึ ษา มีจํานวน 6.79 ลานคน คดิ เปนรอยละ 18.1
ของผูมีงานทาํ ท้งั หมด (แผนภูมทิ ่ี 3)
0 Q 3/2562
Q 3/2561 เมื่อพิจารณาสถานภาพการทํางานของผูมีงานทํา
พบวา ผูมีงานทําสวนใหญมีสถานภาพเปนลูกจางเอกชนมี
ภาคเกษตรกรรม นอกภาคเกษตรกรรม จาํ นวน 14.50 ลานคน คิดเปนรอ ยละ 38.7 ของผมู ีงานทํา

รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 11

ทั้งหมด รองลงมาเปนผูทําธุรกิจสวนตัวมีจํานวน 11.98 เมื่อพิจารณาถึงช่ัวโมงทํางานตอสัปดาหของ
ลานคน คิดเปน รอยละ 32 ของผูมีงานทําท้ังหมด และ ผูมีงานทํา พบวา เปนผูที่ไมไดทํางานในสัปดาหสํารวจ
ผูมีสถานภาพการทํางานเปนผูชวยธุรกิจในครัวเรือน (ระหวา ง 7 วันกอนสัมภาษณ) แตเปนผูมีงานทาํ มีจํานวน
มีจํานวน 6.59 ลานคน คิดเปนรอยละ 17.6 ของผูมีงานทํา 0.15 ลานคน คิดเปนรอ ยละ 0.4 ของผูมงี านทําทั้งหมด
ท้ังหมด (ตารางท่ี 2) ผูทํางานระหวา ง 1 – 49 ช่ัวโมง มีจํานวน 30.31 ลานคน
คิดเปนรอยละ 80.9 ของผูมีงานทําท้ังหมด และทํางาน
แผนภูมทิ ่ี 3 จํานวนผมู งี านทํา จาํ แนกตามระดับการศึกษา ตั้งแต 50 ช่ัวโมงขึ้นไป มีจํานวน 7.02 ลานคน คิดเปน
ไตรมาส 3 ป 2561 และป 2562 รอ ยละ 18.7 ของผูมีงานทําทงั้ หมด (ตารางที่ 3)

ระดบั การศกึ ษา

1.11 ตารางที่ 3 จาํ นวนผมู งี านทํา จําแนกตามชว่ั โมงทํางาน

ตาํ่ กวาไปปมรรมะะีกถถามมรศศศกึกึกึ ษษษาาา 1.20 6.79 ตอ สปั ดาห
มัธมยมัธยศมกึ ศษกึาษตออุดาตนมอปศนึกลตษานยา 0.15 7.35
8.27 หนว ย : ลา นคน
8.37
ชั่วโมงทํางาน Q3 Q3
6.45
6.44 ตอสัปดาห ป 2561 ป 2562
6.40
6.42 0 ชว่ั โมง 0.18 0.15

8.06 (0.5) (0.4)
8.17
1 – 49 ช่วั โมง 30.50 30.31
4 6 8 10
ป 2561 ป 2562 (79.6) (80.9)

อ่นื ๆ 0.14 50 ชวั่ โมงข้ึนไป 7.61 7.02
0.25 (19.9) (18.7)

ไมท ราบ 0.20 12 รวม 38.29 37.48
(100.0) (100.0)
02

ตารางท่ี 2 จาํ นวนผมู ีงานทํา จําแนกตามสถานภาพ หมายเหตุ : ช่วั โมงทํางานตอ สปั ดาห หมายถงึ จํานวนช่ัวโมง
ทาํ งานจริงทัง้ หมดในระหวาง 7 วันกอนวันสัมภาษณ บคุ คล
การทํางาน ทีม่ ีอาชีพมากกวา 1 อาชีพ จะรวมจํานวนช่วั โมงทาํ งานทุกอาชีพ
สาํ หรับผูท่ีปกติมีงานประจําแตในสัปดาหการสาํ รวจไมได
หนว ย : ลานคน ทํางานอาจเน่ืองมาจากหยุดพักผอน ลาปวยเปน ตนจะถือวา
มชี ่ัวโมงทาํ งานเปน 0 ชัว่ โมง
สถานภาพ Q3 Q3

การทาํ งาน ป 2561 ป 2562 จากผลการสํารวจภาวะการวางงานของประชากร
พบวา ผูวางงานจํานวน 4.0 แสนคน โดยเปนผูที่เคย
ยอดรวม 38.29 37.48 ทํางานมากอน 2.0 แสนคน จําแนกเปนผูที่เคยทํางานใน
ภาคเกษตรกรรม 0.2 แสนคน ภาคการผลิต 0.9 แสนคน
1. นายจาง 1.04 0.95 และภาคการบริการ 0.9 แสนคน สําหรับผูวางงาน
ทไี่ มเ คยทํางานมากอน เน่ืองจากเพ่ิงสาํ เร็จการศึกษา และ
2. ลกู จางรัฐบาล 3.48 3.43 เริม่ เขาสูตลาดแรงงานมีจํานวน 2.0 แสนคน (ตารางท่ี 4)

3. ลูกจา งเอกชน 14.79 14.50 สําหรับจํานวนและอัตราการวางงานในไตรมาส 3
ป 2562 ของแตละภาค พบวา ภาคกลางมีผูวางงาน
4. ธรุ กิจสว นตัว 12.13 11.98 สูงที่สุด มีจํานวน 1.4 แสนคน และพบวาภาคใต
มอี ตั ราการวางงานสงู สุดอยทู ่รี อยละ 1.5 (ตารางที่ 5)
5. ชว ยธรุ กิจในครวั เรือน 6.82 6.59
สาํ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
6. การรวมกลุม 0.03 0.03 กรมสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

12 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

ตารางท่ี 4 จํานวนผวู างงาน จาํ แนกตามประสบการณ 2. ภาวะการทํางานของแรงงานเด็ก (อายุ 15 ปขึ้นไป
แตไมถ ึง 18 ปบรบิ ูรณ)
และสาขาอตุ สาหกรรมที่เคยทํา

หนวย : ลานคน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน ไดนํา
ขอ มลู ดิบจากการสํารวจภาวะการทํางานของประชากร
อุตสาหกรรม Q3 Q3 ทั่วราชอาณาจักรไตรมาสที่ 2 ป 2562 ของสาํ นักงาน
ป 2561 ป 2562 สถิติแหงชาติมาประมวลผล เพื่อวิเคราะหขอมูล
เกีย่ วกบั ภาวะการทาํ งานของแรงงานเด็ก (อายุ 15 ปข ้ึนไป
ยอดรวม 0.39 0.40 แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) โดยพบวาในไตรมาสที่ 2 ป 2562
ประเทศไทยมีผูอยูในกําลังแรงงาน 38,420,133 คน
ไมเคยทาํ งานมากอ น 0.20 0.20 ในจํานวนน้ีเปนแรงงานเด็ก จํานวน 220,482 คน คิดเปน
รอยละ 0.6 ของแรงงานทั้งหมด โดยจําแนกเปนผูมี
เคยทาํ งานมากอน 0.19 0.20 งานทํา 206,585 คน ผูวา งงาน 11,417 คน และเปน
ผรู อฤดกู าล 2,480 คน (ตารางท่ี 6)
1. สาขาเกษตรกรรม 0.02 0.02
2. ภาคการผลิต (1) 0.08 0.09
3. ภาคการบริการและการคา (2) 0.09 0.09

หมายเหตุ : (1) รวมการทําเหมืองแรแ ละเหมืองหนิ ไฟฟา กาซ และ ตารางท่ี 6 จาํ นวนกาํ ลังแรงงาน จาํ แนกตามสถานภาพ

การประปา การผลติ การจัดหาน้ํา การจดั การ การบาํ บัดนํ้าเสยี ของเสีย ไตรมาสท่ี 2 ป 2562
และปฏิกูล การกอสราง
Q 2/2562
(2) รวมการขายสง ขายปลีก ซอมแซมยานยนตแ ละของใชฯ
สถานภาพ จํานวน รอยละ
โรงแรมและภัตตาคาร การขนสง สถานท่ีเก็บสนิ คา และคมนาคม การเปน (คน)

ตัวกลางทางการเงิน การคา อสังหาริมทรัพยและการใหเ ชา การบรหิ าร รวมผูอยใู นกาํ ลังแรงงาน 38,420,133 100
ราชการและการปองกันประเทศ การศึกษางานดานสุขภาพและสังคม-
- เด็ก 220,482 0.6
2ส.งเคภราาะวหะ กกาารบรรทิกําารงชาุมนชขน อสังงคแมรแงลงะาสวนนเบดคุ ็กคล(อลูกาจยาุง1ใน5ครปัวเขรือึ้นนไป
แสตวนไ บมุคถคงึล อ1ง8คกปรรบ ะหรวบิ ารูงปณระ)เทศ และไมทราบ

ตารางที่ 5 จาํ นวนและอัตราการวางงาน จาํ แนกตามภาค - ผูใ หญ 38,199,651 99.4

Q3 Q3 ผมู ีงานทํา 37,781,802 100
ป 2561 ป 2562
ภาค - เดก็ 206,585 0.5

จํานวนผูวางงาน (หนวย : ลา นคน) - ผใู หญ 37,575,217 99.5

ยอดรวม 0.39 0.40 ผวู า งงาน 376,926 100

กรงุ เทพมหานคร 0.06 0.06 - เด็ก 11,417 3.0

กลาง 0.13 0.14 - ผใู หญ 365,509 97.0

เหนอื 0.06 0.05 ผูร อฤดกู าล 261,404 100

ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 0.07 0.07 - เดก็ 2,480 0.9

ใต 0.06 0.08

อตั ราการวางงาน (รอยละ) - ผใู หญ 258,924 99.1

ยอดรวม 1.0 1.1 ขอมลู : การสํารวจภาวะการทาํ งานของประชากร ไตรมาสที่ 2/2562

กรุงเทพมหานคร 1.2 1.1

กลาง 1.1 1.1 เม่ือพิจารณาเฉพาะกลุมผูมีงานทําที่เปนเด็ก
จํานวน 206,585 คน จําแนกเปนเพศชาย 151,397 คน
เหนือ 1.0 0.9 คิดเปนรอยละ 73.3 และเพศหญิง 55,188 คน คิดเปน
รอ ยละ 26.7 เม่ือจําแนกตามระดับการศึกษาพบวาสวนใหญมี
ตะวนั ออกเฉียงเหนือ 0.7 0.7 การศึกษาในระดบั มัธยมศึกษาตอนตน มีจํานวน 101,893 คน
คิดเปนรอยละ 49.3 รองลงมามีการศึกษาในระดับ
ใต 1.2 1.5

หมายเหตุ : อตั ราการวา งงาน = ผูวา งงาน x 100
ผูอยใู นกาํ ลงั แรงงาน

รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวสั ดิการและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 13

ประถมศึกษา มีจํานวน 87,891 คน คิดเปนรอยละ 42.5 ตารางที่ 7 จาํ นวนและรอยละของผมู ีงานทําท่เี ปน เด็ก
เมื่อจําแนกตามภาค พบวา สวนใหญทํางานในภาค (อายุ 15 ปข้นึ ไป แตไมถึง 18 ปบริบูรณ) จําแนกตามเพศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ มีจํานวน 70,769 คน คิดเปนรอยละ ระดบั การศึกษา ภาค ประเภทอตุ สาหกรรม อาชพี และ
34.3 รองลงมาเปนภาคใต มีจํานวน 48,701 คน คิดเปน
รอ ยละ 23.6 เม่ือจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา สถานภาพการทํางาน ไตรมาสท่ี 2 ป 2562 (ตอ)
อยใู นภาคเกษตรกรรม จํานวน 96,830 คน คดิ เปนรอยละ
46.9 และนอกภาคเกษตรกรรม จํานวน 109,755 คน คิดเปน Q 2/2562
รอยละ 53.1 เม่ือจําแนกตามอาชีพพบวา สวนใหญ
ประกอบอาชพี ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตร ปาไม จาํ แนกตาม จํานวน รอ ยละ
และประมง มีจํานวน 74,439 คดิ เปน รอยละ 36 รองลงมา (คน)
เปนผูประกอบอาชพี งานพื้นฐาน จํานวน 58,024 คน คิดเปน - เหนือ
รอยละ 28.1 และเมื่อจําแนกตามสภาพการทํางาน พบวา - ตะวันออกเฉยี งเหนือ 35,404 17.1
สวนใหญเปนชวยธุรกิจในครัวเรือนโดยไมไดรับคาจาง มี - ใต
จํานวน 98,358 คน คิดเปนรอยละ 47.6 รองลงมาเปน ประเภทอุตสาหกรรม 70,769 34.3
ลกู จา งเอกชน มีจาํ นวน 90,487 คน คิดเปนรอยละ 43.8 - ภาคเกษตรกรรม
(ตารางท่ี 7) - นอกภาคเกษตรกรรม 48,701 23.6

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละของผมู ีงานทําทีเ่ ปนเด็ก 96,830 46.9
(อายุ 15 ปข ึน้ ไป แตไ มถึง 18 ปบริบูรณ) จําแนกตาม 109,755 53.1
เพศ ระดบั การศึกษา ภาค ประเภทอุตสาหกรรม อาชพี
อาชีพ 1,278 0.6
และสถานภาพการทํางาน ไตรมาสที่ 2 ป 2562 - ผจู ดั การระดับอาวุโส 375 0.2
- ผปู ระกอบวชิ าชีพดา นตาง ๆ 856 0.4
Q 2/2562
- เจาหนาทีเ่ ทคนิคและ 913 0.4
จาํ แนกตาม จาํ นวน ผูประกอบวิชาชีพท่ีเก่ียวของ 37,691 18.3
(คน) ดานตา ง ๆ
ยอดรวม 206,585 74,439 36.0
เพศ - เสมียน
- ชาย
- หญงิ - พนกั งานบรกิ ารและผูจาํ หนา ย-
ระดับการศึกษา
- ไมม กี ารศกึ ษา สินคา
- กอ นประถมศึกษา
- ประถมศึษา - ผูปฏบิ ัติงานท่มี ฝี มอื ในดาน
- มธั ยมศกึ ษาตอนตน
- มธั ยมศึกษาตอนปลาย รอ ยละ การเกษตร ปาไมและประมง 27,361 13.2
- การศกึ ษาอืน่ ๆ และ 100.0 - ชา งฝมอื และผูปฏิบตั งิ าน 5,648 2.7
ไมทราบ ทีเ่ กยี่ วของ
ภาค 151,397 73.3 - ผปู ฏิบตั กิ ารเครอื่ งจักรโรงงาน 58,024 28.1
- กรุงเทพมหานคร 55,188 26.7 และเครื่องจักร และผูป ฏบิ ัติงาน
- 5 จงั หวดั รอบกรงุ เทพฯ ดา นการประกอบ
- กลาง 2,573 1.3 - ผปู ระกอบอาชพี งานพื้นฐาน
7,890 3.8
87,891 42.5 สถานภาพการทํางาน 7,501 3.6
101,893 49.3
5,325 2.6 - ประกอบธรุกจิ สว นตว 98,358 47.6
1,013 0.5 136 0.1
- ชวยธุรกจิ ในครวั เรอื น 90,487 43.8
- ลกู จางรฐั บาล
- ลูกจางเอกชน 10,104 4.9

- ผรู บั จา งทาํ งานหลายเจา

6,076 2.9 เมื่อพิจารณาเฉพาะกลุมลูกจางในภาคเอกชนท่ี
4,221 2.0 เปนเด็ก จํานวน 90,487 คน พบวา เปนเพศชาย จํานวน
41,414 20.1
65,602 คน คิดเปน รอ ยละ 72.5 และเปนเพศหญงิ จํานวน
24,884 คน คิดเปนรอยละ 27.5 เมื่อจําแนกตามระดับ

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

14 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

การศกึ ษา พบวา สวนใหญมีการศกึ ษาในระดับประถมศึกษา ตารางท่ี 8 จาํ นวนและรอยละของลูกจางในภาคเอกชน
มีจํานวน 39,986 คน คิดเปนรอยละ 44.2 รองลงมามี ท่เี ปนเด็ก (อายุ 15 ปข น้ึ ไป แตไมถึง 18 ปบรบิ ูรณ)จาํ แนก
การศึกษาระดับในระดับมัธยมศึกษาตอนตน มีจํานวน
39,762 คน คิดเปนรอยละ 43.9 เมื่อจําแนกตามภาค ตามเพศ ระดับการศกึ ษา ภาค ประเภทอตุ สาหกรรม
พบวา สวนใหญทํางานภาคใต มีจํานวน 28,300 คน คดิ เปน และอาชีพ ไตรมาสท่ี 2 ป 2562 (ตอ )
รอ ยละ 31.3 รองลงเปนภาคกลาง จํานวน 22,144 คน คิดเปน
รอยละ 24.4 เม่ือจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม พบวา Q 2/2562
อยูในภาคเกษตรกรรม จํานวน 17,062 คน คิดเปนรอยละ
18.9 และภาคนอกเกษตรกรรม มีจํานวน 73,425 คน คิดเปน จําแนกตาม จาํ นวน รอยละ
รอ ยละ 81.1 และเมื่อจําแนกตามอาชีพ พบวา สวนใหญ - เหนือ (คน) 11.0
เปนผูประกอบอาชีพงานพ้ืนฐาน มจี ํานวน 43,267 คน คดิ เปน
รอยละ 47.8 รองลงมาเปนชางฝมือและผูปฏิบัติงาน 9,927
ท่ีเก่ยี วขอ ง 18,480 คน คดิ เปนรอยละ 20.4 (ตารางที่ 8)
- ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 21,654 23.9
ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละของลกู จางในภาคเอกชน
ทเี่ ปนเดก็ (อายุ 15 ปข ้ึนไป แตไมถ งึ 18 ปบริบูรณ) - ใต 28,300 31.3
จาํ แนกตามเพศ ระดับการศกึ ษา ภาค ประเภทอตุ สาหกรรม
ประเภทอุตสาหกรรม
และอาชีพ ไตรมาสท่ี 2 ป 2562
- ภาคเกษตรกรรม 17,062 18.9

- นอกภาคเกษตรกรรม 73,425 81.1

อาชีพ 856 1.0
- เจา หนาท่ีเทคนคิ และ
ผูประกอบวชิ าชีพท่ีเกีย่ วขอ ง

ดานตา ง ๆ

Q 2/2562 - เสมียน 913 1.0

จาํ แนกตาม จํานวน รอยละ - พนักงานบรกิ ารและ 18,276 20.2
(คน) 100.0
ยอดรวม ผูจําหนา ยสนิ คา
เพศ 90,487
- ชาย - ผปู ฏิบัตงิ านทม่ี ฝี มอื ในดา น 3,265 3.6
- หญิง
ระดับการศึกษา 65,602 72.5 การเกษตรปา ไม และประมง
- ไมม กี ารศกึ ษา 24,884 27.5
- กอนประถมศึกษา - ชางฝม อื และผปู ฏิบัตงิ าน 18,480 20.4
- ประถมศกึ ษา
- มธั ยมศกึ ษาตอนตน ท่เี ก่ียวขอ ง
- มัธยมศึกษาตอนปลาย
- การศกึ ษาอน่ื ๆ 1,284 1.4 - ผปู ฏิบตั ิการเครือ่ งจกั ร 5,430 6.0
และไมท ราบ 4,775 5.3
ภาค 39,986 44.2 โรงงานและเครือ่ งจักร และ
- กรุงเทพมหานคร 39,762 43.9
- 5 จังหวดั รอบกรงุ เทพฯ 3,667 4.1 ผูป ฏิบตั งิ านดา นการประกอบ
- กลาง 1,013 1.1
- ผปู ระกอบอาชพี งานพืน้ ฐาน 43,267 47.8

5,053 5.6 3. ความเคล่ือนไหวดา นการคมุ ครองแรงงาน
3,408 3.8
22,144 24.4 3.1 การรอ งทุกขของลกู จา ง

รายงานความเคลื่อนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 กรมสวัสดิการ
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 และคุมครองแรงงานไดรับคํารองจากลูกจางรวมท้ังส้ิน
8,476 ราย เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน 996 ราย
คิดเปนอัตราเพ่ิมข้ึนรอยละ 13.3 ลูกจางท่ีเกี่ยวของ
18,223 คน เพิ่มข้ึนจากระยะเดียวกันปกอน 2,296 คน

สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน 15

คิดเปน อัตราเพ่ิมขึน้ รอยละ 14.4 (ตารางสรุปสถิตคิ วาม 192.456 ลา นบาท และออกคําสั่งวาลูกจางไมมีสิทธิไดรับเงิน
เคล่ือนไหวดานแรงงานที่สําคัญ) โดยพบวา เร่ืองท่ีลกู จาง 239 ราย ลกู จา งทเ่ี ก่ียวขอ ง 379 คน (ตารางที่ 9)
รองทุกขมากท่ีสุด 3 อันดับแรก ไดแก 1) คาจาง จํานวน
5,617 ราย คิดเปนรอยละ 66.3 2) คาชดเชยการเลิกจาง ในไตรมาส 3 ป 2562 กรมสวัสดิการและคุมครอง
จํานวน 2,012ราย คิดเปนรอยละ 23.7 และ 3) คาจางแทนการ แรงงานไดรับคํารองจากลูกจางรวมท้ังส้ิน 2,407 ราย เพิ่มข้ึน
บอกกลา วลวงหนา จาํ นวน 1,686 ราย คิดเปนรอ ยละ 19.9 จากระยะเดียวกันปก อน 241 ราย คิดเปนอัตราเพ่ิมข้ึน
รอ ยละ 11.1 ลูกจางท่เี ก่ียวของ 5,600 คน เพิ่มขึ้นจากระยะ
จากคํารองที่ไดรับ พนักงานตรวจแรงงานได เดียวกันปกอน 1,418 คน คิดเปนอัตราเพ่ิมขึ้นรอยละ
สอบสวนขอเท็จจริงใหลูกจางมีสิทธิไดรับเงิน จํานวน 33.9 (ตารางสรปุ สถิติความเคล่ือนไหวดานแรงงานท่ีสําคญั )
7,362 ราย เพ่ิมข้ึนจากระยะเดียวกันปกอน 1,035 ราย โดยพบวาเรื่องที่ลูกจางรองทุกขมากท่ีสุด 3 อันดับแรก
คิดเปนอัตราเพ่ิมขึ้นรอยละ 16.4 ลูกจางท่ีเก่ียวของ ไดแก 1) คา จาง มีจํานวน 1,609 ราย คิดเปนรอยละ 66.8
15,223 คน เพ่ืมขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน 2,909 คน 2) คา ชดเชยการเลกิ จา ง มีจํานวน 532 รายคดิ เปนรอยละ
คิดเปนอัตราเพ่ิมขึ้นรอยละ 23.6 สิทธิประโยชนที่ลูกจาง 22.1 และ 3) คาจางแทนการบอกกลาวลวงหนา มีจํานวน
ไดรับเงนิ 348.424 ลานบาท เพิ่มข้ึนจากระยะเดียวกัน 474 ราย คดิ เปน รอยละ 19.7
ปกอน 12.492 ลานบาท คิดเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 3.7
(รวมการวนิ ิจฉยั คํารองท่คี า งจากงวดกอ น) จากคํารองที่ไดรับ พนักงานตรวจแรงงานได
สอบสวนขอเท็จจริงใหลูกจางมีสิทธิไดรับเงิน จํานวน
ผลการวินิจฉัยคํารองพบวา สวนใหญยุติโดย 1,641 ราย เพ่ิมขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน 195 ราย คิดเปน
การถอนคํารอง จํานวน 5,102 ราย ลูกจางที่เกี่ยวของ อัตราเพิ่มขึน้ รอยละ 13.5 ลูกจางท่ีเก่ียวของ 3,718 คน
10,210 คน รองลงมาเปนการประนีประนอม จํานวน เพ่ิมข้ึนจากระยะเดียวกันปกอน 1,190 คน คิดเปนอัตรา
4,577 ราย ลูกจางที่เกี่ยวของ 9,205 คน สิทธปิ ระโยชน เพ่ิมข้ึนรอยละ 47.1 สิทธปิ ระโยชนท่ีลูกจางไดรบั เปนเงนิ
ทลี่ กู จา งไดร ับ 156.906 ลานบาท นอกจากน้ีเจาหนาที่ 71.173 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปกอน
ไดดําเนินการออกคําส่ังลูกจางรายคน จํานวน 1,224 ราย 19.289 ลานบาท คิดเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 37.2
ลูกจางที่เกย่ี วขอ ง 4,704 คน สิทธปิ ระโยชนทลี่ กู จา งไดรบั (รวมการวนิ จิ ฉัยคํารอ งทค่ี า งจากงวดกอ น)

ตารางที่ 9 จํานวนคํารอ งท่ไี ดรับและผลการวินิจฉัยคาํ รอ ง ป 2562

รายละเอยี ดและการวนิ ิจฉัย ไตรมาส 3 ป 2562 ม.ค. – ก.ย. 2562
คํารอง ราย คน ลานบาท ราย คน ลานบาท
2,407 5,600 212.706 8,476 18,223 831.157
คาํ รองท่ไี ดรบั
ผลการวินิจฉัยคํารอง 1,614 3,718 71.173 7,362 15,223 348.424
การดําเนินการของเจาหนาที่
- ประนีประนอม 1,282 2,260 40.633 4,577 9,205 156.906

- ออกคําสัง่ ลกู จางรายคน 146 1,172 31.109 1,224 4,704 192.456
- การออกคําส่งั วาลูกจางไมมสี ิทธิ-
ไดร ับเงนิ 21 97 - 239 379 -
- ดาํ เนนิ คดีแพง
- - - 10 11 0.035
- ดาํ เนินคดอี าญา
- ถอนคํารอง 1 1 - 212 858 19.038
- นายจา งรับกลับเขาทาํ งาน
- ใหลกู จางไปรอ งศาล 1,387 2,487 - 5,102 10,210 -

11 818 - 45 883 -

23 25 - 136 219 -

หมายเหตุ : การดาํ เนนิ การของเจา หนา ที่รวมการวินิจฉยั คาํ รองท่คี า งจากงวดกอ น

รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สาํ นกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน

16 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

ผลการวินิจฉัยคํารอง พบวา สวนใหญยุติโดย แผนภูมทิ ี่ 4 อตั ราการปฏิบัติถกู ตอ งตามกฎหมาย
การถอนคํารอง จํานวน 1,387 ราย ลูกจางท่ีเกี่ยวของ คมุ ครองแรงงาน ป 2561 – 2562
2,487 คน รองลงมาเปนการประนีประนอม จํานวน
1,282 ราย ลูกจางทีเ่ กี่ยวของ 2,260 คน สิทธิประโยชน รอยละ
ท่ีลูกจางไดรับ 40.633 ลานบาท และการออกคําสั่ง
ลูกจางรายคน จํานวน 146 ราย ลูกจางท่ีเก่ียวของ 1,172 คน 90 80.7 78.0
สิทธิประโยชนท ี่ลูกจางไดร บั 31.109 ลานบาท (ตารางท่ี 9)
80 77.5 79.7 74.4 78.6 74.1
3.2 การตรวจคมุ ครองแรงงาน 72.1

3.2.1 การตรวจคุมครองแรงงานทั่วไปใน 70
สถานประกอบกจิ การ
60
การตรวจแรงงานเปนวิธีหน่ึงในการคุมครอง
แรงงาน โดยพนกั งานตรวจแรงงานจะตองกํากับดูแลให 50
นายจางปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมาย เพื่อใหลูกจาง
ไดรบั สิทธิประโยชนไ มน อยกวาที่กฎหมายกาํ หนด 40

ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 มีสถานประกอบ- 30
กิจการผานการตรวจคุมครองแรงงาน 28,468 แหง
ลดลงจากระยะเดยี วกันปกอน 5,983 แหง คดิ เปนอัตราลดลง 20
รอยละ 17.4 และลูกจางท่ีผานการตรวจ 985,190 คน
ลดลงจากระยะเดียวกันปกอน 192,460 คน คิดเปน 10
อตั ราลดลงรอ ยละ 16.3
0
ผลการตรวจพบวา มีสถานประกอบกิจการ Q 1 Q 2 Q 3 ม.ค. - ก.ย.
ปฏบิ ัติถูกตองตามกฎหมายคุมครองแรงงาน 21,099 แหง
คิดเปนรอยละ 74.1 ของสถานประกอบกจิ การท่ผี านการตรวจ ป 2561 ป 2562
คุม ครองแรงงานท้งั หมดลดลงจากชวงเวลาเดยี วกันของ
ปก อ น ซ่งึ มอี ัตราการปฏิบตั ิถูกตองรอ ยละ 78.6 (แผนภูมทิ ่ี 4) แผนภูมิที่ 5 รอยละของสถานประกอบกจิ การทผี่ านการตรวจ
คุม ครองแรงงานสงู สดุ 5 อนั ดับแรก
เมือ่ พจิ ารณาตามประเภทอตุ สาหกรรมพบวา
อุตสาหกรรมท่ีผานการตรวจสูงสุด 5 อันดบั แรก ไดแก จําแนกตามอตุ สาหกรรม มกราคม - กนั ยายน 2562
1) การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต
จักรยานยนต ของใชส วนบุคคลและของใชในครัวเรือน อุตสาหกรรม
จํานวน 10,180 แหง คิดเปน รอยละ 35.8 2) การผลิต
จาํ นวน 6,211 แหง คดิ เปนรอยละ 21.8 3) โรงแรมและ การขายสง การขายปลีกฯ 35.8
ภัตตาคาร จํานวน 3,236 แหง คิดเปนรอยละ 11.4 การผลิต 21.8
4) บริการดา นอสังหาริมทรพั ย การใหเ ชา และบริการทาง
ธุรกิจ จํานวน 2,393 แหง คิดเปนรอยละ 8.4 และ โรงแรมและภัตตาคาร 11.4
5) การกอสราง จํานวน 1,978 แหง คิดเปนรอยละ 6.9
(แผนภมู ทิ ี่ 5) บรกิ ารดานอสงั หาริมทรัพยฯ 8.4
การกอ สราง 6.9
อุตสาหกรรมท่ีมีอัตราการปฏิบัติไมถูกตอง
ตามกฎหมายคมุ ครองแรงงานสูงสุด 5 อันดบั แรก ไดแก รอยละ

รายงานความเคล่อื นไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน 0 5 10 15 20 25 30 35 40
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562
สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดิการและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 17

1) การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ แผนภูมทิ ี่ 7 รอยละของสถานประกอบกิจการ
คิดเปนรอยละ 8.5 2) การผลิต คิดเปนรอยละ 6.9 3) โรงแรม ที่ผานการตรวจคมุ ครองแรงงาน จําแนกตาม
และภตั ตาคาร คดิ เปนรอยละ 3.2 4) การกอสราง คิดเปน ขนาดสถานประกอบกิจการ มกราคม – กันยายน 2562
รอ ยละ 2.1 และ 5) บริการดานอสังหาริมทรพั ย การใหเชา
และบริการทางธุรกิจ คิดเปน รอ ยละ 2.0 (แผนภมู ทิ ่ี 6) ขนาด สปก.
(จํานวนลูกจา ง)
แผนภมู ทิ ่ี 6 อตั ราการปฏิบัตไิ มถ กู ตองตามกฎหมาย
คมุ ครองแรงงานสงู สุด 5 อนั ดับแรก 1 - 9 40.6

จาํ แนกตามประเภทอตุ สาหกรรม มกราคม-กันยายน 2562 10 - 49 46.2

อุตสาหกรรม

50 - 99 7.6

การขายสง การขายปลีกฯ 8.5 100 - 299 4.7
การผลิต 6.9

300 - 499 0.8

โรงแรมและภัตตาคาร 3.2 500+ 0.7
การกอสราง 2.1
0 10 20 30 40 50 รอ ยละ

บริการดา นอสังหารมิ ทรัพย 0 2.0 6 รอยละ แผนภูมิที่ 8 อตั ราการปฏบิ ตั ิไมถ กู ตอ งตามกฎหมาย
24 คุมครองแรงงาน จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบกจิ การ
8 10
มกราคม – กันยายน 2562
เม่ือพิจารณาตามขนาดสถานประกอบกิจการ
พบวา สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจคุมครอง ขนาด สปก.
แรงงานสวนใหญเปนสถานประกอบกิจการที่มีลูกจาง (จํานวนลกู จา ง)
10 - 49 คน คิดเปนรอยละ 46.2 ของสถานประกอบ-
กิจการท่ีมีการตรวจทงั้ หมด รองลงมาเปนสถานประกอบ- 1-9 8.2
12.8
กิจการที่มีลูกจาง 1 - 9 คน และ 50-99 คน คิดเปนรอยละ 10 - 49
40.6 และ 7.6 (แผนภมู ทิ ่ี 7) 10 15 รอยละ

ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงานพบวา 50 - 99 2.9
สถานประกอบกจิ การทม่ี ลี กู จาง10 -49 คน มีอัตราการปฏิบัติ
100 - 299 1.6
ไมถูกตอ งสูงสุด คิดเปนรอยละ 12.8 รองลงมาไดแก สถาน-
ประกอบกจิ การทม่ี ีลูกจาง 1 - 9 คน และ 50 - 99 คน 300 - 499 0.3
คิดเปน รอยละ 8.2 และ 2.9 ตามลําดับ (แผนภมู ิท่ี 8)

สําหรับขอกําหนดตามกฎหมายคุมครองแรงงาน 500+ 0.2 5
0
ที่สถานประกอบกิจการปฏิบัติไมถูกตองสูงสุด ไดแก
คาจา งขัน้ ตา่ํ คิดเปนรอยละ 4.07 ของสถานประกอบกจิ การ

รายงานความเคล่อื นไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

18 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

ที่ผานการตรวจทั้งหมด รองลงมา ไดแก การจัดต้ัง ผลการตรวจพบวา มีสถานประกอบกิจการ
คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ และ ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายคมุ ครองแรงงาน 4,076 แหง
การจายคาจางทํางานในวันหยุด คิดเปนรอยละ 1.99 คิดเปนรอยละ 74.4 ของสถานประกอบกิจการที่ผาน
และ 0.9 ตามลาํ ดบั (ตารางท่ี 10) การตรวจคุมครองแรงงานท้ังหมด ซ่ึงมีอัตราลดลงจาก
ระยะเดียวกันปกอนท่ีมีอัตราการปฏิบัตถูกตองรอ ยละ
ในการดําเนินการของพนักงานตรวจแรงงาน 79.7 (แผนภูมทิ ่ี 4)
กับสถานประกอบกิจการทีป่ ฏิบัติไมถูกตอง พบวา สวนใหญ
เปนการออกคําสั่งใหปฏิบัติ 7,280 แหง คดิ เปนรอยละ 98.8 เมื่อพิจารณาตามประเภทอุตสาหกรรมพบวา
จากสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไมถูกตอง 7,369 แหง อุตสาหกรรมทีผ่ านการตรวจสูงสุด 5 อันดับแรก ไดแก
รองลงมาเปนการออกหนังสือเรียกพบ 62 แหง คิดเปน 1) การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต
รอยละ 0.8 ดําเนินคดีช้ันพนักงานสอบสวน 30 แหง จักรยานยนต ของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน
คิดเปนรอยละ 0.4 และเปรียบเทียบปรับ 9 แหง คิดเปน จํานวน 1,913 แหง คิดเปนรอยละ 34.9 2) การผลิต
รอ ยละ 0.1 (ผลรวมของการดําเนินการมากกวาจํานวน จาํ นวน 1,196 แหง คิดเปนรอยละ 21.8 3) โรงแรม
สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตอง เนื่องจาก และภัตตาคาร จํานวน 644 แหง คิดเปนรอ ยละ 11.7
มีการดําเนินคดีกับสถานประกอบกิจการในกรณีท่ี 4) บริการดานอสงั หาริมทรัพย การใหเชาและบริการทาง
ไมปฏิบัติตามคําสั่งดวย) ทั้งนี้ จากการดําเนินการดังกลาว ธุรกิจ จํานวน 470 แหง คิดเปนรอยละ 8.6 และ 5) การ
สถานประกอบกิจการไดมีการปรับปรุงแกไขใหถูกตอง กอสราง จาํ นวน 399 แหง คดิ เปน รอ ยละ 7.3 (แผนภูมิท่ี 9)
ตามกฎหมายแลว 7,294 แหง คงเหลือสถานประกอบ-
กิ จ ก า ร ที่ อ ยู ร ะ ห ว า ง ดํ า เ นิ น ก า ร แ ล ะ ยั ง ค ง ป ฏิ บั ติ อุตสาหกรรมท่ีมีอัตราการปฏิบัติไมถูกตอง
ไมถูกตองตามกฎหมาย 75 แหง หรือคิดเปนรอยละ 0.3 ตามกฎหมายคุมครองแรงงานสูงสุด 5 อันดับแรก
ของสถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจคุมครอง- ไดแก 1) การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนตฯ
แรงงานมท้ังหมด คิดเปนรอยละ 8.9 2) การผลิต คดิ เปนรอยละ 6.2 3) โรงแรม
และภัตตาคาร คิดเปนรอยละ 3.3 4) บริการดาน
ในไตรมาส 3 ป 2562 มีสถานประกอบกิจการ อสังหาริมทรัพย การใหเชาและบริการทางธุรกิจ คิดเปน
ผานการตรวจคมุ ครองแรงงาน 5,482 แหง ลดลงจากระยะ รอยละ 2.0 และ 5) การกอสราง คิดเปนรอยละ 2.0
เดียวกันปกอน 3,848 แหง คิดเปนอัตราลดลงรอยละ (แผนภมู ิท่ี 10)
41.2 และลูกจางท่ีผานการตรวจ 210,798 คน ลดลงจาก
ระยะเดยี วกนั ปก อน 123,980 คน คิดเปนอัตราลดลงรอยละ เม่ือพิจารณาตามขนาดสถานประกอบกจิ การ
37.0 พบวา สถานประกอบกิจการที่ผา นการตรวจคุมครองแรงงาน
สว นใหญเ ปน สถานประกอบกิจการท่ีมีลกู จาง 1 - 9 คน

ตารางท่ี 10 จํานวนและรอ ยละของสถานประกอบกิจการ จําแนกตามเรื่องที่ปฏบิ ตั ิไมถกู ตอ ง
ตามกฎหมายคุม ครองแรงงานสูงสุด 5 อันดับแรก มกราคม – กนั ยายน 2562

เรอ่ื งท่ีปฏบิ ัติไมถกู ตอ ง ปฏบิ ัติไมถ ูกตอ ง

1. คา จางขนั้ ต่ํา จาํ นวน (แหง) รอยละ
2. การจดั ตง้ั คณะกรรมการสวสั ดิการในสถานประกอบกิจการ
3. การจา ยคา จางทํางานในวันหยดุ 1,158 4.07
4. การประชุมคณะกรรมการสวัสดิการ
5. ปจ จัยในการปฐมพยาบาล 567 1.99

82 0.29

27 0.09

23 0.08

หมายเหตุ : สถานประกอบกิจการแตละท่ปี ฏิบตั ไิ มถ ูกตอ ง อาจมีการปฏิบตั ิไมถ กู ตอ งมากกวา 1 เรอ่ื ง

รายงานความเคล่อื นไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 19

คิดเปนรอยละ 42.3 ของสถานประกอบกิจการที่ผาน แผนภมู ิที่ 11 รอยละของสถานประกอบกิจการทีผ่ า นการตรวจ
การตรวจท้ังหมด รองลงมาเปนสถานประกอบกิจการท่ีมี คมุ ครองแรงงาน จําแนกตามขนาดสถานประกอบกจิ การ
ลกู จาง 10 - 49 คน และ 50 – 99 คน คิดเปนรอยละ 41.5
และ 8.8 ตามลําดับ (แผนภูมิที่ 11) ไตรมาส 3 ป 2562
ขนาด สปก.
แผนภมู ทิ ่ี 9 รอยละของสถานประกอบกจิ การท่ผี านการตรวจ (จํานวนลูกจา ง)
คมุ ครองแรงงานสงู สดุ 5 อนั ดับแรก จาํ แนกตามอตุ สาหกรรม
1 - 9 42.3
ไตรมาส 3 ป 2562
10 - 49 41.5

อุตสาหกรรม 8.8

50 - 99

การขายปลีกฯ 34.9 100 - 299 5.7
การผลิต 21.8
การขายสง 300 - 499 0.9

โรงแรมและภัตตาคาร 11.7 500+ 0.6
บริการอสังหาริมทรัพย 8.6
7.3 0 10 20 30 40 50 รอ ยละ
การกอสราง
10 20 ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน
0
พบวา สถานประกอบกิจการที่มีลูกจาง 10 - 49 คน

30 40 รอ ยละ มีอัตราการปฏิบัติไมถูกตองสูงท่ีสุด คิดเปนรอยละ 10.8
รองลงมาไดแก สถานประกอบกิจการที่มีลูกจาง 1 - 9 คน

และ 50 - 99 คน คิดเปนรอยละ 9.1 และ 2.9 ตามลําดับ

แผนภูมิท่ี 10 อตั ราการปฏิบัติไมถ ูกตองตามกฎหมาย (แผนภูมิท่ี 12)
คุมครองแรงงานสงู สุด 5 อนั ดับแรก
แผนภมู ิท่ี 12 อตั ราการปฏบิ ัตไิ มถ กู ตอ งตามกฎหมาย
จําแนกตามประเภทอตุ สาหกรรม ไตรมาส 3 ป 2562 คมุ ครองแรงงาน จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบกจิ การ
ขนาด สปก. ไตรมาส 3 ป 2562
อุตสาหกรรม
(จาํ นวนลกู จา ง)

การขายสง การขายปลีกฯ 8.9 1 - 9 9.1
การผลิต 10.8
10 - 49
2.9
6.2

50 - 99

โรงแรมและภัตตาคาร 3.3

100 - 299 2.3

บริการดา นอสังหาริมทรัพยฯ 2.0 300 - 499 0.3
การกอ สราง 2.0
0 1 23 4 5 6 7 8 รอยละ 500+ 0.3 4 6 8 10 12 รอยละ
02
9

รายงานความเคลอื่ นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

20 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

สํ า ห รั บ ข อ กํ า ห น ด ต า ม ก ฎ หม าย คุ ม ค ร อ ง - 26,122 แหง ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 5,034 แหง

แรงงานที่สถานประกอบกิจการปฏิบัติไมถูกตองสูงที่สุด คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 16.2 มีแรงงานหญิงผาน

คือ การจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบ- การตรวจ 474,064 คน ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน

กิจการ คิดเปนรอยละ 2.39 ของสถานประกอบกิจการ 101,596 คน คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 17.6 (ตาราง

ท่ีผานการตรวจท้ังหมด รองลงมา ไดแก ระยะเวลาการจาย สถติ ิความเคลื่อนไหวดานแรงงานทีส่ ําคัญ)

คาจาง คิดเปนรอยละ 0.15 และการจัดทําขอบังคับเก่ียวกับ ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน
การทํางาน คาจางข้ันต่ํา และการจัดวันหยุดตามประเพณี
มีเทา กนั คือ รอ ยละ 0.11 (ตารางที่ 11) สถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจคุครองแรงงาน
และปฏิบัติไมถูกตอง 7,369 แหง พบวา นายจางฝาฝน
ในการดําเนินการของพนักงานตรวจแรงงาน หรือปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมายเรอื่ งการใชแรงงานหญิง

กับสถานประกอบกิจการท่ปี ฏบิ ตั ไิ มถูกตอ ง พบวา สวนใหญ ไดแก เวลาในการทํางาน 1 แหง ทํางานลวงเวลา 1 แหง

เปนการออกคําสั่งใหปฏิบัติ 1,380 แหง คิดเปนรอยละ สําหรับการใชแรงงานหญิงมีครรภพบการปฏิบัติไมถูกตอง
98.2 ของสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบตั ิไมถูกตอง 1,406 แหง ไดแก ทาํ งานลวงเวลา 1 แหง ทาํ งานในวนั หยุด 1 แหง

รองลงมา ไดแ ก การออกหนังสือเรียกพบ 15 แหง คิดเปน ในไตรมาส 3 ป 2562 จากสถานประกอบกิจการ
รอยละ 1.1 การดําเนินคดีชั้นพนักงานสอบสวน 10 แหง
คิดเปนรอยละ 0.7 และการเปรียบเทียบปรบั 2 แหง ที่ผานการตรวจคุมครองแรงงาน 5,482 แหง พบวา เปน
คิดเปนรอยละ 0.1 (ผลรวมของการดําเนินการมากกวา สถานประกอบกิจการที่มีการใชแรงงานหญิง 5,005 แหง
จํานวนสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไมถูกตอง เนื่องจาก ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 3,310 แหง คิดเปนอัตราลดลง
มี ก าร ดํ า เ นิ น ค ดี กั บส ถ าน ป ระ ก อบ กิ จ การ ใ น กร ณี ท่ี รอยละ 39.8 มีแรงงานหญิงผานการตรวจ 102,785 คน
ไมปฏิบัติตามคําสั่ง) ท้ังน้ี จากการดําเนินการดังกลาว
สถานประกอบกิจการไดมีการปรับปรุงแกไขใหถูกตอ ง ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 62,903 คน คิดเปนอัตราลดลง
รอ ยละ 38.0 (ตารางสถิติความเคลื่อนไหวดานแรงงานที่สําคัญ)

ตามกฎหมายแลว 1,377 แหง คงเหลือสถานประกอบ- ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน

กิจการที่อยูระหวางดําเนินการและยังคงปฏิบัติไมถูกตอง จากสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไมถูกตอง 1,406 แหง

ตามกฎหมาย 29 แหง หรือคิดเปนรอยละ 0.5 ของ พบวา นายจางฝาฝนหรือปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย

สถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจคุมครองแรงงาน เร่ืองการใชแรงงานหญิง ไดแก การทํางานลวงเวลา 1 แหง

ทัง้ หมด สําหรับการใชแรงงานหญิงมีครรภพบปฏิบัติไมถูกตอง
ไดแก ทาํ งานลวงเวลา 1 แหง ทาํ งานในวนั หยุด 1 แหง
3.2.2 การตรวจคุม ครองแรงงานหญิง
3.2.3 การตรวจคมุ ครองแรงงานเดก็
ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 จากสถานประกอบ-

กจิ การท่ีผานการตรวจคุมครองแรงงาน 28,468 แหง ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 จากสถานประกอบ-

พบวา เปนสถานประกอบกิจการที่มกี ารใชแรงงานหญิง กิจการท่ีผานการตรวจคุมครองแรงงาน 28,468 แหง

l ตารางที่ 11 จาํ นวนและรอ ยละของสถานประกอบกิจการ จําแนกตามเร่ืองท่ีปฏบิ ตั ิไมถ กู ตอง

ตามกฎหมายคุม ครองแรงงานสงู สดุ 5 อันดับแรก ไตรมาส 3 ป 2562

รื่องท่ีปฏิบัตไิ มถกู ตอ ง ปฏิบัตไิ มถูกตอง
1. การจัดตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกจิ การ
จํานวน (เรื่อง) รอยละ

131 2.39

2. ระยะเวลาการจายคาจาง 8 0.15

3. การจัดทําขอบังคับเกีย่ วกับการทํางาน 6 0.11

4. คาจางขัน้ ตา่ํ 6 0.11

5. การจดั วันหยุดตามประเพณี 6 0.11

รายงานความเคลือ่ นไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 21

พบวา เปนสถานประกอบกิจการท่มี ีการใชแ รงงานเด็ก กฎหมาย พบวา เปนการออกคําสั่งใหปฏิบัติ 291 แหง
225 แหง ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 194 แหง คิดเปน ดําเนินคดีชั้นพนักงานสอบสวน 10 แหง ออกหนังสือ
อัตราลดลงรอยละ 46.3 มีแรงงานเด็กผานการตรวจ เรียกพบ 2 แหง และทาํ การเปรียบเทียบปรับ 1 แหง
936 คน ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 2,023 คน คิดเปน
อัตราลดลงรอยละ 68.4 (ตารางสถิติความเคลื่อนไหว ในไตรมาส 3 ป 2562 มีสถานประกอบกิจการ
ดา นแรงงานทสี่ ําคัญ) ที่ผานการตรวจคุมครองแรงงานและมีการใชแรงงาน
ตางดา ว 580 แหง ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 335 แหง
ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 36.6 ลูกจางท่ีผานการตรวจ
จากสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย 41,320 คน เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันปกอนเพียง 2,551 คน
7,369 แหง พบวา นายจางฝาฝนหรือไมป ฏบิ ัตติ ามกฎหมาย โดยพบวาในไตรมาส 3 ป 2562 มีสถานประกอบกิจการ
ในการใชแรงงานเด็ก ไดแก การใชแรงงานเด็กอายุต่ํากวา ท่ีปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย จํานวน 56 แหง คิดเปน
15 ป 4 แหง ไมแจงการจาง 6 แหง เวลาทํางาน 3 แหง รอ ยละ 9.7 ของสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจ
และทาํ งานในวนั หยุด 1 แหง คมุ ครองแรงงานและมกี ารใชแรงงานตา งดาวทงั้ หมด

ในไตรมาส 3 ป 2562 จากสถานประกอบกจิ การ ในการดําเนินการของพนักงานตรวจแรงงาน
ที่ผานการตรวจคุมครองแรงงาน 5,482 แหง พบวา กับสถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย
เปนสถานประกอบกิจการทม่ี กี ารใชแรงงานเด็ก 26 แหง พบวา เปนการออกคําส่ังใหปฏิบัติ 50 แหง ดําเนินคดี
ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 59 แหง คิดเปนอัตรา ชน้ั พนกั งานสอบสวน 5 แหง และทําการเปรียบเทียบปรับ
ลดลงรอยละ 69.4 มีแรงงานเด็กผานการตรวจ 339 คน 1 แหง
ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 190 คน คิดเปนอัตราลดลง
รอ ยละ 35.9 3.2.5 การตรวจคุมครองแรงงานในกิจการ
ประมงทะเล
ผลการปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงาน
จากสถานประกอบกิจการท่ีปฏิบัติไมถูกตอง 1,406 แหง ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 มีสถานประกอบ-
พบวา นายจางฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายของ กิจการผานการตรวจคุมครองแรงงานในกิจการประมงทะเล
การใชแ รงงานเด็ก ไดแก การใชแรงงานเด็กอายุตํ่ากวา 15 ป 2,581 แหง เพ่ิมขึ้นจากชวงเดียวกันปกอน 981 แหง คดิ เปน
3 แหง ไมแจงการจาง 2 แหง เวลาทํางาน 2 แหง ทํางาน อตั ราเพิ่มข้ึนรอยละ 61.3 มีลูกจางผานการตรวจ 34,306 คน
ลวงเวลา 1 แหง และทาํ งานในวันหยุด 1 แหง เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปกอน 12,998 คน คิดเปน
อัตราเพ่ิมข้นึ รอยละ 61.0
3.2.4 การตรวจคมุ ครองแรงงานตางดา ว
ผลการตรวจ พบวา มีสถานประกอบกิจการ
ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 มีสถานประกอบ- ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายคุมครองแรงงานในกิจการ
กิจการที่ผานการตรวจคุมครองแรงงานและมีการใชแรงงาน ประมงทะเล 2,544 แหง คิดเปนรอยละ 98.6 เพิ่มขึ้น
ตางดาว 3,079 แหง ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน จากชวงเดียวกับปกอน ซึ่งมีอัตราการปฏิบัติถูกตอง
420 แหง คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 12.0 ลูกจางท่ีผาน รอยละ 72.1 (แผนภูมิท่ี 13) ในการดําเนินการของพนักงาน
การตรวจ 206,275 คน เพิ่มข้ึนจากชวงเดียวกันปกอน ตรวจแรงงาน พบวา เปนการออกคาํ สงั่ ใหนายจางปฏิบัติ
94,801 คน คิดเปนอัตราเพ่ิมขึ้นรอยละ 85.0 โดยพบวา ใหถ กู ตอง 23 ราย และเปรียบเทยี บปรับ 15 ราย
ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 มีสถานประกอบกิจการ
ท่ีปฏิบัติไมถูกตองตามกฎหมาย 305 แหง คิดเปน ในไตรมาส 3 ป 2562 มีสถานประกอบกิจการ
รอยละ 10.0 ของสถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจ ผานการตรวจคุมครองแรงงานในกิจการประมงทะเล
คมุ ครองแรงงานและมกี ารใชแ รงงานตา งดาวทง้ั หมด 965 แหง เพ่ิมขึ้นจากชวงเดียวกันปกอน 238 แหง คิดเปน
อัตราเพิ่มข้ึนรอ ยละ 32.7 มลี ูกจางผานการตรวจ 11,244 คน
ในการดําเนินการของพนักงานตรวจแรงงาน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปกอน 2,091 คน คิดเปนอัตรา
กั บ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ กิ จ ก า ร ท่ี ป ฏิ บั ติ ไ ม ถู ก ต อ ง ต า ม เพมิ่ ข้ึนรอ ยละ 22.8

รายงานความเคล่ือนไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

22 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

ผลการตรวจ พบวา มีสถานประกอบกิจการ ผลการตรวจ พบวา มีสถานประกอบกิจการ/
ปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายคุมครองแรงงานในกิจการ ผูจางงานปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงานในงานท่ี
ประมงทะเล 961 แหง คิดเปนรอยละ 99.6 เพ่ิมขึ้น รับไปทํางานท่ีบานท้ัง 264 ราย คิดเปนรอยละ 100.0
จากชวงเดียวกันปกอน ซึ่งมีอัตราการปฏิบัติถูกตอง ของสถานประกอบกิจการ/ผูวาจางในงานท่ีรับไปทําท่ีบาน
รอยละ 92.7 (แผนภูมิท่ี 13) ในการดําเนินการของ ท่ีผานการตรวจคุมครองแรงงาน ซ่ึงมีอัตราการปฏิบัติ
พนกั งานตรวจแรงงาน พบวา เปนการเปรียบเทยี บปรับ ถกู ตองเทากบั ชวงเวลาเดียวกนั ปก อน (แผนภูมทิ ่ี 14)
4 ราย และออกคาํ ส่งั ใหนายจา งปฏบิ ัตใิ หถูกตอ ง 1 ราย
แผนภูมทิ ี่ 14 อตั ราการปฏบิ ัติถกู ตองตามกฎหมาย
แผนภูมิที่ 13 อตั ราการปฏิบัตถิ กู ตองตามกฎหมาย คมุ ครองผูรับงานไปทาํ ท่ีบาน
คมุ ครองแรงงานในกจิ การประมงทะเล ป 2561 – 2562 รายไตรมาส
ป 2561 – 2562 รายไตรมาส
รอยละ
รอ ยละ 99.5 98.3 99.6 98.6
100 92.7 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0

100

84.3 80

80 72.1

60 57.8 60

40 40

20

20

0 0 Q2 Q3 ม.ค.-ก.ย. ไตรมาส
Q1 Q1 ป 2561 ป 2562

Q 2 Q 3 ม.ค. - ก.ย. ไตรมาส

ป 2561 ป 2562

3.3 การตรวจคุมครองแรงงานนอกระบบ ในไตรมาส 3 ป 2562 พนักงานตรวจแรงงาน
ไดด ําเนินการตรวจคุมครองแรงงานกลุมผูรับงานไปทํา
3.3.1 การตรวจคุมครองแรงงานในงานท่ี ทีบ่ า น พบวา มีสถานประกอบกิจการ/ผูวาจางในงานท่ี
รบั ไปทาํ ทบ่ี าน รับไปทําที่บานผานการตรวจคุมครองแรงงาน 56 ราย
ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 37 ราย คิดเปนอัตราลดลง
ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 พนกั งานตรวจ รอยละ 39.8 ลูกจางกลุมผูรับงานไปทําท่ีบานผานการตรวจ
แรงงานไดดําเนินการตรวจคุมครองแรงงานกลุมผูรับงาน 801 คน ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 486 คน คิดเปน
ไปทําที่บาน พบวา มีสถานประกอบกิจการ/ผูจางงาน อตั ราลดลงรอยละ 37.8
ในงานที่รับไปทําที่บานผานการตรวจคมุ ครองแรงงาน
264 ราย ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน 102 ราย คดิ เปน ผลการตรวจ พบวา สถานประกอบกิจการ/
อตั ราลดลงรอยละ 27.9 ลูกจางกลุมผูรับงานไปทําที่บาน ผูวาจางปฏิบัติตามกฎหมายคุมครองแรงงานในงาน
ผานการตรวจ 3,854 คน ลดลงจากชวงเดียวกันปกอน ที่รับไปทํางานที่บานทั้ง 56 ราย คิดเปนรอยละ 100.0
1,103 คน คดิ เปนอตั ราลดลงรอยละ 22.3 (ตารางสถิติ ของสถานประกอบกจิ การ/ผวู าจางในงานท่ีรับไปทําท่ีบาน
ความเคลื่อนไหวดา นแรงงานท่สี ําคญั ) ที่ผานการตรวจคุมครองแรงงาน ซึ่งมีอัตราการปฏิบัติ
ถูกตอ งเทา กับชว งเวลาเดยี วกันปกอ น

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 23

3.3.2 การตรวจคุมครองแรงงานในงาน 3.3.3 การตรวจแรงงานงานบานอันมิได
เกษตรกรรม ประกอบธรุ กจิ รวมอยูด วย

ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 มีนายจางผา นการ ในชว ง 9 เดอื นแรกของป 2562 มีผูวาจางที่ผาน
ตรวจคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรม 1,826 ราย การตรวจแรงงานงานบานอันมิไดประกอบธุรกิจ
เพิ่มขึ้นจากชว งเดียวกันปกอน 126 ราย คิดเปน อัตราเพ่ิมข้ึน รวมอยูดวย 54 ราย ลูกจางผานการตรวจ 66 คน
รอยละ 7.4 มีลูกจางในงานเกษตรกรรมผานการตรวจ ผลการตรวจ พบวา ผูวาจางปฏบิ ตั ิถกู ตอ งรอยละ 100.0
22,565 คน เพ่ิมข้ึนจากชวงเดียวกันปกอน 3,348 คน
คิดเปน อตั ราเพ่มิ ข้ึนรอ ยละ 17.4 สําหรับไตรมาส 3 ป 2562 มผี ูวาจางผานการ
ตรวจแรงงานงานบานอนั มไิ ดประกอบธุรกิจรวมอยูดวย
ผลการตรวจ พบวา นายจางปฏิบัติถูกตอง 25 ราย ลูกจางผานการตรวจ 25 คน ผลการตรวจ
ตามกฎหมายคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรมทั้ง พบวา ผวู า จางปฏิบัตถิ ูกตองรอ ยละ 100.0 (ตารางสถิติ
1,826 ราย คิดเปนรอยละ 100.0 (แผนภูมิที่ 15) ซึ่งมี ความเคลอื่ นไหวดา นแรงงานทีส่ าํ คัญ)
อัตราการปฏิบัตถิ ูกตอ งเทากับชวงเวลาเดียวกันปกอน
4. ความเคลอื่ นไหวดา นความปลอดภัยในการทาํ งาน
แผนภูมิที่ 15 อตั ราการปฏบิ ัตถิ กู ตองตามกฎหมาย
คุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรม ป 2561 – 2562 4.1 การตรวจความปลอดภยั ในการทํางาน

รายไตรมาส ในป 2562 (มกราคม - กันยายน 2562) มี
สถานประกอบกิจการและลูกจางท่ีผานการตรวจความ
รอ ยละ ปลอดภัยในการทํางาน จํานวน 12,266 แหง ลูกจาง
864,742 คน สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติถูกตอง
100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 ตามกฎหมายความปลอดภัย จํานวน 12,116 แหง
100 ลูกจาง 840,771 คน คิดเปนรอยละ 98.8 ของจํานวน
สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจทั้งหมด จํานวน
80 สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจลดลงจากชวงเวลา
เดียวกันปกอนซึ่งมีสถานประกอบกิจการผานการตรวจ
60 ความปลอดภยั ในการทาํ งาน จํานวน 13,139 แหง คิดเปน
อตั ราลดลงรอ ยละ 6.6 และจํานวนลกู จางลดลงจากชว งเวลา
40 เดยี วกนั ปก อน ลกู จางผานการตรวจ จํานวน 1,006,259 คน
คิดเปนอัตราลดลงรอ ยละ 14.1 (แผนภมู ิที่ 16)
20
ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 (กรกฎาคม - กันยายน
0 Q2 Q3 ม.ค.-ก.ย. ไตรมาส 2562) มีสถานประกอบกิจการและลูกจางท่ีผานการตรวจ
Q1 ป 2561 ป 2562 ความปลอดภัยในการทํางาน จํานวน 3,662 แหง
ลูกจาง 274,552 คน สถานประกอบกิจการที่ปฏิบัติ
ในไตรมาส 3 ป 2562 มีนายจางผานการตรวจ ถูกตองตามกฎหมายความปลอดภัย จํานวน 3,569 แหง
คุมครองแรงงานในภาคเกษตร 321 ราย เพ่ิมขึ้นจากชวง ลูกจาง 256,628 คน คิดเปนรอยละ 97.5 ของจํานวน
เดียวกันปกอน 20 ราย คิดเปนอัตราเพิ่มข้ึนรอยละ 6.6 มี สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจทั้งหมด จํานวน
ลูกจาง/แรงงานในภาคเกษตรผานการตรวจ 3,474 คน สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจลดลงจากชวงเวลา
เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันปกอน 752 คน คิดเปนอัตรา เดยี วกันปก อน ซงึ่ มสี ถานประกอบกิจการผานการตรวจ
เพ่ิมขนึ้ รอ ยละ 27.6 ความปลอดภยั ในการทาํ งาน จาํ นวน 3,684 แหง คิดเปน
อัตราลดลงรอยละ 0.6 และจํานวนลูกจางลดลงจาก
ผลการตรวจ พบวา นายจางปฏิบัติถูกตอง ชวงเวลาเดียวกันปกอน ลูกจางผานการตรวจ จํานวน
ตามกฎหมายคุมครองแรงงานในงานเกษตรกรรมทั้ง 314,347 คน คดิ เปนอัตราลดลงรอยละ 12.7
321 ราย คิดเปนรอยละ 100.0 (แผนภูมิท่ี 15) ซึง่ มีอัตรา
การปฏบิ ตั ถิ กู ตองเทากับชว งเวลาเดียวกนั ปก อน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน
รายงานความเคล่ือนไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

24 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

แผนภมู ทิ ี่ 16 อตั ราการปฏิบัตถิ กู ตอ งตามกฎหมาย การขนสง สถานทเ่ี ก็บสินคาและการคมนาคม จาํ นวน 7 แหง
ความปลอดภยั ในการทํางาน ป 2560 – 2562 คดิ เปน รอยละ 0.2 ตามลําดับ

รอยละ 93.7 98.3 98.2 98.8 แผนภูมทิ ี่ 17 รอยละของสถานประกอบกจิ การ
ทีผ่ านการตรวจความปลอดภัยในการทาํ งานสูงสดุ
100 5 อันดับแรก จําแนกตามประเภทอตุ สาหกรรม
ไตรมาส 3 ป 2562 (กรกฎาคม - กนั ยายน 2562)
80
อตุ สาหกรรม

60

40 บริการดานอสังหาริมทรัพย 5.0
การขนสง สวถานท่ีเก็บสินคา แบละการคมนาคม 6.8
20 7.9
โรงแรมและภัตตาคาร
0 ม.ค.-ก.ย. 60 ม.ค.-ก.ย. 61 ม.ค.-ก.ย. 62 ป 10 20
2560 การขายสง การขายปลีกฯ

เม่ือ พิจารณาตามประเภทอุตสาหกรรม การผลิต 27.4
(แผนภูมิท่ี 17) พบวาในไตรมาสท่ี 3 ป 2562 (กรกฎาคม - 34.2
กันยายน 2562) อุตสาหกรรมที่ผานการตรวจสูงสุด 5 0
อันดับแรก ไดแก หมวดการผลิต จํานวน 1,251 แหง คิดเปน 30 40 รอ ยละ
รอยละ 34.2 ของสถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจ
ทั้งหมด รองลงมา ไดแก หมวดการขายสง การขายปลีก แผนภูมทิ ่ี 18 อตั ราการปฏิบตั ิไมถ กู ตองตามกฎหมาย
การซอมแซมยานยนต จักรยานยนต ของใชส ว นบุคคลและ ความปลอดภยั ในการทาํ งานสงู สดุ 5 อนั ดับแรก
ของใชในครวั เรอื น มีสถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจ จาํ แนกตามอตุ สาหกรรม ไตรมาส 3 ป 2562
จํานวน 1,005 แหง คิดเปนรอยละ 27.4 หมวดโรงแรม
และภัตตาคาร จํานวน 291 แหง คิดเปน รอ ยละ 7.9 หมวด (กรกฎาคม - กนั ยายน 2562)
การขนสง สถานทเ่ี กบ็ สินคา และการคมนาคม จํานวน 249 แหง
คิดเปนรอยละ 6.8 และหมวดบริการดานอสังหาริมทรพั ย อตุ สาหกรรม
การใหเชาและบรกิ ารทางธุรกิจ จํานวน 183 แหง คิดเปน
รอ ยละ 5.0 ตามลําดับ การขนสง 0.2

สําหรับผลการตรวจความปลอดภัยในการทํางาน โรงแรมและภัตตาคาร 0.2
เมื่อจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรมที่ปฏิบัติไมถูกตอง การกอสรา ง 0.3
ตามกฎหมายความปลอดภัยในการทาํ งานสูงสุด 5 อันดับแรก
(แผนภูมิที่ 18) พบวา หมวดการผลิตมีอัตราการปฏิบัติ การขายสง การขายปลีกฯ 0.6
ไมถูกตองสูงสุด จํานวน 69 แหง คิดเปนรอยละ 1.9 ของ การผลิต
สถานประกอบกิจการท่ีผานการตรวจทั้งหมด รองลงมา 1.9
ไดแก หมวดการขายสง การขายปลกี การซอมแซมยานยนต 0
จักรยานยนต ของใหสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน 5 10 รอยละ
จํานวน 23 แหง คิดเปนรอยละ 0.6 หมวดการกอสราง
จํานวน 10 แหง คิดเปนรอยละ 0.3 หมวดโรงแรมและ
ภัตตาคาร จํานวน 9 แหง คดิ เปนรอยละ 0.2 และหมวด

รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 25

เม่ือพิจารณาตามขนาดสถานประกอบกิจการ แผนภูมิท่ี 20 อตั ราการปฏิบัตไิ มถ ูกตอง
(แผนภูมิที่ 19) พบวา สถานประกอบกิจการที่ผานการตรวจ ตามกฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน จาํ แนกตาม
ความปลอดภยั ในการทํางาน สวนใหญเปนขนาดสถานประกอบ-
กจิ การท่มี ลี กู จา ง 100 - 299 คน คิดเปนรอยละ 29.9 ของ ขนาดสถานประกอบกจิ การ ไตรมาส 3 ป 2562
ลูกจางที่ผานการตรวจทั้งหมด รองลงมา ไดแก ขนาดสถาน- (กรกฎาคม - กนั ยายน 2562)
ประกอบกิจการท่ีมีลูกจาง 500 คนขึ้นไป คิดเปนรอยละ 29.6
ลกู จาง 10 - 49 คน คิดเปนรอยละ 14.3 ลูกจา ง 50 - 99 คน ขนาด สปก.
คดิ เปนรอยละ 13.2 ลูกจาง 300 - 499 คน คดิ เปนรอยละ 11.5
และลูกจาง 1 - 9 คน คดิ เปนรอ ยละ 1.6 ตามลาํ ดับ (จาํ นวนลูกจา ง)

แผนภูมทิ ี่ 19 รอ ยละของสถานประกอบกิจการ 1 - 9 0.1
ที่ผานการตรวจความปลอดภัยในการทาํ งาน
จําแนกตามขนาดสถานประกอบกจิ การ ไตรมาส 3 ป 2562 10 - 49 0.3

(กรกฎาคม - กนั ยายน 2562) 50 - 99 0.7

ขนาด สปก. 100 - 299 1.6

(จํานวนลกู จา ง) 300 - 499 0.4

1 - 9 1.6 14.3 500+ 3.5
10 - 49
0 1 1 2 2 3 3 4 รอยละ

50 - 99 13.2 และสภาพแวดลอ มในการทํางาน พ.ศ. 2554 จาํ นวน 499 แหง
คิดเปนรอยละ 13.6 ของสถานประกอบกิจการที่ผานการ

100 - 299 29.9 ตรวจท้ังหมด รองลงมา ไดแก การดําเนินการเกี่ยวกับ
เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานและการจัดตั้ง

300 - 499 11.5 คณะกรรมการความปลอดภัยฯ มีการปฏิบัติไมถูกตอง จํานวน

123 แหง คิดเปนรอ ยละ 3.4 การควบคุมอันตรายจากเคร่ืองจักร

500+ 29.6 ปนจ่ัน และหมอนํ้า จํานวน 41 แหง คิดเปนรอยละ 1.1

0 5 10 15 20 25 30 รอ ยละ ความรอน แสง เสียง จํานวน 31 แหง คิดเปนรอยละ 0.8
และการตรวจสขุ ภาพ จํานวน 13 แหง คิดเปนรอยละ 0.4

ผลการไมปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัยใน ตามลําดบั (ตารางท่ี 12)
การทํางาน เมื่อจําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ
(แผนภูมิท่ี 20) พบวาขนาดสถานประกอบกิจการท่ีมี ใ น ก า ร ดํ า เ นิ น ก า ร ข อ ง เ จ า ห น า ท่ี ต อ ส ถ า น -
ลูกจา ง 500 คนข้นึ ไป คดิ เปนรอยละ 3.5 ของลูกจางทผ่ี า น ประกอบกิจการท่ีฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามกฎหมายความ
การตรวจทั้งหมด รองลงมา ไดแก ขนาดสถานประกอบ- ปลอดภัยในการทํางาน สวนใหญเปนการออกคําสั่งให
กิจการที่มีลูกจาง 100 - 299 คน คิดเปนรอยละ 1.6 ปรบั ปรงุ จาํ นวน 895 แหง คดิ เปนรอยละ 24.4 ของสถาน
ลกู จาง 50 - 99 คน คิดเปนรอยละ 0.7 ลูกจาง 300 - 499 คน ประกอบกิจการท่ีผานการตรวจทั้งหมด รองลงมาไดแก การ
คิดเปนรอ ยละ 0.4 ลูกจาง 10 - 49 คน คิดเปน รอ ยละ 0.3 ออกคาํ สัง่ ใหสง เอกสาร จํานวน 43 แหง คดิ เปนรอ ยละ 1.2
และลูกจาง 1 – 9 คน คิดเปนรอยละ 0.1 ตามลําดบั การรวบรวมขอเทจ็ จริงเพื่อสงเรื่องดําเนินคดี จํานวน 29 แหง
คดิ เปน รอยละ 0.8 การออกคําสั่งใหมาพบ จํานวน 7 แหง
สําหรับเร่ืองที่นายจางฝาฝนหรือไมปฏิบัติตาม คิดเปนรอยละ 0.2 และไมปรากฏการแนะนําและการ
กฎหมายความปลอดภัยในการทํางานมากท่ีสุด ไดแก ออกคําส่งั ใหห ยดุ การใชเครอ่ื งจักรแตอยา งใด

ความผิดตามพระราชบญั ญัติความปลอดภยั อาชีวอนามยั

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

26 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

ตารางท่ี 12 จาํ นวนและรอ ยละของสถานประกอบกิจการ จําแนกตามเรอ่ื งท่ีปฏิบตั ิไมถ ูกตองตามกฎหมาย
ตามกฎหมายความปลอดภัยในการทํางานสงู สุด 5 อนั ดบั แรก
ไตรมาส 3 ป 2562 (กรกฎาคม - กนั ยายน 2562)

เรื่องท่ีปฏิบัติไมถ กู ตอง ปฏิบตั ไิ มถ กู ตอง

จาํ นวน (แหง ) รอ ยละ

1. ความผิดตามพระราชบญั ญตั คิ วามปลอดภยั อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ ม 499 13.6
ในการทํางาน พ.ศ. 2554
2. การดําเนินการเก่ียวกบั เจาหนา ทคี่ วามปลอดภัยในการทํางานและการจัดตง้ั 123 3.4
คณะกรรมการ
3. การควบคุมอันตรายจากเคร่อื งจักร ปน จัน่ และหมอนํ้า 41 1.1
4. ความรอ น แสง เสยี ง 31 0.8
5. การตรวจสขุ ภาพ 13 0.4

หมายเหตุ : มสี ถานประกอบกจิ การผานการตรวจความปลอดภยั ในการทํางาน จํานวน 3,662 แหง

4.2 ความเคลื่อนไหวดา นอบุ ตั ิเหตทุ ีเ่ กิดขน้ึ ไดประสานเจาหนาที่กองพิสูจนหลักฐาน (พฐ.) เขาตรวจสอบ
ในไตรมาสนี้ ท่เี กิดเหตุหาสาเหตเุ พลงิ ไหมตอไป ไมมผี เู สียชวี ิต

(1) ไฟไหม - เม่ือวันท่ี 14 ก.ค. 62 เกิดเหตุไฟไหมโรงงาน
- เมื่อวันท่ี 9 ก.ค. 62 เกิดเหตุเพลิงไหมโรงงาน รับซื้อของเกา เลขท่ี 77/3 บานสวนสม ม.7 ต.สะเตงนอก
ในซอยนาคนิวาส 12 ถนนนาคนิวาส แขวงและเขตลาดพราว อ.เมือง จ.ยะลา จากการสอบสวนในเบ้ืองตนทราบวา
กทม. ท่ีเกิดเหตุเปนโรงงานทําเฟอรนิเจอรของบริษัท ไดเกิดเพลิงลุกไหมข้ึนที่บริเวณดานหลังซึ่งเปนโรงงาน
iwa Design (Thailand) Co Ltd เปนบริษัทรับเหมา รับซือ้ ของเกา ขณะเกิดเหตุมพี นักงานทํางานอยู 2 - 3 คน
กอสราง และผลิตเฟอรนิเจอร เลขที่ 13 ลักษณะเปน จึงไดชวยกันดับเพลิงแตไมสามารถดับได จึงไดแจง
อาคารชั้นเดียวติดกันมีบานพักและหอพักอีกหลายคูหา รถดับเพลิงมาระงับเพลิงท่ีกําลังลุกไหม ใชเวลา
โดยเพลิงกําลังลุกไหมโรงงานอยางรุนแรง มีกลุมควันดํา กวา 2 ช่ัวโมง จึงสามารถควบคุมเพลิงเอาไวได สวน
หนาแนน ประกอบกับภายในโรงงานมีเฟอรนิเจอรที่ทํา สาเหตุของการเกิดเหตุเพลิงไหมน้ันในเบื้องตนเกิดจาก
จากไม และวัสดุทําเฟอรนิเจอรตาง ๆ เชน สี ทินเนอร กระแสไฟฟาลดั วงจร ไมมีผูไดรับบาดเจ็บและเสยี ชีวิต
ฟองนํ้า และไม เปนจํานวนมาก เพลิงไดลุกลามอยาง
รวดเร็ว และในพื้นท่ีไมมีประปาหัวแดงหรือแหลง - เมื่อวันที่ 3 ส.ค. 62 เกิดเหตุไฟไหมภายใน
น้ําธรรมชาติ ทําใหการคุมเพลิงเปนไปอยางลาชา โดย โรงงานผลิตถุงมือยาง ของบริษัทเอสจีเอ็มพี จํากัด ซึ่ง
ใชเ วลากวา 1 ช่ัวโมง จึงสามารถควบคุมเพลิงไวไ ด จากการ เปน โรงงานผลติ ถงุ มือยางขนาดใหญ ต้ังอยูในพ้ืนที่ หมู 6
ตรวจสอบบานเลขที่ 18/87 เปดเปนบริษัท สิงหทองไท ต.กําแพงเพชร อ.รัตภมู ิ จ.สงขลา โดยไฟไดลุกไหมอยาง
การชาง จํากัด ท่ีอยูติดกับโรงงานไดถูกความรอนบริเวณ รุนแรงมีเสียงระเบิดดังขึ้นเปนระยะ ขณะเกิดเหตุมี
กําแพงบาน ไดรับความเสียหาย สวนโรงงานที่ถูกเพลิง คนงานทาํ งานอยูภายในโรงงานประมาณ 400 คน พากัน
ไหมเสียหายท้ังหมด มีผูไดรับบาดเจ็บ 2 ราย เปนชาง วิ่งออกมาจากโรงงาน ไดประสานขอรถดับเพลิงทั้งใน
ของโรงงานถูกไฟลวกบริเวณแขน สวนอีกรายศีรษะ พ้ืนท่ีและพื้นที่อําเภอใกลเคียงเขามาฉีดนํ้าดับไฟแตยัง
แตก จากการสอบถามผูเห็นเหตุการณทราบวา บรษิ ัท ไมสามารถควบคุมไฟได อาจตองใชเวลาตลอดท้ังคืน
ดังกลาวเพิ่งรับคนงานใหมเขามา กอนเกิดเหตุมีการ โดยสงิ่ ที่นา เปน หว งมากท่สี ดุ ขณะน้ีคือน้าํ มันเตาจํานวน
เ ช่ื อม เ หล็ กซ่ึ ง มี ปร ะ กา ยไ ฟ โ ด ย บริ เ วณ ใ ก ล เ คี ยง มี 2 หมื่นลิตรที่อยูในโรงงานซ่ึงอาจจะเกิดระเบิดขึ้นได
ทินเนอรอยูดวยจึงเกิดติดไฟ โดยไฟไปติดกับฟองน้ํา ตลอดเวลา เจาหนา ที่ตองฉีดน้ําตลอดเวลา ลาสดุ เชา
ดานขา งโรงงานทําใหเพลิงลกุ ลามอยา งรวดเรว็ เบ้อื งตน วันท่ี 4 ส.ค. 62 เจาหนาที่สามารถดับไฟและควบคุม
สถานการณไ ดแ ลวหลังจากท่ีไฟไดลุกไหมกินเวลายาวนานกวา
รายงานความเคลื่อนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 27

12 ช่ัวโมง แตไฟยังไมดับสนิท เจาหนาที่ตองฉีดนํ้าเล้ียง อ.แกง คอย จ.สระบุรี ทเี่ กิดพบกาซแอมโมเนียร่ัวไหล
ตลอดเวลา และยังมีกลุมควันหนาทึบบริเวณตัวโรงงาน กล่ินฟุงกระจายไปท่ัวโรงงาน สงผลใหพนักงานที่ทํางาน
สวนสภาพความเสียหายตัวโรงงานซงึ่ เปนสวนการผลิต ไดสูดดมเขาไปในรางกาย ทําใหเกิดอาการหายใจ
ถุงมือยางถูกไฟไหมเสียหายทั้งหมด และตัวอาคารพังลงมา ไมออก แนนหนาอก และอาเจียน เจาหนาท่ีจึงชว ยกัน
สวนความเสียหายยังไมสามารถประเมนิ ได แตน าจะมมี ูลคา นาํ พนักงานสงโรงพยาบาลแกงคอย ภายในเปนโรงงาน
สูงหลายรอยลาน สวนสาเหตุนั้นนาจะมาจากไฟฟาลดั วงจร ชําแหละไกสด และหองอาหารสกุ มีกล่ินเหม็น คาดวา
แตกต็ องรอเจาหนา ท่ศี ูนยพิสูจนหลักฐานเขาตรวจสอบ นาจะเกิดจากสารเคมีท่ีรั่วไหล ทําใหเกิดอาการหายใจ
อยางละเอียดอีกครง้ั ไมม ผี ูไดร ับบาดเจบ็ หรือเสยี ชีวิต ไมออก จากการสอบถามคนงานในโรงงานกลาววา ทํางาน
ชวงกะดึกขณะกําลังทํางานเกิดไดกลิ่นเหม็นคาดวานาจะ
- เมือ่ วันที่ 10 ส.ค. 62 เกิดเหตเุ พลิงไหมบริเวณ เปนกาซแอมโมเนีย ลอยคลุงมาเม่ือสูดดมเขาไป ก็เกิด
สถานท่ีกอสรางโครงการคอนโดมิเนียมหรู ชื่อ เดอะเบส อาการแนนหนาอก และหายใจไมออก ทางหัวหนางาน
คอนโดมเิ นยี ม ถนนซอยนาเสือ–ขุมเหมืองเจาฟา (หลัง จึงใหออกมาดานนอกของโรงงาน และก็มเี พ่ือนพนักงานที่มี
หา งเซน็ ทรลั ภูเก็ต ฟลอเรสตา) ต.วิชิต อ.เมือง จ.ภูเก็ต อาการคลายกันสูดดมกลิ่นแอมโมเนียเขาไป จากน้ันก็มี
จากการตรวจสอบท่ีเกิดเหตุเปนอาคารอยูระหวาง รถพยาบาลเขามารับไปยังโรงพยาบาล ถูกนําสงโรงพยาบาล
กอสรา งจํานวน 3 อาคาร โดย 1 ใน 3 อาคารไดมีกลมุ ควัน 18 ราย เปนชาย 3 ราย และหญิง 15 ราย ซ่ึงมอี าการหนัก
ลอยพวยพุงออกมาจากบริเวณชั้น 1 หัวหนาคนงาน 3 ราย อาเจียน แนนหนาอก หายใจไมสะดวก ยังรักษาตัว
เรงลําเลียงคนงานนับรอยออกจากพ้ืนท่ี เพ่ือปองกัน อยูท่ีโรงพยาบาลเพื่อรอดูอาการ ทง้ั น้ี ไดประสานเจาหนาท่ี
อันตรายท่ีอาจเกิดข้ึน ท้ังน้ีเจาหนาท่ียังไดรับแจงจาก กองพิสูจนหลักฐาน (พฐ.) เขาตรวจสอบท่ีเกิดเหตุหาสาเหตุ
คนงานวามีคนงาน 1 คน ติดอยูบริเวณชั้นดาดฟา ตอ ไป
เจาหนาท่ีดับเพลิงไดทุบกําแพงดานขางอาคารเพื่อลาก
สายดับเพลิงเขาไปภายในท่ีจุดตนเพลิง ซึ่งเปนใตถุนโลง (3) ไมแ ผน หนกั คร่ึงตันหลนทับรางคนงาน
สําหรับเก็บวัสดุกอสราง เรงฉีดน้ําสกัดเปลวเพลิง เมื่อวันท่ี 17 ก.ค. 62 ไดรับแจงจากบริษัท
ขณะเดียวกันเจาหนาที่ดับเพลิงอีกชุดไปที่ดานขางของ แหงหนึ่งวามีคนใชรอกยกไมฝาแผนเรียบแลวหลนมา
อาคารเพื่อชวยเหลือผูท่ีติดคางอยูบนดาดฟา จากการ ทับไดรับบาดเจบ็ สาหัส เกิดเหตุภายในบริษัท แถวถนนปทมุ –
สอบถามคนงานที่อยูบริเวณที่เกิดเหตุทราบวา คอนโด สามโคก ม.3 ต.บางโพธิ์เหนือ อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี
ดังกลาวมที ้ังหมด 3 อาคาร โดย 2 ใน 3 อาคารงานโครงสราง จงึ เดนิ ทางไปตรวจสอบพรอ มดวยอาสามูลนิธิปอเต็กต๊ึง
แลวเสร็จ สวนอาคารที่เกิดเหตุอยูระหวางการกอสราง และกูชีพโรงพยาบาลปทุมธานี ท่ีเกิดเหตุดานหลังของ
ในสวนโครงสราง กอนเกิดเหตุไดยนิ เสยี งดังสน่ันคลาย บริษัทพบไมฝาแผนเรียบอยูในสภาพกระจัดกระจาย
วัสดุบางอยางระเบิดจากบริเวณช้ัน 1 ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีเก็บ พบผูบาดเจ็บเปนพนักงาน สภาพขาดานขวาหัก เกือบขาด
วสั ดุกอ สรา งตาง ๆ เชน สายไฟ ทอ นํ้า เปนตน จากนั้น มีเลือดออกที่หัวและหูเปนจํานวนมาก เจาหนาท่ีกูชีพ
เ ริ่ ม มี ก ลุ ม ค วั น ไ ฟ อ อ ก ม า ต า ม ช อ ง ห น า ต า ง แ ล ะ ไ ด ไดชวย CPR แลวทําบาดแผล แตไมเปนผล จึงรีบนาํ สง
ลุกลามไปยังหองขางเคียง คนงานทั้งหมดท่ีทํางานอยู โรงพยาบาลและเสียชีวิตในเวลาตอมา จากการสอบถาม
ในแตละชนั้ และท่ีอยูใกลเคียง จึงวิ่งเอาตัวรอดออกมา พนกั งานทราบวา ผเู สียชวี ิตกําลงั ใชร อกยกไมฝาแผนเรยี บ
เบ้ืองตนเจาหนาที่คาดวาเกิดจากกระแสไฟฟา ลัดวงจร ซ่ึงมีน้ําหนักประมาณ คร่ึงตัน ขึ้นทายรถเพ่ือสงลูกคา แต
สวนความเสียหายอยูระหวางการประเมิน ขณะเดียวกัน ไมฝ าแผน เรียบไดรว งมาทบั รางผูเสียชีวิต เพ่ือน ๆ จงึ รีบนํา
เจา หนาท่ีพิสูจนห ลักฐาน จ.ภูเก็ต จะเขาตรวจสอบหาสาเหตุ กลองไมแผนเรียบออกและแจงเจาหนาท่ีกูภัยใหความ
ที่แทจริงของการเกิดเพลิงไหมอยางละเอียดอีกครั้ง ชวยเหลือ ในเบ้ืองตน ผูบาดเจ็บทนพิษบาดแผลไมไหว
ไมมผี ไู ดรับบาดเจบ็ และเสยี ชีวติ และเสยี ชีวิตดังกลา ว

(2) แอมโมเนยี ร่ัว (4) ดินถลม
เมื่อวันที่ 7 ก.ค. 62 เกิดเหตุกาซแอมโมเนียร่ัว - เม่ือวันท่ี 20 ก.ค. 62 เกิดเหตุดินถลมทับคนงาน
บริเวณโรงงานชําแหละไกสดแปรรูป ริมถนนมิตรภาพ บริเวณถนน 344 สายบานบึง-แกลง ม.3 ต.หนองชาก

รายงานความเคลื่อนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

28 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

อ.บานบึง จ.ชลบุรี ที่เกิดเหตุพบคนงานจํานวนมาก (5) คนงานพลัดตกชอ งชารป
กําลังยืนมุงดูดวยความตกใจ ในที่เกิดเหตุพบวามีการ เม่ือวันท่ี 21 ส.ค. 62 เกิดเหตุคนงานตกลงไป
กอสรางถนนตางระดับ และในไซตงานกําลังอยู ในชองชารปรางสายไฟ เหตุเกิดภายในอาคารของ
ระหวางขุดหลุมเสาตอหมอ กวางประมาณ 10×8 เมตร มหาวิทยาลัยช่ือดังแหงหน่ึงใน ต.ทุงสุขลา อ.ศรีราชา
ลึกประมาณ 5 เมตร ทก่ี น หลุมของตอหมอ มีดนิ ถลม ลงไป จ.ชลบุรี ที่เกิดเหตุเปนอาคารสงู 9 ช้ัน ปลูกติดกับลาน
และมีคนงานติดอยูท่ีกนหลุมเสาตอหมอ โดยสามารถ จอดรถยนตสูง 5 ช้ัน อยูระหวางการดําเนินการกอสราง
ชวยขึ้นมาได 4 คนอยางปลอดภัย แตยังติดอยูภายในหลุม คนงานกอสรางไดพาเจาหนาที่ไปชี้จุดเกิดเหตุ ซ่ึงเปน
อกี 1 คน เจา หนาที่จงึ ใชรถแม็คโคร พยายามท่ีจะตักดนิ ออก ชอ งชารปรางสายไฟ ที่ผูตายแรงงานชาวเมียนมาตกลงมา
เพ่ือชวยเหลือชีวิตคนงานท่ีติดอยู ซึ่งใชเวลาประมาณ จากช้ันที่ 8 พบคราบเลือดจํานวนมากกองอยู สภาพศพ
10 นาที จึงพบรางของคนงานทตี่ ิดอยูภายในหลมุ เปน แขนขาหัก ศีรษะแตก และมีบาดแผลฉกรรจตามรางกาย
ผูหญงิ จากการสอบถามเพื่อนคนงานทราบวา กอนเกิดเหตุ จากการสอบถามผูรับเหมาโครงการกอสรางอาคาร
มีคนงานลงไปผูกเหล็กอยูกนหลุมเสาตอหมอทั้งหมด 5 คน ดังกลาว ทราบวา ผูตายไดขึ้นไปทํางานอยูที่บริเวณชอง
ในชวงนั้นก็เกิดเหตุการณไมคาดฝน ดินเกิดถลมลงมา ชารปรางสายไฟ ช้นั ที่ 8 ตอมาแรงงานทกุ คนไดเลิกงาน
ตางคนตางก็วิ่งหนีพยายามปนข้ึนมา โดยผูเสียชีวิตไม กันหมดแลว แตกลับไมพบผูเสียชีวิตเดินลงมาดวย จึงได
ส า ม า ร ถ ห นีทั น เ ปนเหตุให ถู กดินทับรางจนเสียชีวิ ต ชวยกันออกตามหา จนกระท่ังพบนอนกองอยูภายในชอง
ดังกลา ว ชารปรางสายไฟดังกลาว จึงไดรีบนําสงโรงพยาบาล
เบื้องตนสันนิษฐานวา ผูตายนาจะโหมงานอยางหนัก
- เมื่อวันที่ 11 ก.ย. 62 เกิดเหตุดินถลม ทับคนงาน สงผลใหเกิดอาการวูบหลับ จนรางตกลงไปในชอง
ที่บริเวณหลังโกดังของรานวัสดุกอสราง หจก.ฉัตรชัยพาณิชย ชารปรางสายไฟ และเสยี ชีวิตดงั กลา ว
ตั้งอยูถนนประดิษฐ ใกลกับส่ีแยกพรอมพรรณ ในเขต
เทศบาลเมืองกาฬสินธุ จ.กาฬสินธุ ท่ีเกิดเหตุอยูบริเวณ (6) กา ซไขเ นา มรณะ
หลังโกดัง เจาหนาที่พบรางผูบาดเจ็บเปน ชายอายุ เมื่อวันท่ี 12 ส.ค. 62 เกิดเหตคุ นงานตกลงไปใน
ประมาณ 40 – 50 ป ติดอยูใตดิน ซึ่งมีความลึกกวา 2 เมตร ทอระบายอากาศระบบบําบัดน้ําเสีย ซึ่งอยูระหวางการ
อยูในสภาพหมดสติหนาซีด ตัวเขียว และมีเลือดออก กอสรางภายในบริษทั ทัทวิน จํากัด เลขที่ 574/1 หมู 5
บริเวณจมูก เจาหนาท่ตี องเรงนําอุปกรณตักดินมาชวย ต.พงั ลา อ.สะเดา จ.สงขลา ซงึ่ เปนโรงงานสงออกนํา้ ยางขน
นาํ ดนิ ออกดวยความยากลาํ บาก เน่ืองจากเปน ดินโคลน ตางประเทศ ท่เี กิดเหตุพบคนงาน 4 ราย หมดสติอยูใน
ประกอบกับกอนหนาน้ีมีฝนตกหนักทําใหดินเปยกชุมนํ้า ทอระบายอากาศลึกประมาณ 2 เมตร กวาง 1.5 เมตร
เจาหนาท่ีใชเวลา15 นาที ก็สามารถนํารา งผูบาดเจ็บออกมา อยูในสภาพทาน่ัง หนวยกูภัยและเพื่อนคนงานเรงไปชวย
ได พรอมกับนําตัวสงโรงพยาบาลอยางเรงดวน เน่ืองจาก นํารางข้ึนมาทีละคน และเรงปมหัวใจเพ่ือชวยชีวิต
อาการสาหัส จากการสอบถามเพ่ือนคนงานที่อยูใน เน่ืองจากทุกคนหมดสติไมรูสึกตัว กอนรีบนําตัวสง
เหตุการณ ทราบวา เม่ือชวงเชาไดมีการขุดดินเพื่อทํา โรงพยาบาล แตไมทันเวลาไดเสียชีวิตทั้ง 4 ราย จากการ
คลองวางทอระบายนํ้าใหม โดยคนงานไดนํารถเเบคโฮมา สอบสวนทราบวา ขณะเกิดเหตุคนงานทั้ง 4 ราย ลงไปซอม
ขุดเอาดินออก จากน้ันผูบาดเจ็บไดลงไปภายในหลุม ทอระบายน้ําอยูลึกลงไปในทอระบายอากาศของ
ซ่ึงมีความลึกประมาณ 2 เมตรกวา ๆ เพื่อเตรียมวางทอ บอบําบัดนํ้าเสียท่ีกําลังกอสราง และหมดสติทีละคน
ระบายนํ้า แตคนั ดินไดเ กิดถลมลงมาทับรา งผูบาดเจ็บอยา ง ก ว า ท่ี จ ะ มี ก า ร แ จ ง เ จ า ห น า ที่ แ ล ะ หน วยกู ภั ยเข าไป
รวดเร็ว จนทําใหผูบาดเจบ็ ไมสามารถชวยตัวเองไดทัน ชวยเหลือใชเวลาเกือบ 1 ชั่วโมง จากการตรวจสอบสาเหตุ
คนงานมาพบเห็นตางเรงชวยเหลือ แลวรีบโทรศัพท ในเบื้องตนพบวาภายในทอมีกาซแอมโมเนีย หรือกาซไขเนา
แจงเจาหนาท่ีใหมาชวยเหลือนําตัวสงโรงพยาบาล อยูในทอจํานวนมากท่ีตอมาจากระบบบําบัดนํ้าเสีย
ดังกลาว แตเน่ืองจากขาดอากาศหายใจเปนเวลานาน ท่ีกําลังอยูระหวางการซอมแซม เมื่อสูดอากาศเขาไป
จึงเสยี ชีวติ ในเวลาตอ มา เพียงคร้ังเดียวก็ทําใหหมดสติได จากนี้หนวยงาน
ท่ีเก่ียวของจะเขา ตรวจสอบอยา งละเอียดอีกครัง้
รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน 29

(7) น่งั รา นถลม พบศพคนงานชายนอนคว่ําหนาเสียชีวิตอยูบนกอง
- เมื่อวนั ที่ 11 ส.ค. 62 เกิดเหตุน่ังรานที่กําลัง เมล็ดขาวโพดบนกระบะรถพวงหนวยกูภัยนําศพลงมา
กอสรางถลมลงมาทับคนงานบาดเจ็บหลายราย เหตุเกิด ไมพ บรองรอยหรือบาดแผลถูกทําราย เสียชีวิตจากการ
บริเวณอาคารคอนโดมิเนียมแหงหน่ึงในพื้นท่ี ต.ราไวย ขาดอากาศหายใจ ทามกลางความเสียใจของเพื่อน
อ.เมือง จ.ภูเก็ต จึงรีบนํากาํ ลังเขาตรวจสอบ ภายหลัง คนงาน สอบสวนทราบวา กอนเกิดเหตุผูตายขึ้นไปทํา
พบวาเปนโครงการกอสรางตอเติมบริเวณหองล็อบบ้ี ความสะอาดและกวาดภายในกระบะรถพวงใกลกับ
โดยมีความสูง 2 ช้ัน จุดกอสรางพังถลมลงมาท้ังหมด เครื่องสีเมล็ดขาวโพดเพียงลําพัง แตระหวางนั้นคาดวา
สงผลใหมีผูบาดเจ็บทั้งหมด 11 ราย ซึ่งเปนคนงาน อาจจะวูบเปนลมหมดสติโดยไมมีใครเห็น จนกระทั่ง
ชาวเมียนมา มีคนติดภายใน 2 ราย ภายหลังพบแลว เคร่ืองสีเมล็ดขาวโพดทํางาน เทเมล็ดขาวโพดท่ีสีแลว
1 ราย แตยังไมสามารถชวยออกมาได เพราะแผนปูน หลายตันไหลลงไปในกระบะรถพวงทับรางเสียชีวิต
สําเร็จรูปทับรางอยู อยางไรก็ตาม แมจะพยายาม ตอมาเพื่อนเห็นหายตัวไปผิดปกติจึงไปเปดกระบะ
ชวยเหลืออยางเต็มท่ีแลวแตก็ยังนํารางข้ึนมาไมได ดานขางรถพวงออกถึงพบรางนอนเสียชีวิตอยูบน
เบอื้ งตน แพทยย นื ยนั วา ผูทีต่ ดิ คางอยูไดเสียชีวิตลงแลว กองเมลด็ ขาวโพด
ทาํ ใหมีผูเสียชีวิตจากเหตุการณคร้ังน้ีเพิ่มเปน 2 ราย
จากการสอบถามทราบวา สาเหตุนั่งรานถลมลงมา (9) คนงานตกตึก
เพราะมีการเทปูนลงบนโครงเหล็กจนรับนํ้าหนักไมไหว เมื่อวันท่ี 5 ก.ย. 62 เดินทางเขาตรวจสอบหลังจาก
และพังลงมาอยางรวดเร็ว ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บ ไดรับแจงมีคนงานพลัดตกจากท่ีสูงเสียชีวิต เหตุเกิดสถานที่
และเสียชวี ติ ดังกลาว กอสรางอาคารแหงหนึ่งในเมืองทองธานี ต.บางพูด
- เม่ือวันท่ี 24 ก.ย. 62 เกิดเหตุมีคนตกจากที่สงู อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี ที่เกิดเหตุเปนอาคารสูง 30 ช้ัน
ไดรับบาดเจ็บและเสียชีวิตหลายราย เหตุเกิดในโครงการ ท่ีอยูระหวางการกอสรางยังไมแลวเสร็จ ดานลางขาง
กอสราง ดี คอนโดมิเนียม ต้ังอยูภายในซอย 14/1 ถนน อาคารพบรางของคนงานกอสรางนอนเสียชีวิตอยูริม
พัทยานาเกลือ หมู 5 ต.นาเกลือ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี อาคาร จากการสอบสวนเบ้ืองตนทราบวาผูเสียชีวิตพรอม
ทีเ่ กิดเหตุเปนโครงการกอสรางอาคารที่พักอาศัย สูง 8 ช้ัน เพ่ือนรวมงานรวม 3 คน กําลังขนกลองแผนฝาลงจาก
ช่ือโครงการ “ดี คอนโดมิเนียม” บริเวณดานลางพบ ลิฟตที่จอดอยูชั้นที่ 20 ก็เกิดพลัดตกลงมาจากทาง
แรงงานตางดาวสัญชาติกัมพูชา ไดรับบาดเจ็บ 4 ราย ตอเชื่อมระหวางตัวอาคารกับลิฟตรางลอยตกสูพื้น
เปนชาย 3 ราย หญิง 1 ราย เจาหนาที่ปฐมพยาบาล ดา นลางเสียชีวติ ดงั กลาว
เบื้องตน กอนนําสงโรงพยาบาล ขณะท่ีผบู าดเจ็บอีกคน
ทนพิษบาดแผลไมไหวเสียชีวิตในเวลาตอมา จากการ (10) เครื่องบดถ่ัวเหลืองพนั เสอื้ ผากอนดึงราง
ตรวจสอบในที่เกิดเหตุพบวา สาเหตุเกิดจากนั่งรานท่ีพัก ตดิ มอเตอรด ับ
ของวัสดุกอสรางจําพวกเหล็กเกิดรับน้ําหนักไมไหว
หลังจากทเี่ ครนยกวัสดนุ ําข้ึนมาวางพักไว ทําใหน่ังรานหัก เม่ือวันท่ี 12 ก.ย. 62 มีผูเสยี ชีวิตภายในบานเลขที่
และทรุดตัวพังครืนลง คนงานตางดาวท่ียืนอยูดานบน 82/22 หมูที่ 1 ต.เขาสามยอด อ.เมือง จ.ลพบุรี
น่ังรานบริเวณดังกลาว ตกลงมาพรอมกับวัสดุกอสราง ภายหลังไดรับแจงวามีผูเสียชีวิตสาเหตุถูกเครื่องตี
รว งกระแทกพื้น ความสูงประมาณ 15 เมตร จนไดรับ ถ่วั เหลืองดึงรางเขาไปพันติดกับมอเตอรจนเสียชีวิตอยู
บาดเจ็บและเสยี ชวี ติ ดงั กลา ว ภายในบาน ในท่ีเกิดเหตุเปนบานปูนชั้นเดียวซ่ึงเปด
เปนโรงงานทําขนมปงขายบริเวณหนาบานพบราง
(8) เคร่ืองสขี า วโพดเทเมล็ดทับดับ ผู เ สี ย ชี วิ ต เ ป น ค น ง า น ห ญิ ง ถู ก ม อ เ ต อ ร เ ค ร่ื อ ง บ ด
เม่ือวนั ท่ี 3 ก.ย. 62 เกิดเหตุชายถูกเมล็ดขาวโพด ถั่วเหลืองที่ไวทําไสขนมปงไดพันผากันเปอนและเส้ือ
ไหลทับเสยี ชีวิต ภายในลานไซโลเก็บเมล็ดขาวโพด หมู 9 ที่ใสอ ยูกอนจะดงึ รา งและแขนเขาไปพันติดอยูกับเครือ่ ง
ต.ชองแคบ อ.พบพระ จ.ตาก ท่ีเกิดเหตุพบรถบรรทุก จนทําใหเสียชีวิตในสภาพควํ่าหนาติดอยูกับเคร่ืองบด
พวง 18 ลอ จอดอยูบริเวณลานเก็บและสเี มล็ดขาวโพด ถั่วจนแขนขา งขวาหัก เจา หนาทจี่ ึงไดช วยกันนํากรรไกร
มาตัดผากันเปอนและเส้ือของผูตายท่ีพันอยูกับแกน
รายงานความเคลื่อนไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน เครื่องบดถั่วออก บริเวณหัวไหลดานขวาและลําคอมี
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562
สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน

30 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

บาดแผลถลอกจากการทเ่ี ครอ่ื งดึงรางเขาติดกับแกนบดถั่ว 1 แหง (ตั้งอยูในกรุงเทพฯ) สําหรับสหพันธแรงงาน

จนทําใหขาดอากาศหายใจและขอมือขวาหักจนเปน (กิจการเอกชน) มจี ํานวน 21 แหง (ต้ังอยูในกรุงเทพฯ 6 แหง

แผลฉกรรจ จากการสอบถามเจาของบานทราบวา ภมู ิภาค 15 แหง) และสภาองคการลูกจาง มีทั้งหมด 15 แหง

ผตู ายจะมาทาํ งาน ตแี ปงและเตรียมของเพ่ือทําขนมปง (ตงั้ อยูในกรงุ เทพฯ 13 แหง ภูมิภาค 2 แหง) (ตารางที่ 13)

ผูตายจะมาทํางานกอนใครแบบน้ีทุกวัน ในวันนี้พบวา เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน พบวา

ผูต ายไดถกู เครอ่ื งบดถัว่ ดึงรางเขาไปพันติดอยูกับเครื่อง สหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) เพิ่มขึ้น 13 แหง คิดเปน

ทาํ ใหเ สียชวี ติ ดังกลา ว อัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 สวนสหภาพแรงงาน รัฐวิสาหกิจ

5. ความเคลื่อนไหวดานแรงงานสัมพันธ สหพันธแรงงานรัฐวิสาหกิจ สหพันธแรงงาน (กิจการ
5.1 องคก ารแรงงาน เอกชน) และสภาองคการลูกจางไมมีการเปล่ียนแปลง
(ดูตารางสรุปสถิติความเคลอื่ นไหวดา นแรงงานที่สาํ คญั )

(1) จาํ นวนองคการลูกจา ง (2) จาํ นวนองคก ารนายจาง

องคการลูกจางจําแนกเปนสหภาพแรงงาน องคการนายจางจําแนกเปนสมาคมนายจาง

รฐั วิสาหกิจ สหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) สหพันธแรงงาน สหพันธนายจาง และสภาองคการนายจาง จากขอมูล

รฐั วิสาหกิจ สหพันธแรงงาน (กิจการเอกชน) และสภาองคการ ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562 มีสมาคมนายจางจํานวน

ลูกจาง จากขอมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 มีสหภาพ 318 แหง (ตั้งอยูใ นกรงุ เทพฯ 145 แหง ภูมิภาค 173 แหง)

แรงงานรัฐวิสาหกิจ รวม 47 แหง (จดทะเบียนท่ีกรงุ เทพฯ ท้ัง สหพนั ธนายจา ง จํานวน 2 แหง (ตงั้ อยูในกรุงเทพฯ 1 แหง

47 แหง และมีที่ตง้ั อยใู นกรุงเทพฯ 38 แหง ภูมิภาค 9 แหง) ภูมิภาค 1 แหง) และสภาองคการนายจาง จํานวน 14 แหง

สหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) รวมทั้งส้ิน 1,394 แหง ตัง้ อยใู นกรงุ เทพฯ ท้งั 14 แหง (ตารางที่ 13) เมือ่ เปรียบเทียบ

(ต้ังอยูในกรุงเทพฯ 341 แหง ภูมิภาค 1,053 แหง) จํานวน กับชวงเวลาเดยี วกันกับปกอน พบวา ท้ังสมาคมนายจาง

สมาชิกของสหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) ท่ัวประเทศ สหพันธนายจาง และสภาองคการนายจางไมมีการ

รวม 449,526 คน เพิ่มขึ้นจากชวงเดียวกันของปกอน เปล่ียนแปลง (ดูตารางสรุปสถิติความเคล่ือนไหวดาน

คิดเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 สหพนั ธแรงงานรัฐวิสาหกิจ แรงงานท่สี าํ คัญ)

ll ตารางท่ี 13 จาํ นวนองคก ารแรงงาน

องคก ารลูกจาง จาํ นวนองคการ

องคก ารลูกจาง กรุงเทพมหานคร ภูมิภาค รวม

สหภาพแรงงานรฐั วิสาหกจิ 47 - 47
สหภาพแรงงาน (กิจการเอกชน) 341 1,053 1,394
สหพันธแ รงงานรัฐวสิ าหกิจ 1-
สหพันธแรงงาน (กจิ การเอกชน) 6 15 1
สภาองคการลูกจาง 13 2 21
องคก ารนายจาง 15
145 173
สมาคมนายจาง 11 318
สหพันธนายจาง 14 - 2
สภาองคก ารนายจาง 14

ขอ มลู ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2562 สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดิการและคุมครองแรงงาน
รายงานความเคล่ือนไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน 31

4.2 การแจง ขอเรียกรอ งและการยุติขอ เรยี กรอ ง จากการแจงขอเรียกรองในชวง 9 เดือนแรก
ของป 2562 จํานวน 180 แหง ขอเรียกรองสามารถยุติได
ในชวง 9 เดอื นแรกของป 2562 (ม.ค. – ก.ย.) มี โดยระบบทวิภาคี (ไมเกิดขอพิพาทแรงงาน) จํานวน
การแจง ขอเรยี กรอง 180 แหง 205 คร้ัง จํานวนลูกจาง 111 แหง ซึ่งเปนการยุติโดยตกลงกันเองท้ัง 111 แหง คิดเปน
ที่เก่ียวของ 206,016 คน เมื่อเปรียบเทยี บกับชวงเวลา รอยละ 61.7 ของสถานประกอบกิจการที่มีการแจงขอเรียกรอง
เดียวกันของปกอน พบวา มีการแจงขอเรียกรองลดลง โดย ท้ังหมด สวนขอเรียกรองที่ไมสามารถตกลงกันได
ในชวง 9 เดือนแรกของป 2561 มีการแจงขอเรียกรอง โดยระบบทวิภาคีจนเกิดเปนขอพิพาทแรงงาน 18 แหง
225 แหง 240 ครงั้ คิดเปน อัตราลดลงรอยละ 20.0 และ คิดเปนรอ ยละ 10.0 ทั้งน้ี ขอเรียกรองท่ียังไมยุติและอยูใน
14.6 ตามลาํ ดับ สวนลูกจางท่เี กี่ยวของมีจํานวนเพ่ิมขึ้น ระหวางเจรจากันเอง จาํ นวน 51 แหง คิดเปนรอยละ 28.3
โดยมี 193,853 คน คิดเปนอัตราเพ่ิมขึ้นรอยะ 6.3 (ตารางท่ี 15)
(ดูตารางสรุปสถิติความเคล่ือนไหวดานแรงงานท่ีสําคัญ)
ซึ่งพบวาผูที่แจงขอเรียกรองมากท่ีสุด คือ สหภาพแรงงาน สําหรับในไตรมาส 3 ของป 2562 มีการแจง
จํานวน 152 แหง คิดเปนรอยละ 84.4 ของสถานประกอบ- ขอเรียกรองในสถานประกอบกิจการท้ังสิ้น 43 แหง
กิจการที่มีการแจงขอเรียกรองท้ังหมด (ตารางท่ี 14) 51 ครั้ง จํานวนลูกจางที่เกี่ยวของ 45,957 คน และ
รองลงมาเปนนายจาง จํานวน 17 แหง คิดเปนรอ ยละ 9.4 พบวาสหภาพแรงงานเปนผูท่ีแจงขอเรียกรองมากท่ีสุด
และลูกจาง จํานวน 11 แหง คิดเปนรอยละ 6.1 เม่ือพิจารณา จํานวน 37 แหง หรือคิดเปนรอยละ 86.0 ของสถาน-
การแจงขอเรียกรองสวนทางพบวามีการแจงขอเรียกรอง ประกอบกิจการท่ีมีการแจงขอเรียกรองทั้งหมด รองลงมา
สวนทาง 12 แหง ซ่งึ เปน การสวนทางโดยนายจาง 10 แหง เปนการแจง ขอเรียกรองโดยนายจาง 4 แหง คดิ เปนรอยละ
และโดยสหภาพแรงงาน 2 แหง 9.3 และโดยลูกจาง 2 แหง คดิ เปนรอยละ 4.7 (ตารางที่ 14)

ตารางที่ 14 สถานภาพของผูแจงขอ เรยี กรอ งและผแู จงขอเรียกรองสวนทาง ป 2562

การแจงขอ เรียกรอง Q1 จํานวน (แหง/ครัง้ ) รวม
100/111 Q2 Q3 180/205
การแจงขอ เรียกรอ งทั้งหมด 100/105 37/43 43/51 180/193
ผแู จงขอเรยี กรอ ง 37/41 43/47 17/17
9/9 4/4 4/4 152/165
- นายจาง 86/91 29/33 37/41 11/11
- สหภาพแรงงาน 5/5 4/4 2/2 12/12
- ลูกจาง 6/6 2/2 4/4 10/10
ผแู จงขอ เรียกรองสวนทาง 5/5 2/2 3/3
- นายจาง 1/1 - 1/1 2/2
- สหภาพแรงงาน -- -
- ลูกจา ง -

ขอ มลู ณ วันท่ี 1 ตลุ าคม 2562
หมายเหตุ 1. จํานวนแหง ของสถานประกอบกจิ การท่มี ีการแจงขอเรียกรองท้ังหมด ไมน ับรวมจาํ นวนแหงของ

สถานประกอบกจิ การทีแ่ จงขอเรยี กรองสวนทางเน่อื งจากเปนแหงเดยี วกัน
2. สถานประกอบกิจการ 1 แหง อาจมีการแจงขอเรียกรองมากกวา 1 คร้ัง

รายงานความเคลอื่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดิการและคุม ครองแรงงาน

32 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

ตารางที่ 15 การแจงขอเรียกรองและการยุติขอเรยี กรอง ป 2562

การแจงขอเรยี กรอ ง จาํ นวน (แหง /ครง้ั /คน) รวม
Q1 Q2 Q3 180/205/206,016
1. การแจงขอ เรยี กรอ ง 100/111/116,968 37/43/43,091 43/51/45,957 129/147/150,793
2. การยตุ ขิ อเรียกรอ ง 90/101/110,015 26/30/27,283 13/16/13,495 111/127/126,758
81/90/100,512 22/26/16,094 8/11/10,152 111/127/126,758
2.1 การยุตโิ ดยไมเกิดขอพิพาทแรงงาน 81/90/100,512 22/26/16,094 8/11/10,152
- ตกลงกันเอง - -- -
- ถอนขอ เรยี กรอ ง - -- -
- อ่นื ๆ 9/11/9,503 4/4/11,189 5/5/3,343 18/20/24,035
10/10/6,953 11/13/15,808 30/35/32,462 51/58/55,223
2.2 เกิดขอ พิพาทแรงงาน
3. ขอเรียกรองยงั ไมย ตุ ิ

ขอมลู ณ วันที่ 1 ตลุ าคม 2562

เมื่อพิจารณาถึงการแจงขอเรียกรองสวนทาง 4.3 การเกิดขอพิพาทแรงงานและการยุติ
พบวามีการแจงขอเรียกรองสวนทาง 4 แหง ซึ่งเปนการ ขอพพิ าทแรงงาน
แจงสวนทางโดยนายจาง 3 แหง และโดยสหภาพแรงงาน
1 แหง สวนประเด็นท่ีมกี ารแจงขอเรียกรองมากท่ีสุดคอื ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 เกิดขอพิพาท
เรื่อง สวสั ดิการ รองลงมาเปนเรื่องคาจาง และการรอ งทุกข แรงงานในสถานประกอบกิจการ 21 แหง 23 คร้ัง ลูกจาง
ประโยชนอ่ืน ๆ เม่ือเปรียบเทียบบชวงเวลาเดียวกันของ ท่ีเกี่ยวของ 25,942 คน เม่ือเปรียบเทียบกับชวงเวลา
ปกอน พบวาการแจงขอเรียกรองลดลง โดยในไตรมาส 3 เดียวกันของปกอน พบวาเกิดขอพิพาทแรงงานลดลง
ของป 2561 มีการแจงขอเรียกรอ ง 73 แหง 78 ครง้ั ลูกจาง โดยในชวง 9 เดือนแรกของป 2561 เกิดขอพิพาทแรงงาน
ทเ่ี ก่ียวของ 45,957 คน คิดเปนอัตราลดลงรอยละ 41.4, 31 แหง 32 คร้ัง ลูกจางที่เก่ียวของ31,300 คน คิดเปนอัตรา
34.6 และ 24.6 ตามลําดับ (ดตู ารางสรุปสถิติความเคล่ือนไหว ลดลงรอยละ 32.3, 28.1 และ 17.1 ตามลําดับ (ดูตาราง
ดา นแรงงานทส่ี าํ คัญ) สรปุ สถติ ิความเคลอื่ นไหวดานแรงงานท่สี าํ คัญ)

จากการแจงขอเรียกรองที่เกิดขึ้นในสถาน- พนกั งานประนอมขอพิพาทแรงงานไดดําเนินการ
ประกอบกิจการในไตรมาส 3 ป 2562 จํานวน 43 แหง พบวา ไกลเกลี่ยและระงับขอพิพาทแรงงานจนยุติ 16 แหง
ขอเรียกรองยุติโดยระบบทวิภาคี (ไมเกิดขอพิพาทแรงงาน) 18 ครั้ง ลูกจางท่ีเกี่ยวของ 20,346 คน คิดเปนรอยละ
จํานวน 8 แหง 11 ครั้ง ลูกจางที่เก่ียวของ 10,152 คน โดย 76.2 ของการเกิดขอพิพาทแรงงานท้ังหมด (ตารางท่ี 16)
เปนการยุติดวยการตกลงกันเองทั้ง 8 แหง คิดเปนรอยละ โดยสามารถยุติขอพิพาทแรงงานภายใน 5 วัน จํานวน 3 แหง
18.6 ของสถานประกอบกิจการท่ีมีการแจงขอ เรียกรองท้งั หมด 3 คร้งั ลูกจางที่เกี่ยวของ 2,583 คน ยุติเกิน 5 วัน จํานวน
สําหรับขอเรียกรองที่ไมสามารถเจรจาตกลงกันไดโดย 10 แหง 12 ครั้ง ลูกจางท่ีเกี่ยวของ 17,479 คน ช้ีขาด
ระบบทวิภาคีจนเกิดเปนขอพิพาทแรงงานในไตรมาสน้ี โดยบงั คบั จาํ นวน 2 แหง 2 ครั้ง ลูกจางท่ีเกี่ยวของ 147 คน
จํานวน 5 แหง 5 ครง้ั ลกู จางท่ีเกีย่ วของ 3,343 คน คิดเปน และอื่นๆ (ถอนขอเรียกรอ ง)1แหง 1 คร้งั ลูกจางท่ีเก่ียวของ
รอยละ 11.6 ของสถานประกอบกิจการที่มีการแจง 137 คน สวนขอพิพาทแรงงานท่ียังไมยุติจํานวน 5 แหง
ขอเรียกรอ งท้ังหมด สวนขอเรียกรองที่ยังไมยุติและอยใู น 5 ครง้ั ลกู จางที่เกีย่ วของ 5,596 คน คดิ เปนรอ ยละ 23.8
ระหวางการเจราจากันเอง มีจํานวน 30 แหง 35 ครั้ง ลูกจาง
ท่ีเกย่ี วของ 32,462 คน คิดเปนรอ ยละ 69.8 (ตารางที่ 15) สําหรับในไตรมาส3ของป 2562เกิดขอพิพาทแรงงาน
ในสถานประกอบกิจการ 6 แหง 6 ครั้ง ลูกจางที่เก่ียวของ
รายงานความเคล่ือนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 33

6,019 คน เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของปกอน อัตราวันทํางานสูญเสีย 24.1 วัน ตอลูกจางที่เก่ียวของ
พบวาเกิดขอพิพาทแรงงานลดลง โดยในไตรมาส 3 ป 2561 1 คน โดยการนัดหยุดงานและปดงานเกิดข้ึนในไตรมาส 1
เกิดขอพิพาทแรงงาน 9 แหง 10 คร้ัง คิดเปนอัตราลดลง ส วนประเด็ น ข อเรี ยกร อ งท่ี ทํ าให เกิ ด ข อ พิ พา ทแ ร ง ง า น
รอ ยละ 33.3, และ 40.0 ตามลําดับ สวนลูกจางที่เก่ียวของ จนนําไปสูการนัดหยุดงานและปดงานสวนใหญเปนเรื่อง
มีจํานวนเพ่ิมข้ึน โดยมี 4,249 คน คิดเปนอัตราเพ่ิมข้ึน การปรับเงนิ เดือน คาจา งประจาํ ป และเงินโบนัส
รอ ยละ 41.7 (ดตู ารางสรปุ สถติ คิ วามเคล่อื นไหวดานแรงงาน
ท่สี ําคญั ) 4.5 การเกิดขอขัดแยงในสถานประกอบ-
กิจการ

พนักงานประนอมขอพิพาทแรงงานไดดําเนินการ ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 เกิดขอขัดแยง

ไกลเกลี่ยและระงบั ขอพิพาทแรงงานจนยุติ 3 แหง 3 ครั้ง ในสถานประกอบกิจการ จํานวน 78 แหง ลูกจางท่ีเก่ียวของ

ลูกจางที่เกี่ยวของ3,145คนคิดเปนรอยละ 50.0 ของการเกิด 54,384 คน เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของ

ขอพิพาทแรงงานทั้งหมด โดยเปนการยุติขอพิพาทแรงงานเกิน ป 2561 พบวามีจํานวนการเกิดขอขัดแยงเทากัน สวน

5 วัน จํานวน 2 แหง 2 ครั้ง ลูกจางทีเ่ ก่ียวของ 3,008 คน และ ลูกจางที่เก่ียวของเพ่ิมขึ้น โดยในชวง 9 เดือนแรกของ

อ่ืน ๆ (ถอนขอเรียกรอง) จํานวน 1 แหง 1 คร้ัง ลูกจาง ป 2561 มีลูกจางท่ีเกี่ยวของ จํานวน 54,384 คน คิดเปน

ท่ีเก่ียวของ 137 คน สวนขอพิพาทแรงงานท่ียังไมยุติ อัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 57.3 (ดูตารางสรปุ สถิติความเคล่ือนไหว

จํานวน 3 แหง 3 คร้งั ลูกจางที่เกีย่ วของ 2,874 คน คิดเปน ดา นแรงงานท่ีสาํ คญั )

รอ ยละ 50.0 (ตารางท่ี 16) ผลการแกไขขอขัดแยงในสถานประกอบ-

4.4 การนดั หยุดงาน/ปด งาน กิจการ โดยเจาหนาที่สามารถดําเนินการแกไขยุติ

ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 พบวามีลูกจาง ขอขัดแยงได จํานวน 76 แหง ลูกจางท่ีเกี่ยวของ 54,226 คน
ใชสิทธินัดหยุดงาน 2 แหง ลูกจางที่เกี่ยวของ 596 คน หรือคิดเปนรอยละ 97.4 ของสถานประกอบกิจการท่ีเกิด
ทําใหเกิดวันทํางานที่สูญเสีย 24,990 วัน คิดเปนอัตรา ขอขัดแยงท้ังหมด โดยจําแนกเปนการยุติท่ีตกลงกันได

วันทํางานสูญเสีย 41.9 วันตอลูกจางท่ีเก่ียวของ 1 คน 70 แหง ลูกจางท่ีเกี่ยวของ 53,494 คน ถอนเรื่อง 1 แหง

และนายจางใชสิทธิปดงาน 4 แหง ลูกจางท่ีเก่ียวของ ลูกจางทเ่ี กีย่ วของ 200 คน ฟองศาลแรงงาน 2 แหง ลูกจาง

1,208 คน เกิดวันทํางานท่ีสูญเสีย 29,145 วัน คิดเปน ทเี่ กี่ยวขอ ง 21 คน และอ่นื ๆ 3 แหง ลูกจางทเี่ กย่ี วขอ ง

สสส ตารางที่ 16 การเกิดขอ พพิ าทแรงงานและการยุตขิ อพพิ าทแรงงาน ป 2562

ขอ พพิ าทแรงงาน จํานวน (แหง/ครั้ง/คน)

1. การเกิดขอพพิ าทแรงงาน Q1 Q2 Q3 รวม
2. การยุติขอพพิ าทแรงงาน 9/10/3,605 21/23/25,942
8/9/3,383 6/7/16,318 6/6/6,019 16/18/20,346
- ยตุ ภิ ายใน 5 วัน
- ยตุ ิเกิน 5 วัน 1/1/192 5/6/13,818 3/3/3,145 3/3/2,583
- ช้ีขาดโดยบังคบั 6/7/3,141 10/12/17,479
- ช้ขี าดโดยสมัครใจ 1/1/50 2/2/2,391 -
- อ่ืน ๆ (ถอนขอเรยี กรอ ง) 2/2/147
3. ขอพพิ าทแรงงานยังไมย ุติ - 2/3/11,330 2/2/3,008 -
-
1/1/222 1/1/97 - 1/1/137
5/5/5,596
--

- 1/1/137

1/1/2,500 3/3/2,874

ขอมูล ณ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2562 สาํ นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน
รายงานความเคล่อื นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

34 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

511 คน สวนขอขัดแยงที่ยังไมยุติจํานวน 2 แหง ลูกจาง 4.6 การผละงาน/ปดงานอนั เนื่องมาจากการ

ท่เี ก่ียวของ 158 คน (ตารางที่ 17) โดยสาเหตุของการเกิด เกิดขอขดั แยง

ขอขัดแยงสวนใหญเปนปญหาเรื่องคาจาง รองลงมา ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 พบวามีการ
คือ การไมปฏิบัติตามขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจาง ผละงาน/ปดงานอันเนื่องมาจากการเกิดขอขัดแยง จํานวน
การโยกยายหนาที่ และวนั และเวลาทํางาน 3 แหง ลูกจางท่เี กี่ยวของ 376 คน วันทาํ งานท่ีสูญเสีย

สําหรับในไตรมาส 3 ของป 2562 เกิดขอขัดแยง 649 วัน คิดเปนอัตราวันทํางานสูญเสีย 1.7 วันตอ

ระหวางนายจางกับลูกจางในสถานประกอบกิจการ 25 แหง ลูกจางที่เกี่ยวของ 1 คน ซึ่งเกิดข้ึนในชวงไตรมาสที่ 1

ลูกจางที่เก่ียวของ 19,176 คน (ดูตารางสรุปสถิติความ จํานวน 2 แหง และไตรมาสท่ี 2 จํานวน 1 แหง โดยประเด็น

เคลื่อนไหวดานแรงงานท่ีสําคัญ) เมือ่ เปรียบเทียบกับชวงเวลา ท่ีทําใหเกิดขอขัดแยงจนนําไปสูการผละงาน/ปดงาน

เดียวกนั ของป 2561 ซ่งึ มขี อ ขัดแยง ในสถานประกอบกิจการ เปน เรือ่ งเงนิ โบนสั และเงอ่ื นไขการจาง

16 แหง ลูกจางท่ีเก่ียวของ 3,815 คน คิดเปนอัตราเพม่ิ ขึ้น 4.7 การจดทะเบียนขอตกลงเกี่ยวกบั สภาพ
รอ ยละ 56.3 และ 402.6 ตามลําดบั การจาง

ผลการแกไขขอขัดแยงในสถานประกอบกิจการ ในชวง 9 เดอื นแรกของป 2562 มีสถานประกอบ-
โดยเจาหนา ท่สี ามารถดาํ เนินการแกไขยุติขอขดั แยงได กิจการนําขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมาจดทะเบียน
จํานวน 23 แหง ลูกจางที่เกี่ยวของ 19,018 คน หรือ ตอ เจาหนาท่ี จาํ นวน 210 ฉบบั สทิ ธปิ ระโยชนทีล่ กู จาง
คิดเปนรอยละ 92.0 ของสถานประกอบกิจการที่เกิด ไดรับจํานวน 25,172.457 ลานบาท เม่ือเปรียบเทียบ
ขอขัดแยงทั้งหมด โดยจําแนกเปนการยุติที่ตกลงกันไดเอง กับชว งเวลาเดียวกันของป 2561 มีสถานประกอบกิจการ
22 แหง ลูกจางที่เกี่ยวของ 19,017 คน และอ่ืน ๆ 1 แหง นําขอตกลงเกี่ยวกับสภาพการจางมาจดทะเบียน
ลูกจางที่เก่ียวของ 1 คน สวนขอขัดแยงที่ยังไมยุติ จํานวน 216 ฉบับ ซึ่งลดลงคิดเปนอัตรารอ ยละ 2.8 (ดูตารางสรุป
2 แหง ลูกจางที่เก่ียวของ 158 คน (ตารางท่ี 17) โดยสาเหตุ สถิติความเคล่ือนไหวดา นแรงงานท่ีสําคัญ)
ของการเกิดขอขัดแยงสวนใหญเปนเรื่องการเลิกจาง

รองลงมาเปนเร่ืองการไมปฏิบัติตามขอตกลงเกี่ยวกับ สําหรับในไตรมาส 3 ป 2562 มีสถานประกอบ-

สภาพการจา ง การโยกยา ยหนา ท่ี และวันและเวลาทาํ งาน กจิ การนําขอตกลงเกย่ี วกับสภาพการจางมาจดทะเบียนตอ

สสส
ตารางท่ี 17 การเกิดขอขัดแยง การยุติขอขัดแยง และการผละงาน ป 2562

ขอขัดแยง จาํ นวน (แหง /คร้ัง/คน)
Q1 Q2 Q3 รวม

1. การเกิดขอ ขัดแยง 32/35/23,062 21/23/12,146 25/27/19,176 78/85/54,384

1.1 การยุติขอขดั แยง 32/35/23,062 21/23/12,146 23/25/19,018 76/83/54,226

- ตกลงกันได 28/31/22,680 20/22/11,797 22/24/19,017 70/77/53,494

- ถอนเรอื่ ง 1/1/200 - - 1/1/200

- ฟอ งศาลแรงงาน 2/2/21 - - 2/2/21

- อ่ืน ๆ 1/1/161 1/1/349 1/1/1 3/3/511

1.2 ขอขัดแยงยังไมย ุติ - - 2/2/158 2/2/158

2. การผละงาน 2/2/357 1/1/19 - 3/3/376

ขอมลู ณ วนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2562 สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวสั ดกิ ารและคุมครองแรงงาน
รายงานความเคลือ่ นไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 35

เจาหนาที่ จํานวน 34 ฉบับ สิทธิประโยชนท่ีลูกจางไดรับ รอ ยละ 72.2 สวนเงินสิทธิประโยชนที่ลูกจางไดรับ 12.041

จํานวน 1,167.603 ลานบาท เม่ือเปรียบเทียบกับ ลา นบาท คิดเปน อัตราเพิ่มขนึ้ รอ ยละ 68.2

ชวงเวลาเดียวกันของป 2561 พบวามีสถานประกอบ- การวินิจฉัยคํารองอันเกิดจากการกระทําที่
กิจการนําขอตกลงเก่ียวกับสภาพการจางมาจดทะเบียน ไมเปนธรรมในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 พบวา
ตอเจาหนาท่ีจํานวน 40 ฉบับ ซึ่งลดลงคิดเปนอัตรา เปนการประนีประนอม 53 ราย คิดเปนรอยละ 35.1
รอ ยละ 15.0 ของการวินิจฉัยคํารองท้ังหมด สิทธิประโยชนท่ีลูกจาง

4.8 การกระทาํ อนั ไมเ ปน ธรรม ไดรบั เปน เงิน 0.483 ลานบาท และเปนการวินิจฉัยช้ีขาด

ในชวง 9 เดือนแรกของป 2562 คณะกรรมการ ของ ครส. จํานวน 98 ราย คิดเปนรอยละ 64.9 ของ
แรงงานสัมพันธ (ครส.) ไดรับคํารองจากลูกจางอันเกิด การวินิจฉัยคํารองท้ังหมด โดยสวนใหญเปนการยก
จากการกระทําอันไมเปนธรรมของนายจางรวมทั้งส้ิน คํารอง 46 ราย คิดเปนรอยละ 46.9 ของการวินิจฉัย
92 ราย (ดูตารางสรุปสถิติความเคล่ือนไหวดานแรงงาน ชข้ี าดทงั้ หมด รองลงมาไดแก ส่ังใหจายคาเสียหาย 32 ราย
ท่ีสําคัญ) เมื่อเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของ ส่ังใหรับกลับและจายคาเสียหาย 16 ราย และส่ังให
ป 2561 ท่ีมีการรับคํารอง 282 ราย พบวามีการรับคํารอง มอบหมายงาน 2 ราย คิดเปนรอยละ 32.7, 16.3 และ
ลดลงรอ ยละ 67.4 โดย ครส. ไดดําเนินการวินิจฉัยชวยเหลือ 2.0 ตามลําดับ (ตารางที่ 18)

ลูกจางจํานวน 151 ราย ใหไดรับสิทธิประโยชน เปนเงิน สําหรับในไตรมาส 3 ป 2562 ครส. ไดรบั คํารอง

12.041 ลานบาท (รวมการวินิจฉัยคํารองที่คางจาก จากลูกจางอันเกิดจากการกระทําอนั ไมเปนธรรมของนายจาง

งวดกอน) เม่ือเปรียบเทียบกับชวงเวลาเดียวกันของ รวมทั้งส้ิน 15 ราย (ดูตารางสรุปสถิติความเคล่ือนไหว

ปก อน พบวา มกี ารวนิ ิจฉยั คาํ รอ ง543ราย คดิ เปนอัตราลดลง ดานเศรษฐกิจแรงงานท่ีสําคัญ) เม่ือเปรียบเทียบกับ

ตารางท่ี 18 การวนิ จิ ฉยั คํารองการกlรllะllทl ําอนั ไมเ ปน ธรรม ป 2562

การวินิจฉัยคํารองการกระทํา Q1 Q2 Q3 รวม
อันไมเปนธรรม

การวินจิ ฉยั คํารองท้ังหมด

ลูกจางทีเ่ กี่ยวขอ ง (ราย) 77 62 12 151

สทิ ธิประโยชนท่ไี ดรับ (ลานบาท) 8.482 3.169 0.390 12.041

การประนปี ระนอม

ลูกจางท่เี กี่ยวของ (ราย) 38 13 2 53

สิทธิประโยชนที่ไดรับ (ลา นบาท) - 0.422 0.061 0.483

การวินจิ ฉยั ช้ีขาด

ลูกจา งทีเ่ กยี่ วของ (ราย) 39 49 10 98

- สงั่ ใหรับกลบั และจายคาเสียหาย 1 14 1 16

- สงั่ ใหม อบหมายงาน 1 1-2

- สั่งใหจ า ยคาเสียหาย 22 9 1 32

- สั่งใหปรบั คาจาง/จายโบนสั - -11

- สั่งใหย ายกลบั หนา ทเี่ ดิม - - 1 1

- ยกคํารอง 15 25 6 46

- อื่น ๆ - ---

สิทธิประโยชนทไ่ี ดรบั (ลา นบาท) 8.482 2.747 0.329 11.558

รายงานความเคลื่อนไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน สํานักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน

36 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

ชวงเวลาเดียวกันของป 2561 ท่ีไดรับคํารอง 79 ราย จํานวน 50 แหง และระดับพื้นฐาน จํานวน 202 แหง
พบวาไดรับคํารองจากลูกจางลดลง คิดเปนอัตรารอยละ ยกระดบั คุณภาพชีวติ แรงงาน 153,882 คน (ตารางท่ี 19)
81.0 โดย ครส. ไดดําเนินการวินิจฉัยคํารองชวยเหลือ
ลูกจาง 12 ราย ใหไดรับสิทธิประโยชนเปน เงนิ 0.390 ตารางท่ี 19 สถานประกอบกิจการทีอ่ ยใู นระบบ
ลานบาท (รวมการวินิจฉัยคํารองที่คางจากงวดกอน) มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001 – 2553
เมื่อเปรยี บเทยี บกับชวงเวลาเดียวกันของป 2561 พบวามี
การวินิจฉัยคํารองลดลงคิดเปนอัตรารอ ยละ 84.8 สวน สถานประกอบกจิ การ ป 2561 ป 2562
เงินสิทธิประโยชนท่ีลูกจางไดรับลดลงในอัตรารอยละ ทอี่ ยูใ นระบบรับรอง ไตรมาส 3 ไตรมาส 3
63.1 โดยในไตรมาส 3 ป 2561 มีคํารองที่วินจิ ฉัยจาํ นวน มรท.8001-2553 แหง คน แหง คน
79 ราย และลูกจางไดรับสิทธิประโยชนเปนเงิน 1.056 7 21,430 6 2,749
ลานบาท - สถานประกอบกิจการ
ทอี่ ยูในระบบมาตรฐาน 50 48,501 52 76,102
สวนผลการวินจิ ฉัยคํารองอันเกิดจากการกระทํา แรงงานไทยระดับสมบรู ณ
ที่ไมเปนธรรมในไตรมาส 3 ป 2562 พบวาเปนการ สูงสุด 202 83,951 316 91,906
ประนีประนอม 2 ราย คิดเปนรอยละ 16.7 ของการวินิจฉัย - สถานประกอบกิจการ
คํารองท้ังหมด สิทธิประโยชนท่ีลูกจางไดรับเปนเงิน ทอ่ี ยูในระบบมาตรฐาน 259 153,882 374 170,757
0.061 ลานบาท สวนการวินิจฉัยช้ขี าดของ ครส. มีจํานวน แรงงานไทยระดับสมบูรณ
10 ราย คิดเปนรอยละ 83.3 ของการวินิจฉัยคาํ รองท้ังหมด - สถานประกอบกิจการ
โดยสวนใหญเปนการยกคํารอง 6 ราย คิดเปนรอยละ ทอ่ี ยูใ นระบบมาตรฐาน
60.0 ของการวินิจฉัยช้ีขาดท้ังหมด รองลงมาเปนสั่งใหรับกลับ แรงงานไทยระดบั พืน้ ฐาน
และจายคาเสียหาย สั่งใหจายคาเสียหาย สั่งใหปรับคาจาง/
จายโบนัส และสัง่ ใหยายกลับหนาที่เดิมมีจํานวนเทากัน รวม
คอื 1 ราย คดิ เปนรอยละ 10.0 (ตารางท่ี 18)
(1) สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน
6. ความเคลอื่ นไหวดานมาตรฐานแรงงาน แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดบั สมบูรณส ูงสดุ

สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน สถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐาน
แรงงานไทย มรท.8001-2553 ไปใชบริหารจัดการดาน แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับสมบูรณส ูงสดุ จํานวน
แรงงานในสถานประกอบกิจการ ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 6 แหง ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน 2,749 คน เม่ือ
จํานวน 1,456 แหง ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน จํานวน จําแนกตามภาคพบวา ภาคเหนือมีสถานประกอบกิจการ
666,387 คน ท่ีอยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553
มากที่สุด จํานวน 3 แหง คิดเปนรอยละ 50.0 ของ
ในไตรมาส 3 ป 2562 (กรกฎาคม – กันยายน สถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย
2562) สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน ระดับสมบูรณสูงสุด รองลงมา ไดแก กรุงเทพมหานครและ
แรงงานไทย มรท.8001-2553 จํานวน 374 แหง ยกระดับ ปริมณฑล จํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 33.3 และภาคกลาง
คุณภาพชีวิตแรงงาน 170,757 คน แบงเปนระดบั สมบูรณ จาํ นวน 1 แหง คิดเปนรอ ยละ 16.7 ตามลําดบั (ตารางท่ี 20)
สูงสุด จาํ นวน 6 แหง ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน
2,749 คน ระดับสมบรู ณ จํานวน 52 แหง ยกระดับคณุ ภาพ เมื่อพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบกิจการ
ชวี ติ แรงงาน 76,102 คน และระดับพ้ืนฐาน จํานวน 316 แหง พบวา สวนใหญสถานประกอบกิจการที่อยูในระดับ
ยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน 91,906 คน เพ่ิมขึ้นจากชวง มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับสมบูรณ
เดียวกันของปกอน ที่มีสถานประกอบกิจการที่อยูใน สูงสุดเปนสถานประกอบกิจการขนาดใหญ (จํานวนลูกจาง
ระบบมาตรฐานแรงงานไทย จํานวน 259 แหง แบงเปน 200 คนขึ้นไป) จํานวน 4 แหง คิดเปนรอยละ 66.7
ระดับสมบูรณสูงสุด จํานวน 7 แหง ระดับสมบูรณ ของสถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย
ระดับสมบูรณสูงสุด รองลงมา ไดแก ขนาดกลาง (จํานวน
รายงานความเคล่อื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน ลูกจาง 50-199 คน) จํานวน 2 แหง คิดเปนรอยละ 33.3
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 (ตารางที่ 21)

สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
กรมสวัสดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 37

ตารางที่ 20 สถานประกอบกจิ การท่ีอยใู นระบบมาตรฐาน จํานวน 17 แหง คิดเปนรอยละ 32.7 ของสถานประกอบ-
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดับสมบรู ณสงู สดุ กิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทยระดับสมบูรณ
จําแนกตามภาค รองลงมา ไดแก กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จํานวน
15 แหง คิดเปนรอ ยละ 28.8 ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ภาค จํานวน รอยละ จํานวน 9 แหง คิดเปนรอยละ 17.3 ภาคตะวันออก
(แหง) 33.3 จํานวน 5 แหง คดิ เปนรอยละ 9.6 ภาคใต จํานวน 3 แหง
กรุงเทพมหานครและ คดิ เปนรอยละ 5.8 และภาคเหนือ จํานวน 3 แหง คิดเปน
ปรมิ ณฑล 2 รอ ยละ 5.8 (ตารางที่ 22)

เหนือ 3 50.0 ตารางที่ 22 สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดบั สมบรู ณ
กลาง 1 16.7 จาํ แนกตามภาค

รวม 6 100.0

ตารางท่ี 21 สถานประกอบกจิ การท่ีอยใู นระบบมาตรฐาน- ภาค จํานวน (แหง ) รอยละ
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดับสมบรู ณสูงสดุ กรุงเทพมหานครและ 15 28.8
ปริมณฑล
จําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ 17 32.7
กลาง
จํานวน
ขนาด (แหง) รอ ยละ ตะวนั ออก 5 9.6
ขนาดใหญ (200 คนขึน้ ไป)
4 66.7 เหนอื 3 5.8

ขนาดกลาง (50-199 คน) 2 33.3 ตะวันออกเฉียงเหนือ 9 17.3

รวม 6 100.0 ใต 3 5.8
รวม 52 100.0
สาํ หรับการจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย เม่ือพิจารณาตามขนาดของสถานประกอบ-
มรท.8001-2553 สวนใหญอยูในการผลิตไม ผลิตภณั ฑ กิจการพบวา สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบ
จากไมและไมกอก ยกเวนเคร่ืองเรือน การผลิตผลิตภัณฑ มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับสมบูรณ
อาหารและเครื่องด่ืม รวมท้ังการผลิตของจากฟาง และ สว นใหญเปนสถานประกอบกิจการขนาดใหญ (จํานวน
วัสดุอ่ืน ๆ คือ รอยละ 33.3 และการผลิตสิ่งทอส่ิงถัก, ลูกจา ง 200 คนขึ้นไป) จํานวน 29 แหง คิดเปนรอยละ
การผลิตเคร่ืองแตงกาย รวมทั้งการตกแตงและยอมสี 55.8 ของสถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐาน
ขนสัตว, การผลิตเคร่ืองเรือนและการผลิต ซ่ึงมิไดจัด แรงงานไทยระดับสมบูรณ รองลงมา ไดแก ขนาดกลาง
ประเภทไวในที่อื่น ๆ การขายสง และการคา เพ่ือคานายหนา (จาํ นวนลูกจาง 50 – 199 คน) จํานวน 14 แหง คิดเปน
ยกเวนยานยนตและจักรยานยนต มีจํานวนเทากัน คือ รอ ยละ 26.9 และขนาดเล็ก (1 – 49 คน) จํานวน 9 แหง
รอ ยละ 16.7 คิดเปน รอ ยละ 17.3 (ตารางท่ี 23)

(2) สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน สาํ หรับการจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดบั สมบูรณ สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย
มรท.8001-2553 สวนใหญอยูในการผลิตผลิตภัณฑ
สถานประกอบกิจการท่อี ยูในระบบมาตรฐาน อาหารและเคร่ืองดื่ม รอยละ 28.8 รองลงมา คือ
แรงงานไทย ระดับสมบูรณ จํานวน 52 แหง ยกระดับ เกษตรกรรม ลาสัตวและบริการที่เกี่ยวของ รอยละ 21.1
คุณภาพชีวิตแรงงาน 76,102 คน เมือ่ จําแนกตามภาค และการผลิตผลิตภัณฑยางและผลิตภัณฑพลาสติก,
พบวา ภาคกลางมีสถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบ การผลิตเครอ่ื งจักรและอปุ กรณซ่ึงมิไดจัดประเภทไวใน
มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 มากท่ีสุด
สํานักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
รายงานความเคล่อื นไหวดานเศรษฐกจิ – แรงงาน กรมสวัสดิการและคุม ครองแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

38 รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน

ท่ีอ่ืน มีจํานวนเทากัน รอยละ 9.6 นอกนั้นอยูในประเภท เม่อื พิจารณาตามขนาดสถานประกอบกิจการ
อน่ื ๆ รอ ยละ 40.3 พบวา สถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐาน
แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับพื้นฐานสวนใหญ
ตารางที่ 23 สถานประกอบกจิ การท่ีอยูในระบบมาตรฐาน เปนสถานประกอบกิจการขนาดกลาง (จํานวนลูกจาง
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดับสมบูรณ 50-199 คน) จํานวน 138 แหง คิดเปนรอยละ 43.7
จําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ ของสถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐาน
แรงงานไทยระดับพื้นฐาน รองลงมา ไดแก ขนาดใหญ
ขนาด จํานวน (แหง) รอ ยละ (จํานวนลูกจาง 200 คนขึ้นไป) จํานวน 119 แหง คิดเปน
รอยละ 37.6 และขนาดเล็ก (1-49 คน) จํานวน 59 แหง
ขนาดใหญ (200 คนขึน้ ไป) 29 55.8 คิดเปนรอ ยละ 18.7 (ตารางท่ี 25)

ขนาดกลาง (50-199 คน) 14 26.9

ขนาดเลก็ (1-49 คน) 9 17.3 ตารางท่ี 25 สถานประกอบกจิ การท่ีอยูในระบบมาตรฐาน
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดบั พน้ื ฐาน
รวม 52 100.0 จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ

(3) สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐาน ขนาด จํานวน (แหง) รอยละ
แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับพ้ืนฐาน

สถานประกอบกิจการท่ีอยูในระบบมาตรฐาน ขนาดใหญ (200 คนขึ้นไป) 119 37.6
แรงงานไทย มรท.8001-2553 ระดับพื้นฐาน 316 แหง
ลูกจาง91,906 คน เมื่อจําแนกตามภาคพบวา กรุงเทพมหานคร ขนาดกลาง (50-199 คน) 138 43.7
และปริมณฑล มีสถานประกอบกิจการที่อยูในระบบ
มาตรฐานแรงงานไทย มรท.8001-2553 มากท่ีสุด ขนาดเลก็ (1-49 คน) 59 18.7
จาํ นวน 140 แหง คิดเปนรอ ยละ 44.3 ของสถานประกอบ-
กิจการท่ีอยใู นระบบมาตรฐานแรงงานไทยระดับพื้นฐาน รวม 316 100.0
รองลงมา ไดแก ภาคกลาง จํานวน 60 แหง คิดเปนรอยละ
19.0 ภาคเหนือ จํานวน 39 แหง คดิ เปนรอยละ 12.3 สําหรับการจําแนกตามประเภทอุตสาหกรรม
ภาคตะวันออก จํานวน 30 แหง คิดเปนรอยละ 9.5 สถานประกอบกิจการที่อยูในระบบมาตรฐานแรงงานไทย
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน 28 แหง คิดเปน มรท.8001-2553 สวนใหญอยูในการผลิตผลิตภัณฑ
รอยละ 8.9 และภาคใต จํานวน 19 แหง คิดเปนรอยละ 6.0 อาหารและเคร่ืองด่ืม รอยละ 23.4 รองลงมา คือ การ
ขายปลีก ยกเวนยานยนตและจักรยานยนต รวมกึงการ
(ตารางที่ 24) ซอมแซมของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน รอยละ
15.8 และการผลิตภัณฑยางและผลิตภัณฑพลาสติก
ตารางที่ 24 สถานประกอบกิจการที่อยใู นระบบมาตรฐาน คือ รอยละ 6.01 นอกน้ันอยูในประเภทอื่น ๆ รอยละ
แรงงานไทย มรท.8001 - 2553 ระดับพ้นื ฐาน 54.7
จาํ แนกตามภาค
7. ดานสวสั ดกิ ารแรงงาน
ภาค จํานวน (แหง ) รอยละ
140 44.3 ในป 2562 (มกราคม – กันยายน 2562) มี
กรุงเทพมหานครและ สถานประกอบกิจการไดรับการสงเสริมการจัดสวัสดิการ
ปรมิ ณฑล 60 19.0 นอกเหนือกฎหมาย จํานวน 23,802แหงลูกจาง1,802,222 คน
กลาง 30 9.5 มีสถานประกอบกิจการท่ีจัดสวัสดิการนอกเหนือกฎหมาย
ตะวันออก 39 12.3 จาํ นวน 14,911 คน ลูกจาง 1,137,731 คน
เหนอื 28 8.9
ตะวนั ออกเฉียงเหนอื 19 6.0 ไตรมาสท่ี 3 ป 2562 (กรกฎาคม – กันยายน 2562)
ใต 316 100.0 มีสถานประกอบกิจการที่รับการสงเสริมการจัดสวัสดิการ
นอกเหนือกฎหมาย จํานวน 3,750 แหง ลูกจาง 292,776 คน
รวม
สํานกั พฒั นามาตรฐานแรงงาน
รายงานความเคล่ือนไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน กรมสวัสดิการและคมุ ครองแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562

รายงานความเคล่ือนไหวดานแรงงาน 39

มีสถานประกอบกิจการท่ีจัดสวัสดิการนอกเหนือกฎหมาย สังสรรคประจําป การจัดทัศนศึกษา จัดกีฬาภายนอกโรงงาน
จํานวน2,956คน ลูกจา ง244,082คน (ตารางที่ 26) (ตารางที่ 27)

เม่ือพิจารณาจากการสงเสริมการจัดสวัสดิการ เม่ื อพิ จารณาจากการจั ดสวั สดิ การนอกเหนื อ
นอกเหนือกฎหมายพบวา สถานประกอบกิจการท่ีไดรับการ กฎหมายพบวา สถานประกอบกิจการท่ีจัดสวัสดิการนอกเหนอื
สงเสริมใหมีการจัดสวัสดิการนอกเหนือกฎหมายสวนใหญ กฎหมายสวนใหญเปนสวัสดกิ ารท่ีสถานประกอบกิจการจัดให
เปนสวสั ดิการดานสุขภาพอนามัย จํานวน 1,630 แหง ลูกจาง โดยครอบคลุมถึงครอบครัวลูกจาง จํานวน 980 แหง ลูกจาง
138,804 คน ไดแก จัดใหมีสถานที่ออกกําลังกาย จัดบริการ 66,786 คน ไดแก จัดชุดทํางานใหพนักงาน จัดท่ีพักให
ตรวจสุขภาพ ใหความรูแกพนักงานท่ีตั้งครรภ รองลงมา คือ พนักงาน จัดอาหารฟรีใหพนักงาน รองลงมา คือ สวัสดิการ
สวัสดิการท่ีสถานประกอบกิจการจัดใหโดยครอบคลุมถึง ดานสุขภาพอนามัย จํานวน 882 แหง ลูกจาง 93,016 คน
ครอบครัวลูกจาง จํานวน 1,010 แหง ลูกจาง 67,741 คน ไดแก จัดใหมีสถานท่ีออกกําลังกาย จัดบริการตรวจสุขภาพ
ไดแก จัดชุดทํางานใหพนักงาน จัดที่พักใหพนักงาน ใหความรูแกพนักงานท่ีต้ังครรภ สวัสดิการดานการเงินและ
จัดอาหารฟรีใหพนักงาน สวัสดิการดานการเงินและบริการ บริการ จํานวน 613 แหง ลูกจา ง 41,342 คน ไดแก เงินโบนัส
จํานวน 619 แหง ลูกจาง 42,275 คน ไดแก เงินโบนัส พนักงาน เงินหรือสิ่งของเย่ียมไข เงินชวยเหลืองานศพ
พนักงาน เงินหรือสิ่งของเยี่ยมไข เงินชวยเหลืองานศพ สวัสดิการดานการพัฒนาลูกจาง จําวน 283 แหง ลูกจาง
สวัสดิการดานการพัฒนาลูกจาง จํานวน 291 แหง ลูกจาง 30,250 คน ไดแก สงเสริมสวัสดิการแรงงานสูงอายุ
31,059 คน ไดแก สง เสริมสวัสดิการแรงงานสูงอายุ จัดมุม จัดมุมอานหนังสือในสถานประกอบกิจการ อบรม
อานหนังสือในสถานประกอบกิจการ อบรมความรูใน ความรใู นสถานประกอบกิจการ และสวัสดิการดานการ
สถานประกอบกิจการ และสวัสดิการดานการจัดนันทนาการ จัดนันทนาการ จํานวน 198 แหง ลูกจาง 12,688 คน ไดแก
จํานวน 200 แหง ลูกจาง 12,897 คน ไดแก จัดงานเล้ียง จัดงานเลี้ยงสังสรรคประจําป การจัดทัศนศึกษา จัดกีฬา
llllllllll ภายนอกโรงงาน (ตารางที่ 28)

ตารางท่ี 26 จํานวนสถานประกอบกจิ การท่ีไดร ับการสงเสริมและจดั ใหมสี วัสดิการนอกเหนือกฎหมาย
จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ ไตรมาส 3 ป 2562
(กรกฎาคม – กันยายน 2562)

จําแนกขนาด สปก. สปก.ทไ่ี ดรับการสงเสรมิ สปก.ท่ีจดั สวัสดกิ าร
แหง คน แหง คน

รวม 3,750 292,776 2,956 244,082

1 – 4 คน 277 741 210 574

5 – 9 คน 482 3,368 383 2,698
10 – 19 คน 712 9,874 496 6,974

20 – 49 คน 1,035 33,429 838 27,154

50 – 99 คน 615 44,349 493 35,767

100 – 299 คน 467 76,470 396 65,219

300 – 499 คน 74 27,765 66 24,777

500 – 999 คน 65 43,621 57 38,436
1,000 คนขึ้นไป 23 53,159 17 42,483

รายงานความเคลอื่ นไหวดานเศรษฐกิจ – แรงงาน สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวัสดกิ ารและคุมครองแรงงาน

40 รายงานความเคลื่อนไหวดานแรงงาน

ตารางท่ี 27 การสงเสรมิ สวัสดิการนอกเหนือกฎหมาย จําแนกตามขนาดสถานประกอบกิจการ ไตรมาส 3 ป 2562
(กรกฎาคม – กนั ยายน 2562)

ขนาด สปก. การเงนิ ครอบครวั นนั ทนาการ สขุ ภาพ พัฒนาลกู จาง
(จํานวนลูกจา ง) แหง คน
แหง คน แหง คน แหง คน แหง คน 291 31,059
รวม 39
1 – 4 คน 619 42,275 1,010 67,741 200 12,897 1,630 138,804 8 50
5 – 9 คน 37 532
10 – 19 คน 62 153 83 238 8 25 121 316 69 2,392
20 – 49 คน 103 7,353
50 – 99 คน 78 544 145 1,033 27 200 224 1,541 58 9,335
100 – 299 คน 5 1,999
300 – 499 คน 107 1,500 181 2,543 39 550 348 4,749 6 3,990
500 – 999 คน 2 5,399
1,000 คนขึ้นไป 185 6,027 309 9,947 61 1,918 411 13,145

97 7,066 143 10,391 35 2,469 237 17,070

68 10,500 116 19,050 23 3,787 202 33,798

13 4,992 17 6,021 2 754 37 13,999

6 3,430 13 8,544 5 3,194 35 24,463

3 8,063 3 9,974 - - 15 29,723

ตารางท่ี 28 การจดั สวสั ดิการนอกเหนอื กฎหมาย จาํ แนกตามขนาดสถานประกอบกจิ การ ไตรมาส 3 ป 2562
(กรกฎาคม – กนั ยายน 2562)

ขนาดสปก. การเงนิ ครอบครวั นันทนาการ สุขภาพ พัฒนา
(จํานวนลูกจา ง) แหง คน แหง คน แหง คน แหง คน แหง คน
613 41,342 980 66,786 198 12,688 882 93,016 283 30,250
รวม 62 153 83 238 8 25 54 149 39
1 – 4 คน 78 544 141 1,005 27 200 129 899 8 50
5 – 9 คน 106 1,481 173 2,440 39 550 141 1,971 37 532
10 – 19 คน 185 6,027 298 9,578 61 1,918 226 7,281 68 2,350
20 – 49 คน 94 6,853 136 9,936 35 2,469 130 9,537 98 6,972
50 – 99 คน 67 10,363 116 19,050 21 3,578 136 23,279 56 8,949
100 – 299 คน 13 4,992 17 6,021 2 754 29 11,011 5 1,999
300 – 499 คน 5 2,866 13 8,544 5 3,194 28 19,842 6 3,990
500 – 999 คน 3 8,063 3 9,974 -- 9 19,047 2 5,399
1,000 คนขน้ึ ไป

รายงานความเคล่อื นไหวดา นเศรษฐกิจ – แรงงาน สาํ นักพฒั นามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กนั ยายน 2562 กรมสวสั ดิการและคมุ ครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดา นแรงงาน 41

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

42 รายงานความเคลอื่ นไหวดา นแรงงาน

รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

รายงานความเคลื่อนไหวดา นแรงงาน 43

รายงานความเคลอ่ื นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สํานกั พัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

44 รายงานความเคลอื่ นไหวดา นแรงงาน

รายงานความเคลือ่ นไหวดา นเศรษฐกจิ – แรงงาน สาํ นักพัฒนามาตรฐานแรงงาน
ไตรมาส 3 : กรกฎาคม – กันยายน 2562 กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน


Click to View FlipBook Version