The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phueng1991.20, 2021-03-30 03:16:43

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ2564

๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ และเกิดทักษะในการด ารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสข และ
สามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

13.ดัชนี้ตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
1๓.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)

ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ ๘๐ ของกลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถน าความรู้
ุ่
ประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน และอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข

๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ
๑๔.๑ แบบทดสอบ

๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ
๑๔.๓ รายงานผลการด าเนินงานโครงการ


ลงชื่อ..อนุรักษ์ จินตรา...ผู้ขออนุมัติโครงการ

(นายอนุรักษ์ จินตรา)
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน




ลงชื่อ....อิบราเหม เด็นมูณี......ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ

(นายอิบราเหม เด็นมูณี)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมปฏิบัติการ


ลงชื่อ...วิลาสินี เดชด านิล....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
(นางวิลาสินี เดชด านิล)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน



ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์
(นางสาวณัฐทินี ศรประสิทธิ์)

รองผู้อ านวยการ



ลงชื่อ....วิเชียร โชติช่วง....ผู้อนุมัติโครงการ
(นายวิเชียร โชติช่วง)

ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๕

โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน


๑. ชื่อโครงการ : โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
๒. ความสอดคล้องนโยบาย
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลาย
ทางความคิดและอุดมการณ ์
๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่


ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ
ข้อ ๓ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์


ี่
๓.๓ สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน





สามารถได้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน

๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่าย ทง
ั้


ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรพยากรมนุษย์
ั้






๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ
บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผู้รับบริการ
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทงภาครัฐ

ั้





เอกชน ประชาสงคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ร่วมทงสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชมชน

ั้




เพื่อสร้างความเขาใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ภารกิจต่อเนื่อง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง
๓) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบ
ี่

บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชม สมมนา การจดเวทแลกเปลยนเรียนรู้ การจดกิจกรรม จต






อาสา การสร้างชมชนนักปฏิบัต และรูปแบบอื่นๆ ทเหมาะสมกับกลมเป้าหมาย และบริบทของชมชน แตละ


ุ่


ี่
ี่



พื้นท เคารพความคดของผอื่น ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคดและอุดมการณ รวมทง
ั้
ู้

ุ่

สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลมเพื่อแลกเปลยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจต
ี่

ี่




สาธารณะ การสร้างจตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสทธิ และรับผดชอบตอหน้าทความเป็น
พลเมืองดี การส่งเสริมคณธรรม จริยธรรม การบ าเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหารจัดการน้ า การรับมือกับ




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๖



ิ่



สาธารณภัย การอนุรักษ์พลงงานทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม ชวยเหลอซึ่งกันและกันในการพัฒนา
สังคม และชุมชนอย่างยั่งยืน
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง


ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ


ู้
คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
ู้
ี่


ประเดนพิจารณา ๑.๒ ผเรียนการศกษาตอเนื่องสามารถน าความรู้ทไดรับไปประยุกตใชบนฐาน




ค่านิยมร่วมของสังคม
ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบการศกษาหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นท ี่



ู้




ี่
ประจักษ์หรือตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

๓. หลักการและเหตุผล




ี่
การจดการศกษาเพื่อพัฒนาสงคมและชมชน เป็นกระบวนการทางการศกษาทสงเสริมให้ประชาชน






ชมชน เกิดการเรียนรู้และบูรณาการความรู้ ประสบการณ เข้ามาใชให้เกิดประโยชน์ตอการพัฒนาสงคมและ




ชมชนโดยรวม และบริบทของชมชนแตละพื้นทโดยเน้นการสร้างจตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็น


ี่


พลเมืองดี การบ าเพ็ญประโยชน์ การเสริมสร้างคานิยมความรักชาติ ความภูมิใจในความเป็นไทย ใฝ่หาความรู้
หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อม และการมีจิตอาสาสมัคร ใช้ความรู้ความสามารถของตน ความรัก



ความสามัคค การให้ การแบ่งปัน การมีสวนร่วมในการพัฒนาชมชน สงคม และเฝาระวัง และหวงแหนสมบัต ิ








ของชาต โดยเห็นแก่สวนรวมเป็นสาคญ ซึ่งสอดคลองกับนโยบายและจดเน้นการดาเนินงานสานักงาน กศน.





ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ข้อ ๑.๓ การศกษาตอเนื่อง ๓) จดการศกษาเพื่อพัฒนาสงคมและชมชน โดยใช ้








หลกสตรและการจดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สมมนา การ

จัดเวทีแลกเปลยนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ที่เหมาะสมกับ
ี่


กลมเป้าหมาย และบริบทของชมชน แตละพื้นท เคารพความคดของผอื่น ยอมรับความแตกตางและ


ู้
ุ่
ี่



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๗

หลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้ง สังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บุคคลรวมกลุ่มเพื่อ

ี่
แลกเปลยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจต สาธารณะ การสร้างจตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การ



เคารพในสทธิ และรับผดชอบตอหน้าทความเป็น พลเมืองด การสงเสริมคณธรรม จริยธรรม การบ าเพ็ญ





ี่



ประโยชน์ในชมชน การบริหารจดการน้ า การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลงงานทรัพยากรธรรมชาต ิ
และสิ่งแวดล้อม ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคม และชุมชนอย่างยั่งยืน






ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดตระหนักและเห็นความสาคญ










ดงกลาว จงไดดาเนินการจดโครงการจดการศกษาเพื่อพัฒนาสงคมและชมชน ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อให้



กลมเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีสวนร่วมในการพัฒนาชมชนของตนเอง เป็นพลเมืองทด ตลอดจน
ี่

ุ่
การสร้างจิตส านึกในการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

๔. วัตถุประสงค์


ุ่
เพื่อให้กลมเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีสวนร่วมในการพัฒนาชมชนของตนเอง ตลอดจน
การสร้างจิตส านึกในการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
ประชาชนในพื้นท ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวน ๒๖๖ คน
ี่
๕.๒ เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง เป็นพลเมือง
ที่ดีตลอดจนการสร้างจิตส านึกในการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

๖. วิธีการด าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
๑. ส ารวจความต้องกา เพื่อส ารวจความ ประชาชนในพื้นที่ ๕ ๒๖๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค. ๖๓
กลุ่มเป้าหมาย ต้องการของ จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ชายแดนภาคใต ้
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ เพื่อประชุมวาง บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
ด าเนินงาน แผนการด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนุมัต ิ บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ งบประมาณในการ
ด าเนินโครงการ
๔. ด าเนินงานตาม เพื่อด าเนินงานตาม ประชาชนพื้นที่ ๕ ๒๖๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ – ๑๐๖,๔๐๐-
โครงการ โครงการ จังหวัดชายแดนภาคใต ้ ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔

๕.นิเทศ ติดตามผลการ เพื่อนิเทศติดตาม บุคลากร ศฝช.ปัตตาน ี ๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –
ด าเนินงาน และประเมินผลการ ชายแดนภาคใต ้ ก.ย.๖๔

ด าเนินงาน






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๘

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ


๖.สรุปและรายงาน เพื่อสรุปและ บุคลากร ศฝช. ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
ผลการด าเนินงาน รายงานผลการ ปัตตาน ี

ด าเนินงาน


๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ

แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการ





การศกษานอกระบบ กิจกรรมการจดการศกษานอกระบบ (งบดาเนินงาน) เป็นเงินจานวน ๑๐๖,๔๐๐บาท
(เงินหนึ่งแสนหกพันสี่ร้อยบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้

๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าใช้สอย และค่าวัสด เป็นเงิน ๕๓,๒๐๐ บาท
รวมเป็นเงิน ๑๐๖,๔๐๐บาท
ี่
หมายเหตุ : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจ่ายจริง

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)
๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ - ๕๓,๒๐๐- ๕๓,๒๐๐- -
๔. ด าเนินงานตามโครงการ

๕.นิเทศ ตดตามผลการ
ด าเนินงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน


๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายอนุรักษ์ จินตรา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

๑๐. เครือข่าย

10.1 องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้
10.2 ผู้น าชุมชน/ภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้
10.3 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต ้









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๔๙

๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.๒ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๑๑.๓ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย


๑๑.๔ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนชายแดนใตส ู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน

๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)

ุ่

ี่
กลมเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีสวนร่วมในการพัฒนาชมชนของตนเอง เป็นพลเมืองทด ี
ตลอดจนการสร้างจิตส านึกในการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
๑๓.๑ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
๑๓.๒ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง


เป็นพลเมืองที่ดีตลอดจนการสร้างจิตส านึกในการอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข

๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ

๑๔.๑ แบบทดสอบ
๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ

๑๔.๓ รายงานผลการด าเนินงานโครงการ


ลงชื่อ..อนุรักษ์ จินตรา....ผู้ขออนุมัติโครงการ ลงชื่อ...อิบราเหม เด็นมูณี....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
(นายอนุรักษ์ จินตรา) (นายอิบราเหม เด็นมูณี)

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมปฏิบัติการ





ลงชื่อ....วิลาสินี เดชด านิล......ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ.....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์
(นางวิลาสินี เดชด านิล) (นางสาวณัฐทินี ศรประสิทธิ์)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน รองผู้อ านวยการ




ลงชื่อ....วิเชียร โชติช่วง.....ผู้อนุมัติโครงการ
(นายวิเชียร โชตช่วง)

ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๐

โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


๑.ชื่อโครงการ : โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๒. ความสอดคล้องกับนโยบาย

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔
นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

ข้อ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลาย

ทางความคิดและอุดมการณ ์

๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่

ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ
ข้อ ๓ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์


ี่
๓.๓ สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน





สามารถได้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน

ั้
๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่าย ทง


ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์



ั้



๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ
บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผู้รับบริการ


๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทงภาครัฐ

ั้
เอกชน ประชาสงคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ร่วมทงสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชมชน

ั้








เพื่อสร้างความเขาใจ และให้เกิดความร่วมมือในการสงเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
ภารกิจต่อเนื่อง
ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
๑.๓ การศึกษาต่อเนื่อง


๔) การจดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรู้ตลอด



ชวิตในรูปแบบตางๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคมกัน สามารถยืนหยัดอยู่ไดอย่างมั่นคง และมีการ

ุ้
บริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดลและยั่งยืน

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๑

ู้




ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ
คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
ู้

ประเดนพิจารณา ๑.๒ ผเรียนการศกษาตอเนื่องสามารถน าความรู้ทไดรับไปประยุกตใชบนฐาน
ี่





ค่านิยมร่วมของสังคม


ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบการศกษาหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นท ี่
ี่

ู้




ประจักษ์หรือตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

๓. หลักการและเหตุผล

ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทย





อย่างมากในทกดาน ไม่ว่าจะเป็นดานเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สงคมและสงแวดลอม แตกระบวนการ

ิ่

เปลยนแปลงไดสงผลให้สงคมเกิดความอ่อนแอในหลายดาน “เศรษฐกจพอเพียง” เป็นปรัชญาท ี่




ี่


พระบาทสมเดจพระเจาอยู่หัวพระราชทานพระราชดาริชแนะแนวทางการดาเนินชวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมา
ี้



โดยตลอดนานกว่า ๒๕ ซึ่งเป็นแนวการด ารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับครอบครัว


ระดบชมชน จนถึงระดบรัฐ ทงในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ

ั้



พัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทนตอโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี



ี่

เหตผล รวมถึงความจาเป็นทจะตองมีระบบภูมิคมกันในตวทดพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
ี่


ุ้
เปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งใน
การน าวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการด าเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้าง

ี่
พื้นฐานจตใจของคนในชาต โดยเฉพาะเจาหน้าทของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทกระดบ ให้มีสานึกใน





ี่


คณธรรม ความซื่อสตย์สจริต และให้มีความรอบรู้ทเหมาะสม ดาเนินชวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสต ิ




ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างด ี








ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดเลงเห็นความสาคญดงกลาว จง


ุ่
ด าเนินการจัดโครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลมเป้าหมายมี



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๒


ความรู้ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถดารงชวิตอยู่ในสงคมตามหลกปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงได ้



อย่างมีความสุข

๔. วัตถุประสงค์




เพื่อให้กลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถดารงชวิตบนพื้นฐานตามหลก
ุ่
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข

๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
ประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวน ๔๔๔ คน

๕.๒ เชิงคุณภาพ
ุ่


กลมเป้าหมายมีความรู้ความเขาใจ เกิดทักษะ และสามารถดารงชีวิตบนพื้นฐานตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข

๖. วิธีการด าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ


๑. ส ารวจความ เพื่อส ารวจความ ประชาชนในพื้นที่ ๕ ๔๔๔ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค. ๖๓
ต้องการ ต้องการของ จังหวัดชายแดน ชายแดนภาคใต ้
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ภาคใต ้


๒. ประชุมวางแผน เพื่อประชุมวาง บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
การด าเนินงาน แผนการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินงาน

๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนุมัติ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ งบประมาณในการ ศฝช.ปัตตาน ี

ด าเนินโครงการ

๔. ด าเนินงานตาม เพื่อด าเนินงานตาม ประชาชนพื้นที่ ๕ ๔๔๔ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ – ๑๗๗,๖๐๐-
โครงการ โครงการ จังหวัดชายแดน ชายแดนภาคใต ้ มี.ค. ๖๔
ภาคใต ้

๕.นิเทศ ตดตามผล เพื่อนิเทศตดตาม บุคลากร ๖ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด ต.ค.๖๓ –


การด าเนินงาน และประเมินผล ศฝช.ปัตตาน ี ชายแดนภาคใต ้ ก.ย. ๖๔
การด าเนินงาน


๖.สรุปและรายงาน เพื่อสรุปและ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
ผลการด าเนินงาน รายงานผลการ ศฝช.ปัตตาน ี
ด าเนินงาน





แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๓

๗. วงเงินงบประมาณโครงการ
ี่
ู้



แผนงาน : พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสร้างศกยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลตท 4 ผรับบริการ
การศึกษานอกระบบ กิจกรรมการจดการศึกษานอกระบบ (งบด าเนินงาน) เป็นเงิน ๑๗๗,๖๐๐บาท (เงินหนึ่ง

แสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันหกร้อยบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้

๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าใช้สอย และค่าวัสด เป็นเงิน ๑๗๗,๖๐๐บาท
รวมเป็นเงิน ๑๗๗,๖๐๐บาท
ี่

หมายเหตุ : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจายจริง

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)

๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ - ๘๘,๘๐๐- ๘๘,๘๐๐- -
๔. ด าเนินงานตามโครงการ

๕.นิเทศ ตดตามผลการ
ด าเนินงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน


๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
นายอนุรักษ์ จินตรา ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน

๑๐. เครือข่าย

๑๐.๑ สถานีพัฒนาที่ดิน ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้
๑๐.๒ ส านักงานเกษตรอ าเภอ ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้
๑๐.๓ ส านักงานปศุสัตว์อ าเภอในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้

๑๐.๔ องค์การบริหารส่วนต าบล ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนใต ้

1๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.๒ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๑๑.๓ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

๑๑.๔ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนชายแดนใตส ู่

การพัฒนาที่ยั่งยืน







แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๔

1๒. ผลลัพธ์ (Out come)

ุ่
กลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทักษะ และสามารถดารงชีวิตบนพื้นฐานตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข

1๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
1๓.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)

ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)


ร้อยละ ๘๐ ของกลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถดารงชวิตบนพื้นฐาน

ุ่
ตามหลักปรัชญาชองเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข

๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ
๑๔.๑ แบบทดสอบ

๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ
๑๔.๓ รายงานผลการด าเนินงานโครงการ


ลงชื่อ..อนุรักษ์ จินตรา....ผู้ขออนุมัติโครงการ
(นายอนุรักษ์ จินตรา)

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน



ลงชื่อ...อิบราเหม เด็นมูณี...ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
(นายอิบราเหม เด็นมูณี)

ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมปฏบัติการ



ลงชื่อ...วิลาสินี เดชด านิล....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ

(นางวิลาสินี เดชด านิล)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน


ลงชื่อ..ณัฐทินี ศรประสิทธ....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์


(นางสาวณฐทินี ศรประสทธิ์)
รองผู้อ านวยการ


ลงชื่อ...วิเชียร โชติช่วง...ผู้อนุมัติโครงการ

(นายวิเชียร โชตช่วง)
ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๕

โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

1. ชื่อโครงการ : โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๒. สอดคล้องกับนโยบาย
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลาย
ทางความคิดและอุดมการณ ์

๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่

ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์


๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ

ั้




บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผรับบริการ
ู้


๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทงภาครัฐ
ั้






เอกชน ประชาสงคม และองคกรปกครองสวนทองถิ่น ร่วมทงสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนร่วมของชมชน


ั้

เพื่อสร้างความเขาใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ
ประชาชนอย่างมีคุณภาพ

3.6 พัฒนาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาและประชาชนทั่วไป ดานความรู้ความเข้าใจและ

ทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจทัล (Digtal Literacy)
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
6.1 การพัฒนาบุคลากร
ี่


5) พัฒนาศกยภาพบุคลากรทรับผดชอบการบริการการศกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้

ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ั้
4) สงเสริมให้มีการจดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศกษาทกระดบ รวมทงการศกษา






ี่

วิจัยเพื่อสามารถน าไปใชในการพัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานทสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

และชุมชน พร้อมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแข่งขันของหน่วยงานและสถานศึกษา
สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริการจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้



แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๖

3. หลักการและเหตุผล

ี่


การพัฒนาคณภาพการศกษาเป็นกระบวนการเปลยนแปลง ปรับปรุง หรือพัฒนาการจดการศกษา

เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามที่คาดหวัง ซึ่งเป็นการด าเนินการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการด าเนินการ
จัดกิจกรรม (activities) และกระบวนการ (processes) เรียนรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนหรือผู้รับบริการ


ู้



สถานศกษาและผเกี่ยวข้อง สอดคลองกับพระราชบัญญัติการศกษาแหงชาต พ.ศ. 2542 ไดมุ่งเน้นการขยาย




โอกาสทางการศกษาเพื่อให้ประชาชนไดรับการศกษาอย่างทวถึงและมีแนวคดเรื่องการพัฒนาคณภาพ


ั่
การศึกษาในทุกระดับ








หัวใจสาคญในการพัฒนาคณภาพการศกษาคอการออกแบบหลกสตร วิธีจดการเรียนการสอน และ


วิธีการวัดผลประเมินผลให้สอดคลองกับวิสยทศน์และเจตนารมณของสถานศกษา ซึ่งตองตอบสนองตอสภาพ





ปัญหา ความจ าเป็น และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ รวมทั้งการฝึกอบรมและพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการด าเนินงาน



ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี เป็นสถานศกษาในสงกัดสานักงาน




ี่

ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศย มีบทบาทหน้าทจดการศกษาและฝึกอบรมดานอาชพ





ให้สอดคลองกับสภาพปัญหา ความจาเป็นและความตองการของประชาชนบริเวณชายแดน เป็นศนย์สาธิต




ื่
ทดลอง วิจย พัฒนาบุคลากร พัฒนาหลกสตร สอ รูปแบบการเรียนการสอนดานอาชพทเหมาะสม ตลอดจน



ี่
ส่งเสริม สนับสนุนด้านการจัดการศึกษาด้านอาชีพกับภาคเครือข่าย จึงจัดท าโครงการพัฒนาคุณภาพการศกษา



เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการจัดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยให้กับกลมเป้าหมาย



ุ่






ในพื้นทรับผดชอบ 5 จงหวัดชายแดนภาคใตสามารถพัฒนาคณภาพชวิตและอยู่ร่วมกันในสงคมไดอย่างมี

ี่
ความสุข

4. วัตถุประสงค์

4.1 เพื่อพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเขาใจ และเกิดทกษะด้านการวิจัย การ

พัฒนาหลักสูตร และการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนออนไลน์
ุ่
4.2.เพื่ออบรมให้ความรู้ความเข้าใจ และขยายผลแกนน าดานเกษตรธรรมชาตแก่กลมเป้าหมายส ู่


ความยั่งยืนครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ



4.3 เพื่อพัฒนาฐานเรียนรู้ดานอาชพตามหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในสถานศกษา เป็น

แหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพที่มีคุณภาพ
4.4 เพื่อสงเสริม สนับสนุนและพัฒนาการจดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยให้กับ





กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่รับผิดชอบ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตและอยู่ร่วมกันในสังคม
ได้อย่างมีความสุข



ี่
4.5 เพื่อน าความรู้ และทกษะทไดรับมาประยุกตใชในการพัฒนาการดาเนินการการจดกระบวนการ



เรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพแก่กลุ่มเป้าหมาย









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๗

5. เป้าหมาย (Output)

5.1 เชิงปริมาณ
1) ครูและบุคลากรทางการศึกษาของ ศฝช.ปัตตานี จ านวน 30 คน
1.1 ข้าราชการครู จ านวน 6 คน

1.2 พนักงานราชการ จ านวน 20 คน
1.3 ครูประจ ากลุ่ม ปวช. จ านวน 4 คน

2) ฐานเรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จ านวน 10 ฐานเรียนรู้

3) แกนน าด้านเกษตรธรรมชาต จ านวน 35 คน
3.1 ผู้บริหาร กศน.อ าเภอ14 อ าเภอ จ านวน 14 คน

3.2 ครู กศน.ต าบล 14 ตาบล จ านวน 14 คน

3.3 บุคลากร ศฝช.ปัตตานี และผเกี่ยวข้อง จ านวน 7 คน
ู้
(หมายเหตุ : 7 จังหวัดๆละ 2 อ าเภอ ประกอบด้วย ปัตตานี ยะลา นราธวาส สงขลา สตูล พัทลุง และตรัง)

5.2 เชิงคุณภาพ

1) กลมเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถน าความรู้ทไดรับมาประยุกตใชใน


ุ่
ี่

การพัฒนาการด าเนินการการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ



2) ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี มีฐานเรียนรู้ดานอาชพตามหลก



ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีคุณภาพ และพร้อมให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมาย
ู้

3) ผเข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจ และขยายผลแกนน าดานเกษตรธรรมชาตแก่

กลุ่มเป้าหมายสู่ความยั่งยืนครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบ

๖. วิธีการด าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นท ี่ ระยะเวลา งบประมาณ
ด าเนินการ
๑. ส ารวจความต้องกา เพื่อส ารวจความต้องการของ บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี ต.ค. ๖๓
กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ศฝช.ปัตตาน ี



๒. ประชุมวางแผนการ เพื่อประชุมวางแผนการ บุคลากร ๑๙ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย..๖๓
ด าเนินงาน ด าเนินงาน ศฝช.ปัตตาน ี



๓. เขียนโครงการเพื่อ เพื่อขออนมัติงบประมาณในการ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓
ขออนุมัต ิ ด าเนินโครงการ ศฝช.ปัตตาน ี

๔. ด าเนินงานตาม เพื่อด าเนินงานตามโครงการ บุคลากร ๑๓๓ คน ศฝช.ปัตตาน ี ต.ค.๖๓ – ๖๐๐,๐๐๐-
โครงการ ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย. ๖๔

๕.นิเทศ ติดตามผลการ เพื่อนิเทศติดตามและ บุคลากร ๖ คน ศฝช.ปัตตาน ี ต.ค.๖๓ –
ด าเนินงาน ประเมินผลการด าเนินงาน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย. ๖๔






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๘

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค ์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ


๖.สรุปและรายงาน เพื่อสรุปและ บุคลากร ๑ คน ศฝช.ปัตตาน ี ก.ย.๖๔
ผลการด าเนินงาน รายงานผลการ ศฝช.ปัตตาน ี
ด าเนินงาน




๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 4 ผู้รับบริการ





การศกษานอกระบบ กิจกรรมการจดการศกษานอกระบบ (งบดาเนินงาน) เป็นเงินจานวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท
(เงินหกแสนบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้

๗.๑ ค่าตอบแทนวิทยากร ค่าใช้สอย และค่าวัสด เป็นเงิน ๖๐๐,๐๐๐บาท
รวมเป็นเงิน ๖๐๐,๐๐๐บาท
ี่
หมายเหตุ : ทุกรายการขอถัวจ่ายตามทจ่ายจริง

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลัก ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(ต.ค.-ธ.ค.๖๓) (ม.ค.-มี.ค.๖๔) (เม.ย.-มิ.ย.๖๔) (ก.ค.-ก.ย.๖๔)
๑. ส ารวจความต้องการ
กลุ่มเป้าหมาย
๒. ประชุมวางแผนการ
ด าเนินงาน
๓. เขียนโครงการเพื่อขอ
อนุมัต ิ - ๓๐๐,๐๐๐- ๓๐๐,๐๐๐- -
๔. ด าเนินงานตามโครงการ

๕.นิเทศ ตดตามผลการ

ด าเนนงาน
๖.สรุปและรายงานผลการ
ด าเนินงาน

๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางวิลาสินี เดชด านิล ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน


๑๐. เครือข่าย
10.1 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
10.2 ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกษาปัตตานี










แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๕๙

๑๑. โครงการที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.๒ โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

๑๑.๓ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาศักยภาพประชาชนชายแดนใตส ู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน


๑๒. ผลลัพธ์ (Outcome)

ี่

ุ่
กลมเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทกษะ และสามารถน าความรู้ทไดรับมาประยุกตใชในการ


พัฒนาการด าเนินการการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ

๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
๑๓.๑ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ
ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
๑๓.๒ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ


ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถน าความรู้ที่ไดรับมาประยุกตใช ้
ในการพัฒนาการด าเนินการการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดประสิทธิภาพ

๑๔. การติดตามและประเมินผลโครงการ
๑๔.๑ แบบทดสอบ

๑๔.๒ แบบประเมินความพึงพอใจ

๑๔.๓ รายงานผลการด าเนินงานโครงการ


ลงชื่อ...อนุรักษ์ จินตรา....ผู้ขออนุมัติโครงการ ลงชื่อ...อิบราเหม เด็นมูณี....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
(นายอนุรักษ์ จินตรา) (นายอิบราเหม เด็นมูณี)

ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมปฏิบัติการ






ลงชื่อ..วิลาสินี เดชด านิล...ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์
(นางวิลาสินี เดชด านิล) (นางสาวณัฐทินี ศรประสิทธิ์)
ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน รองผู้อ านวยการ




ลงชื่อ...วิเชียร โชติช่วง....ผู้อนุมัติโครงการ
(นายวิเชียร โชติช่วง)
ผู้อ านวยการศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๐

๔. โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชนชายแดนใต ้

สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการ


บริหารจดการศกษาในจงหวัดชายแดนภาคใต กิจกรรมการพัฒนาการจดการศกษานอกระบบและการศกษา





ตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างความ
มั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (งบรายจ่ายอื่น)
รหัสงบประมาณ : ๒๐๐๐๒๓๕๐๓๖๗๐๐๐๐๑ รหัสกิจกรรมหลัก : ๒๐๐๐๒๙๔๐๐P๒๗๐๓

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นท ี่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)

๑. โครงการประชุม เพื่อประชุม ๑.ปราชญ์ ๒๙๐ คน ศฝช.ปัตตาน ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๑๑๖,๐๗๔-
เพื่อก าหนดแนว ก าหนดแนว ผู้น าเกษตร ของกลุ่ม ๓๐ ก.ย.๖๔
ทางการด าเนินงาน ทางการ ๒.ผู้บริหาร/ เป้าหมายมี
ด าเนินงานด้าน ครู ร.ร.ตชด. แนวทางการ
อาชีพตามหลัก ๓. ครู กศน. ด าเนินงาน
ปรัชญาของ ๔.ครู ศฝช. ด้านอาชีพ
เศรษฐกิจ ปัตตาน ี ตามหลัก
พอเพียง ปรัชญาของ
เศรษฐกิจ
พอเพียง

๒. โครงการอบรม เพื่ออบรมให้ ๑.ปราชญ์ ๒๙๐ คน ศฝช.ปัตตาน ร้อยละ ๘๐ของ มี.ค.๖๔ ๓๘๓,๑๗๔-
เชิงปฏิบัติการการจัด ความรู้และฝึก ผู้น าเกษตร ผู้เข้าร่วมอบรม
กระบวนการเรียนรู้ ปฏิบัตด้าน ๒.ผู้บริหาร/ มีความรู้ และ

ตามหลักปรัชญาของ อาชีพตามหลัก ครู ร.ร.ตชด. สามารถความรู้
เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของ ๓. ครู กศน. น าไปประยุกต ์
เศรษฐกิจ ๔.ครู ศฝช. ในการด าเนิน
พอเพียง และ ปัตตาน ี ชีวิตประจ าวัน
สามารถน าไป ลดรายจ่าย เพิ่ม
ประยุกต์ในการ รายได้แก่ตนเอง
ด าเนิน ครอบครัวและ
ชีวิตประจ าวัน ชุมชน
ลดรายจ่าย เพิ่ม
รายได้แก่ตนเอง
ครอบครัวและ
ชุมชน
๓. โครงการขยายผล เพื่อขยายผลการ ๑ประชาชน ๑,๕๕๐คน พื้นที่ ๕ ร้อยละ ๘๐ ของ ๑ ต.ค.๖๓ – ๘๙๙,๐๐๐-
การการจัด การจัด ในพื้นที่ ๕ จังหวัด กลุ่มเป้าหมายมี ๓๐ ก.ย.๖๔

กระบวนการเรียนรู้ กระบวนการ จังหวัด ชายแดนใต ความรู้ความ
ตามหลักปรัชญาของ เรียนรู้ตามหลัก ชายแดนใต ้ เข้าใจและเกิด
เศรษฐกิจพอเพียง ปรัชญาของ ๒.นักเรียน/ ทักษะด้าน
เศรษฐกิจ ผู้ปกครอง อาชีพตามหลัก
พอเพียง ร.ร.ตชด. ปรัชญาของ
เศรษฐกิจ
พอเพียง





แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๑

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)
๔.โครงการพัฒนา เพื่อพัฒนา ๑.ศูนย ์ ๑๙ แห่ง ๕ จังหวัด ร้อยละ ๘๐ มี ๑ ต.ค.๖๓ – ๒,๕๐๐,๐๐๐-

แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ เรียนรู้ ชายแดนใต แหล่งเรียนรู้ ๓๐ ก.ย.๖๔
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจ เกษตร ด้านอาชีพตาม
ในระดับพื้นที่ พอเพียงใน ธรรมชาต ิ หลักปรัชญา
ระดับพื้นที่ ๒.แหล่ง ๑๙๐ ของเศรษฐกิจ
เรียนรู้ของ แห่ง พอเพียงใน
ปราชญ์ฯ ระดับพื้นที่
๓.แหล่ง ๑๗ แห่ง
เรียนรู้ ร.ร.
ตชด.
๔.แหล่ง ๑๙ แห่ง
เรียนรู้ กศน.
ต าบล
๕.แหล่ง ๑๙ แห่ง
เรียนรู้ใน
สถาบัน
ปอเนาะ
๖.แหล่ง ๕ แห่ง
เรียนรู้
เครือข่าย
๗.แหล่ง ๑ แห่ง
เรียนรู้
ศาสตร์
พระราชา
ศฝช.ปัตตาน ี
๕.โครงการอบรม เพื่อให้ ๑.ปราชญ ์ ๓๘๐ คน แหล่งเรียนรู้ ร้อยละ ๘๐ เม.ย-ส.ค. ๘๓๒,๐๐๐-
แลกเปลี่ยน กลุ่มเป้าหมาย ผู้น าเกษตร ด้านอาชีพ ของ ๖๔
ประสบการณ์ด้าน มีการ ๒.ประชาชน ตามหลัก กลุ่มเป้าหมาย
อาชีพที่ประสบ แลกเปลี่ยน ใน ๕ ปรัชญาของ มีความรู้ความ
ผลส าเร็จนอกพื้นที่ ประสบการณ์ จังหวัด เศรษฐกิจ เข้าใจและเกิด
ด้านอาชีพตาม ชายแดนใต ้ พอเพียงที่ การ
หลักปรัชญา ๓.ครู ศฝช. ประสบ แลกเปลี่ยน
ของเศรษฐกิจ ปัตตาน ี ผลส าเร็จ ประสบการณ์
พอเพียงที่ นอกพื้นที่ ด้านอาชีพตาม
ประสบ หลักปรัชญา
ผลส าเร็จนอก ของเศรษฐกิจ
พื้นที่ พอเพียงที่
ประสบ
ผลส าเร็จนอก
พื้นที่




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๒

โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ์ กลุ่ม เป้าหมาย พื้นที่ ตัวชี้วัด ระยะเวลา งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) ด าเนินการ (บาท)
๖.จัดท าสื่อ เอกสาร เพื่อจัดท าสื่อ ประชาชนใน ๑,๕๐๐ ๕ จังหวัด ร้อยละ ๘๐ มี ส.ค.๖๔ ๑๕๐,๐๐๐-

ประกอบการจัด เอกสาร ๕ จังหวัด ชุด ชายแดนใต สื่อ เอกสาร
กระบวนการเรียนรู้ ประกอบการ ชายแดนใต ้ ประกอบการ
จัด จัด
กระบวนการ กระบวนการ
เรียนรู้ เรียนรู้
๗. โครงการ เพื่อส่งเสริม ประชาชนใน ๕๐๐ คน ศฝช.ปัตตาน ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๘๐๑,๔๕๒-

มหกรรมวิชาการ และร่วม ๕ จังหวัด ของ ๓๐ ก.ย.๖๔
“เปิดบ้านเรียนรู้ แลกเปลี่ยน ชายแดนใต ้ กลุ่มเป้าหมาย
อาชีพ ฯ” ประสบการณ์ มีความรู้และ
ด้านอาชีพตาม เกิดทักษะด้าน
หลักปรัชญา อาชีพตามหลัก
ของเศรษฐกิจ ปรัชญาของ
พอเพียง เศรษฐกิจ
พอเพียง
๘. โครงการ เพื่อประกวด แหล่งเรียนรู้ ๓๒๐ ๕ จังหวัด ร้อยละ ๘๐ ส.ค.๖๔ ๕๐,๐๐๐-

ประกวดแหล่ง แหล่งเรียนรู้ ด้านอาชีพ แห่ง ชายแดนใต ของมีแหล่ง
เรียนรู้ต้นแบบ ต้นแบบ ตามหลัก เรียนรู้ด้าน
ปรัชญาของ อาชีพตามหลัก
เศรษฐกิจ ปรัชญาของ
พอเพียง เศรษฐกิจ

พอเพยง
ต้นแบบ
๙. นิเทศ ติดตาม เพื่อนิเทศ กลุ่ม - ๕ จังหวัด ร้อยละ ๘๐ ๑ ต.ค.๖๓ – ๗๙,๔๐๐-
ผลการด าเนินงาน ติดตามผลการ เป้าหมาย ชายแดนใต ของ ๓๐ ก.ย.๖๔

ด าเนินงาน ในการ กลุ่มเป้าหมาย
ด าเนิน มีการปรับปรง
โครงการทุก และพัฒนาผล
โครงการ การด าเนินงาน
ให้เกิด
ประสิทธิภาพ
















แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๓

โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชน
ชายแดนใต้สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน


1. ชื่อโครงการ : โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างศักยภาพประชาชน
ู่

ชายแดนใตสการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. ความสอดคล้องกับนโยบาย
ยุทธศาสตร์ชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การรักษาความสงบ ภายในประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาต ิ
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคงประเด็นยุทธศาสตร์ 1 การรักษาความสงบ ภายในประเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
แผนปฏิรูปประเทศ




ด้านข้อ 9 สังคม (คนไทยมีหลักประกันทางรายไดที่พอเพียงต่อการดารงชีวิตอย่างมีคณภาพ



ู่
ชวิตอย่างมีคณภาพ ปรับเปลยนพฤตกรรมไปสการมีจตสาธารณะเพิ่มขึ้น สงคมแห่งโอกาสและไม่แบ่งแยก


ี่




ภาครัฐมีข้อมูลและสารสนเทศดานสงคมทบูรณาการ และใชชมชนทองถิ่นมีความเข้มแข็งสามารถบริหาร

ี่
จัดการชุมชนได้ด้วยตนเอง

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์แนวทางพัฒนา ข้อ 3.2 พัฒนา

ทักษะคนให้มีทักษะความรู้ และความสามารถในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณคา
แผนความมั่นคง
เพื่อเสริมสร้างและสนับสนุนการสร้างความปรองดอง ความเป็นธรรม และความสมานฉันท ์
ในชาติ เพื่อลดการเผชิญหน้า และการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ
นโยบายรัฐบาล
นโยบายหลัก
เพื่อให้จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความปลอดภัย สงบสันติมีความไว้เนื้อเชื่อใจต่อกัน ปราศจากเงื่อนไข

ที่เอื้อต่อการใชความรุนแรงจากทุกฝ่าย
นโยบายเร่งด่วน
- การยึดมั่นในหลักการแก้ไขปัญหา โดยใช้แนวทางสันติวิธี ด้วยการแปรเปลยนความขดแย้ง

ี่
จากการใช้แนวทางรุนแรงมาเลือกใช้แนวทางสันติวิธี
- การใช้กระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง

- การบริหารจัดการบนพื้นฐานของสังคมพหุวัฒนธรรมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นท ี่

- การยึดมั่นในหลกสทธิมนุษยชน หลกนิตรัฐ นิตธรรม ตระหนักและเคารพในกติการะหว่าง




ประเทศ




แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๔

ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ของส านักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพ

แผนงานยุทธศาสตร ์
แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงวัย
แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา

แผนงานบูรณาการ
แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต ้

สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการด าเนินงาน ส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ ๒๕๖๔
นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ ๑ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๑.๒ เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมถูกต้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความหลากหลาย
ทางความคิดและอุดมการณ ์


๑.๓ ส่งเสริมและสนับสนุนการจดการศึกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่
ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ
ข้อ ๓ ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์

๓.๓ สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน
ี่






สามารถได้เรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากหลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน

ั้


๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่าย ทง
ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ให้กับประชาชนอย่างมีคณภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๓.๒ พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัย เหมาะสมกับ
ั้






บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้อการของประชาชนผู้รับบริการ

๓.๔ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทง

ั้

ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ร่วมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๕

3. หลักการและเหตุผล


การดาเนินโครงการน้อมน าหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นท ี่
จังหวัดชายแดนใต้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 1 ความมั่นคง สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
ี่

ี่

สงคมแห่งชาต ฉบับท 12 ( พ.ศ. 2560 – 2565) ยุทธศาสตร์ท 5 เสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาตเพื่อ

พัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ ยุทธศาสตร์

ี่


ิ่

ี่
ท 5 ยุทธศาสตร์การจดการศกษา เพื่อเสริมสร้างคณภาพชวิตทเป็นมิตรกับสงแวดลอม สอดคลองกับ


ยุทธศาสตร์สานักงานปลดกระทรวงศกษาธิการ ยุทธศาสตร์ท 1 พัฒนาการจดการศกษาเพื่อความมั่นคง








สอดคลองนโยบายและจดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ยุทธศาสตร์







ดานความมั่นคง ข้อ 1 พัฒนาการจดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศย ในเขตพัฒนาพิเศษ

เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนใต้ โดยบูรณาการแผนและปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานความมั่นคงในพื้นท ี่


เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการด ารงอยู่และปฏิบัตตนของประชาชนในทุกระดบ ตั้งแต ่
ระดบครอบครัว ระดบชมชนจนถึงระดบรัฐทงในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง


ั้





โดยเฉพาะ การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อก้าวทนตอโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอ


ี่

ประมาน ความมีเหตผล รวมถึงความจาเป็นทจะตองมีระบบภูมิคมกันในตวทดพอสมควรตอการมีผลกระทบ
ี่


ุ้

ั้
ใดๆ อันเกิดจากการเปลยนแปลง ทงภายนอกและภายใน ทงนี้จะตองอาศย ความรอบรู้ ความรอบคอบ และ

ี่

ั้
ความระมัดระวังอย่างยิ่งในการน าวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดาเนินการทกขั้นตอน และ




ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าทของรัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจ
ี่






ี่


ในทกระดบให้มีความสานึกในคณธรรม ความซื่อสตย์สจริต และให้มีความรอบรู้ทเหมาะสม ดาเนินชวิตดวย


ความอดทน ความเพียร มีสต ปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดลและพร้อม ตอการรองรับการ



ิ่

ี่
ั้

เปลยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทงดานวัตถุ สงคม สงแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได ้
เป็นอย่างด ี





ศนย์ฝกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดนปัตตานี ไดน้อมน าหลกปรัชญาของเศรษฐกิจ


ี่
พอเพียงเป็นปรัชญาในการดาเนินงานตามแนวทางพระราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ทพระบาทสมเด็จ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท 9) ไดทรงพระราชทานให้กับ
ี่


ประชาชนทกคนเป็นกรอบแนวคดในการดาเนินชวิตตามวิถีชวิตแหงการดารงชพทสมบูรณทยึดทางสายกลาง

ี่





ี่



ของความพอดี

4. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการจดกระบวนการเรียนรู้ให้กลมเปาหมายมีความรู้ความเขาใจและมี


ุ่


ทักษะเกี่ยวกับการด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4.๒ เพื่อให้กลมเป้าหมายสามารถน าความรู้ และทกษะดานอาชพมาประยุกตใชในการดาเนิน




ุ่


ชีวิตประจ าวัน
4.3 เพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๖

5. เป้าหมาย
5.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ
1) ปราชญ์ผู้น าด้านเกษตร จ านวน 190 คน

2) ผู้บริหาร/ครูโรงเรียน ตชด. จ านวน 32 คน
3) ผู้บริหาร/ครู กศน.ต าบล/สถาบันปอเนาะ จ านวน 43 คน
4) นักเรียน/ผู้ปกครอง/ประชาชนพื้นที่ใกล้เคียง โรงเรียน ตชด. จ านวน 350 คน
5) ประชาชน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต จ านวน 850 คน

6) บุคลากร ศฝช.ปัตตานี จ านวน 27 คน
7) แหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพ จ านวน 270 แห่ง
8) สื่อ/เอกสาร จ านวน 1500 ชุด
5.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

กลมเป้าหมายผเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทกษะดานอาชพและมีความ



ุ่
ู้
ู่



ตระหนักในการน้อมน าหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสการดาเนินชวิตเพื่อลดรายจาย เพิ่มรายไดให้แก่


ตัวเอง ครอบครัวและชุมชน

6. วิธีด าเนินการ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
๑. ประชุมเพื่อ เพื่อก าหนดแนว ๑.ปราชญ์ผู้น าด้าน ๑๙๐ คน ศฝช.ปัตตาน ี พ.ย.๖๓ 116,074-
ก าหนดแนว ทางการด าเนินงาน เกษตร
ทางการ ด้านอาชีพตามหลัก ๒. ผู้บริหาร/ครู ร.ร. ๓๒ คน
ด าเนินงาน ปรัชญาของ ตชด.
เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ผู้บริหาร/ครู กศน. 43 คน
ต าบล/ครูสถาบัน
ศึกษาปอเนาะ
๔. ครู ศฝช.ปัตตาน ี ๒๕ คน
๒.โครงการ เพื่ออบรมให้ความรู้ ๑.ปราชญ์ผู้น าด้าน ๑๙๐ คน พื้นที่ ๕ จังหวัด มี.ค.๖๔ ๓๘๓,๑๗๔-

อบรมเชิง และฝึกปฏิบัตด้าน เกษตร ชายแดนใต ้
ปฏิบัติการการ อาชีพตามหลัก ๒. ผู้บริหาร/ครู ร.ร. ๓๒ คน
จัด ปรัชญาของ ตชด.
กระบวนการ เศรษฐกิจพอเพียง ๓. ผู้บริหาร/ครู กศน. 43 คน
เรียนรู้ตาม และสามารถน าไป ต าบล/ครูสถาบัน
ประยุกต์ในการ
หลักปรัชญา ด าเนิน ศึกษาปอเนาะ
ของเศรษฐกิจ ชีวิตประจ าวัน ลด ๔. ครู ศฝช.ปัตตาน ี ๒๕ คน
พอเพียง รายจ่าย เพิ่มรายได ้

แก่ตนเอง ครอบครัว
และชุมชน









แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๗

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

๓.ขยายผล - เพื่อขยายผล ๑.ประชาชนใน ๘๕๐ คน พื้นที่ 5 จังหวัด ม.ค.-มิ.ย. ๖๔ 899,000
การจัด การจัด พื้นที่ ๕ จังหวัด ชายแดนภาคใต ้
กระบวนการ กระบวนการ ชายแดนภาคใต้
เรียนรู้ด้าน เรียนรู้ด้าน ๒. นักเรียน/ ๓๕๐ คน
อาชีพตาม อาชีพตามหลัก ผู้ปกครอง/
หลักปรัชญา ปรัชญาของ ประชาชนพื้นที่
ของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ ใกล้เคียง ร.ร.
พอเพียง พอเพียงใน ตชด.
ระดับพื้นที่

๔. พัฒนา - เพื่อพัฒนา ๑.ศูนย์เรียนรู้ ๑๙ แห่ง พื้นที่ 5 จังหวัด ม.ค.-มิ.ย. ๖๔ 2,500,000

แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ เกษตรธรรมชาต ชายแดนภาคใต ้
ด้านอาชีพ ด้านอาชีพตาม ๒.แหล่งเรียนรู้ ๑๙๐แห่ง
ตามหลัก หลักปรัชญา ของปราชญ์ผู้น า
ปรัชญาของ ของเศรษฐกิจ ด้านเกษตร
เศรษฐกิจ พอเพียงใน ๓.แหล่งเรียนรู้ ๑๗ แห่ง
พอเพียง ระดับพื้นที่ ของ ร.ร.ตชด.

๔.แหล่งเรียนรู้ ๑๙ แห่ง
กศน.ต าบล
๕.แหล่งเรียนรู้ ๑๙ แห่ง
ในสถาบัน
ปอเนาะ
๖.แหล่งเรียนรู้ ๕ แห่ง
ภาคีเครือข่าย
๗.แหล่งเรียนรู้ ๑ แห่ง
ศาสตร์พระราชา

ศฝช.ปัตตานี

๕. อบรม เพื่ออบรม ๑.ปราชญ์ผู้น า ๙๕ คน แหล่งเรียนรู้ที่ เม.ย-ส.ค. ๖๔ 832,000
แลกเปลี่ยน แลกเปลี่ยน ด้านเกษตร ประสบผลส าเร็จ
เรียนรู้ เรียนรู้ ๒.ประชาชนใน ๒๖๐ คน นอกพื้นที่
ประสบการณ์ ประสบการณ์ พื้นที่ ๕ จังหวัด

ด้านอาชีพ ด้านอาชีพตาม ชายแดนภาคใต้
ตามหลัก หลักปรัชญา ๓.ครู ศฝช. ๒๕ คน
ปรัชญาของ ของเศรษฐกิจ ปัตตานี
เศรษฐกิจ พอเพียงที่
พอเพียงที่ ประสบ
ประสบ ผลส าเร็จนอก
ผลส าเร็จนอก พื้นที่
พื้นที่





แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๘

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

๖. จัดท าสื่อ เพื่อจัดท าและ สื่อ เอกสาร 1,500 ชุด พื้นที่ 5 จังหวัด ส.ค. ๖๔ 150,000
เอกสาร เผยแพร่สื่อ การจัด ชายแดนภาคใต ้
ประกอบการ เอกสาร กระบวนการ

จัด ประกอบการ เรียนรู้
กระบวนการ จัด
เรียนรู้ด้าน กระบวนการ
อาชีพตาม เรียนรู้ด้าน
หลักปรัชญา อาชีพตามหลัก
ของเศรษฐกิจ ปรัชญาของ
พอเพียง เศรษฐกิจ
พอเพียง
๗. มหกรรม ๑.เพื่อให้ ประชาชน ๕๐0 คน ศฝช.ปัตตาน ี ม.ค.-ส.ค.๖๔ 801,452

วิชาการ "เปิด กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่ ๕
บ้าน เรียนรู้ มีความรู้ความ จังหวัด
อาชีพตาม เข้าใจและเกิด ชายแดน
หลักปรัชญา ทักษะด้าน ภาคใต

ของเศรษฐกิจ อาชีพตามหลัก
พอเพียงกับ ปรัชญาของ
ศฝช. เศรษฐกิจ


ปัตตาน” พอเพียง
๒.เพื่อให้
กลุ่มเป้าหมาย
ร่วม
แลกเปลี่ยน
เรียนรู้
ประสบการณ์
ตรงด้านอาชีพ
กับผู้น าปราชญ ์

ด้านเกษตร
ตัวอย่าง















แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๖๙

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

๘. ประกวด -เพื่อประกวด ๑.ศูนย์เรียนรู้ ๑๙ แห่ง ศฝช.ปัตตาน ี ส.ค. ๖๔ 50,000
แหล่งเรียนรู้ และยกย่อง เกษตร
ต้นแบบ แหล่งเรียนรู้ ธรรมชาต ิ
๒.แหล่งเรียนรู้ ๑๙๐ แห่ง
ของปราชญ ์
ผู้น าด้าน
เกษตร
๓.แหล่งเรียนรู้ ๑๗ แห่ง
ของ ร.ร.ตชด.

๔.แหล่งเรียนรู้ ๑๙ แห่ง
กศน.ต าบล
๕.แหล่งเรียนรู้ ๑๙ แห่ง
ในสถาบัน
ปอเนาะ
๖.แหล่งเรียนรู้ ๕ แห่ง
ภาคีเครือข่าย

๗.แหล่งเรียนรู้ ๑ แห่ง
ศาสตร์
พระราชา
ศฝช.ปัตตานี
๙. นิเทศ เพื่อนิเทศ ครู ศฝช. ๑๐ คน พื้นที่ 5 จังหวัด ก.ย. ๖๔ 79,400
ติดตาม ติดตาม ปัตตานี/ ชายแดนภาคใต ้
บริหาร บริหาร ผู้เกี่ยวข้อง
จัดการและ จัดการ
สรุปผลการ และสรุปผล

ด าเนินงาน การ
ด าเนินงาน

7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
แผนงาน : ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการ
บริหารจดการศกษาใน จงหวัดชายแดนใต กิจกรรมการพัฒนาการจดการศกษานอกระบบและการศกษาตาม







อัธยาศัยในจังหวัดชายแดนใต้ โครงการน้อม น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงใน
พื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ (งบรายจ่ายอื่น) จ านวนเงิน 5,811,10๐ บาท (เงินห้าล้านแปดแสนหนึ่งหมื่นหนึ่งพัน
หนึ่งร้อยบาทถ้วน) โดยมีรายละเอียดดังนี้
7.1 ประชุมเพื่อก าหนดแนวทางการด าเนินงาน
1) ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 290 คน จานวน 1 มื้อๆละ 120 บาท เป็นเงิน 34,800 บาท

2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 290 คน จ านวน 2 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 20,300 บาท

3) ค่าพาหนะ เป็นเงิน 30,974 บาท






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๗๐

4) ค่าวัสด ุ เป็นเงิน 30,000 บาท
รวมเป็นเงิน 116,074 บาท


7.2 อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจพอเพียง


1) ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 290 คน จานวน 3 มื้อๆละ 120 บาท เป็นเงิน 104,400 บาท
2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 290 คน จ านวน 4 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 40,600 บาท


3) ค่าที่พัก จ านวน 290 คน จานวน 1 คืนๆละ 500 บาท เป็นเงิน 145,000 บาท
4) ค่าวัสด ุ เป็นเงิน 55,000 บาท
5) ค่าพาหนะ เป็นเงิน 30,974 บาท
6) ค่าวัสด ุ เป็นเงิน 7,200 บาท
รวมเป็นเงิน 383,174 บาท


7.๓ ขยายผลการจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1) ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 1,200 คน จ านวน 2 มื้อๆละ 120บาท เป็นเงิน 288,000 บาท
2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 1,200 คน จ านวน 4 มื้อๆละ 35 บาท

เป็นเงิน 168,000 บาท

3) ค่าวัสด เป็นเงิน 443,000 บาท
รวมเป็นเงิน 899,000 บาท

7.๔ พัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


1) ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาต จ านวน 19 แห่งๆละ 10,000 บาท เป็นเงิน 190,000 บาท
2) แหล่งเรียนรู้ของปราชญ์ผู้น าเกษตร จานวน 190 แห่งๆละ 6,000 บาท

เป็นเงิน 1,140,000 บาท
3) แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน จ านวน 16 โรงๆละ 10,000 บาท
เป็นเงิน 160,000 บาท
4) แหล่งเรียนรู้ใน กศน.ต าบล/สถานศึกษาปอเนาะจ านวน 38 แห่งๆละ 6,000 บาท
เป็นเงิน 228,000 บาท
5) แหล่งเรียนรู้ภาคีเครือข่าย จ านวน 5 แห่งๆละ 6,000 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท
6) แหล่งเรียนรู้ศาสตร์พระราชาของ ศฝช.ปัตตานี เป็นเงิน 752,000 บาท

รวมเป็นเงิน 2,500,000 บาท


7.๕ อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรประสบการณ์ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ประสบ
ู้
ผลส าเร็จนอกพื้นที่

1) ค่าอาหารกลางวัน จ านวน 380 คน จานวน 3 มื้อๆละ 120 บาท เป็นเงิน 136,800 บาท

2) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 380 คน จ านวน 4 มื้อๆละ 35 บาท เป็นเงิน 53,200 บาท
3) ค่าที่พัก จ านวน 380 คนๆละ 500 บาท จ านวน 1 คืน เป็นเงิน 190,000 บาท

4) ค่าพาหนะ เป็นเงิน 304,000 บาท
5) ค่าตอบแทนวิทยากร เป็นเงิน 72,000 บาท

6) ค่าวัสด เป็นเงิน 76,000 บาท
รวมเป็นเงิน 832,000 บาท





แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๗๑

ู้



7.๖ จัดท าสื่อ เอกสารประกอบการจัดกระบวนการเรยนรดานอาชีพตามหลักปรชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

1) ค่าวัสด เป็นเงิน 150,00 บาท
รวมเป็นเงิน 150,000 บาท

7.๗ มหกรรมวิชาการ "เปิดบ้าน เรียนรู้อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับ ศฝช.
ปัตตานี"


1) ค่าใชสอยและคาวัสด เป็นเงิน 801,452 บาท

รวมเป็นเงิน 801,452 บาท

7.๘ ประกวดแหล่งเรียนรู้ต้นแบบ

1) ค่าวัสด เป็นเงิน 50,000 บาท
รวมเป็นเงิน 50,000 บาท




7.๙ นิเทศติดตาม บริหารจดการและสรุปผลการด าเนินงาน

1) คาใชสอย และค่าวัสด เป็นเงิน 79,400 บาท



รวมเป็นเงิน 79,400 บาท
รวมเป็นเงิน ๕,๘๑๑,๑๐๐ บาท
หมายเหตุ ทุกรายการขอถัวจ่ายเท่าที่จ่ายจริง


8. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
กิจกรรมหลัก
(ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.–มี.ค.64) (เม.ย.–มิ.ย.64) (ก.ค.–ก.ย. 64)

๑. ประชุมเพื่อก าหนดแนว 116,074 - - -
ทางการด าเนินงาน
๒. อบรมเชิงปฏิบัติการการ - 191,587 191,587 -
จัดกระบวนการเรียนรู้ตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
๓.ขยายผลการจัด - 449,500 449,500 -
กระบวนการเรียนรู้ด้าน

อาชีพตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

๔. พัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน - 1,250,000 1,250,000 -
อาชีพตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง







แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๗๒

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
กิจกรรมหลัก
(ต.ค.-ธ.ค.63) (ม.ค.–มี.ค.64) (เม.ย.–มิ.ย.64) (ก.ค.–ก.ย.64)
๕. อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - - 416,000 416,000
ประสบการณ์ด้านอาชีพตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงที่ประสบผลส าเร็จ
นอกพื้นที่

๖. จัดท าสื่อ เอกสาร - 75,000 75,000 -
ประกอบการจัด
กระบวนการเรียนรู้ด้าน
อาชีพตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
๗. มหกรรมวิชาการ "เปิด 200,363 200,363 200,363 200,363
บ้าน เรียนรู้อาชีพตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงกับ ศฝช.ปัตตานี"
๘. ประกวดแหล่งเรียนรู้ - - - 50,000
ต้นแบบ
๙. นิเทศติดตาม บริหาร 19,850 19,850 19,850 19,850
จัดการและสรุปผลการ
ด าเนินงาน


9. ผู้รับผิดชอบโครงการ

นางสาวเพ็ญนิภา ไชยจิตต เจาหน้าที่แผนงานโครงการ


10. เครือข่าย

10.1 เกษตรอ าเภอพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนใต ้
10.2 ปราชญ์ผู้น าด้านเกษตรพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนใต ้

10.3 โรงเรียนต ารวจตระเวนชายแดน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต ้


11. โครงการที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.๒ โครงการการศึกษาตามอัธยาศัย


12. ผลลัพธ์ (Outcome)
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและเกิดทักษะด้านอาชีพในการด าเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถน ามาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ให้แก่
ตนเอง ครอบครัว และชุมชน






แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๗๓

13. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ
13.1 ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)
ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้าง
ความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต ้

13.2 ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของผเข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกิดทกษะดานอาชพ และมีความ

ู้




ู่

ตระหนักในการน้อมน าหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสการดาเนินชวิตเพื่อลดรายจาย เพิ่มรายไดให้แก่

ตัวเอง ครอบครัวและชุมชน

14. การติดตามและประเมินผลโครงการ
14.1 แบบสอบถาม
14.2 แบบทดสอบความรู้
14.3 แบบสังเกตพฤติกรรม
14.4 แบบประเมินความพึงพอใจ
14.5 แบบประเมินสื่อการเรียนรู้




ลงชื่อ....เพ็ญนิภา ไชยจิตต.....ผู้ขออนุมัติโครงการ ลงชื่อ....อิบราเหม เดนมูณี.....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ



(นางสาวเพ็ญนิภา ไชยจิตต์) (นายอิบราเหม เด็นมูณ)
เจ้าหน้าที่แผนงานโครงการ ครู หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและปฏิบัติการ



ลงชื่อ....วิลาสินี เดชด านิล.....ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ ลงชื่อ...ณัฐทินี ศรประสิทธ...ผู้เห็นชอบอนุมัติโครงการ
ิ์

(นางวิลาสินี เดชด านิล) (นางสาวณฐทินี ศรประสทธิ์)

ครู หัวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน รองผู้อ านวยการ ศฝช.ปัตตานี




ลงชื่อ.....วิเชียร โชติช่วง.....ผู้อนุมัติโครงการ
(นายวิเชียร โชติช่วง)
ผู้อ านวยการ ศฝช.ปัตตานี
















แผนปฏบัตการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๗๔

ส่วนที่ ๓

สาระส าคัญของแผนปฏิบัติการประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔


นโยบายและจุดเน้นของส านักงาน กศน. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔


นโยบายและจดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ โดยมี



สาระส าคัญดังนี้
วิสัยทัศน์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถด ารงชวิตท ี่

เหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทกษะทจาเป็นในโลกศตวรรษท ี่





ี่
21
พันธกิจ
1. จดและสงเสริมการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยทมีคณภาพ สอดคลองกับหลก







ี่

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย


ู่


ี่
ให้เหมาะสมทกชวงวัย พร้อมรับการเปลยนแปลงบริบททางสงคม และก้าวสการเป็นสงคมแห่งการเรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน


2.สงเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงรุกกับภาคเครือข่าย ให้เข้ามามีสวนร่วม





ในการสนับสนุนและจดการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศย และการเรียนรู้ตลอดชวิตในรูปแบบ


ต่างๆ ให้กับประชาชน



3. สงเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศกษา และน าเทคโนโลยีดจทลมาใชพัฒนาประสทธิภาพใน




การจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนอย่างทั่วถึง

4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทก
รูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน

5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาและการ
เรียนรู้ที่มีคุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
เป้าประสงค์



1. ประชาชนผดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศกษา รวมทงประชาชนทวไปไดรับโอกาสทาง
ั่
ั้
ู้
การศกษาในรูปแบบการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐาน การศกษาตอเนื่อง และการศกษาตาม







อัธยาศย ทมีคณภาพอย่างเทาเทยมและทวถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตองการของแตละ
ี่
ั่






กลุ่มเป้าหมาย

2. ประชาชนไดรับการยกระดบการศกษา สร้างเสริมและปลกฝงคณธรรม จริยธรรมความเป็น






พลเมือง ที่สอดคล้องกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อันน าไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมประวัติศาสตร์
และสิ่งแวดล้อม
ี่

3. ประชาชนไดรับโอกาสในการเรียนรู้และมีเจตคตทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเหมาะสม






สามารถคด วิเคราะห์ และประยุกตใชในชวิตประจาวัน รวมทงแก้ปัญหาและพัฒนาคณภาพชวิตไดอย่าง

ั้


สร้างสรรค ์

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๐

4. ประชาชนได้รับการสร้างและส่งเสริมให้มีนิสัยรักการอ่านเพื่อพัฒนาการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน


6. หน่วยงานและสถานศกษา กศน. สามารถน าเทคโนโลยีทางการศกษา และเทคโนโลยีดจทลมาใช ้



ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้กับประชาชน
7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาและ




พัฒนาคณภาพชวิต ทตอบสนองกับการเปลยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สงคม การเมือง วัฒนธรรม
ี่
ี่
ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบที่หลากหลาย


ี่



8. หน่วยงานและสถานศกษามีระบบการบริหารจดการองคกรททนสมัย มีประสทธิภาพและเป็นไป
ตามหลักธรรมาภิบาล

9. บุคลากร กศน. ทกประเภททกระดบไดรับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัตงาน




การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

ู้







ี่
1. จานวนผเรียนการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐานทไดรับการสนับสนุนคาใชจายตาม
สิทธิที่ก าหนดไว้
2. จานวนของคนไทยกลมเป้าหมายตาง ๆ ทเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ไดรับบริการกิจกรรม
ี่


ุ่

การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยที่สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา และความต้องการ
3. ร้อยละของก าลังแรงงานที่ส าเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นขึ้นไป





4. จานวนภาคเครือข่ายทเข้ามามีสวนร่วมในการจด/พัฒนา/สงเสริมการศกษา (ภาคเครือข่าย :


ี่
สถานประกอบการ องค์กร หน่วยงานที่มาร่วมจัด/พัฒนา/ส่งเสริมการศึกษา)
5. จ านวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นที่สูง และชาวไทยมอแกน ในพื้นที่ 5 จังหวัด 11 อ าเภอ
ได้รับบริการการศึกษาตลอดชีวิตจากศูนย์การเรียนชุมชน สังกัดส านักงาน กศน.
6. จ านวนผู้รับบริการในพื้นที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต
7. จ านวนนักเรียน/นักศึกษาที่ได้รับบริการติวเข้มเต็มความรู้
8. จ านวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอาชีพระยะสั้น สามารถสร้างหรือพัฒนาอาชีพเพื่อสร้างรายได ้
9. จ านวน ครู กศน. ต าบล ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อ

การสื่อสาร
10.จ านวนประชาชนที่ได้รับการฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
11.จ านวนผู้ผ่านการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอาย ุ
12. จ านวนประชาชนที่ผ่านการอบรมจากศูนย์ดิจิทัลชุมชน
ี่
13. จ านวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพื้นที่สูง ในพื้นท5 จังหวัด ที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะการ
ฟัง พูดภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ร่วมกันในสถานศึกษาสังกัด สพฐ. ตชด. และ กศน.




14. จานวนหลกสตรหรือสอออนไลน์ทให้บริการกับประชาชน ทงการศกษานอกระบบระดบ

ื่
ั้
ี่
การศึกษาขนพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย
ั้

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๑

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

1. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET)
ทุกรายวิชาทุกระดับ
2. ร้อยละของผู้เรียนที่ได้รับการสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบกับค่าเป้าหมาย

3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง
เทียบกับเป้าหมาย




ู้
4. ร้อยละของผผานการฝกอบรม/พัฒนาทกษะอาชพระยะสนสามารถน าความรู้ไปใชในการ


ั้
ประกอบอาชีพหรือพัฒนางานได ้
5. ร้อยละของผเรียนในเขตพื้นทจงหวัดชายแดนภาคใตทไดรับการพัฒนาศกยภาพ หรือทกษะด้าน


ู้
ี่


ี่

อาชีพ สามารถมีงานท าหรือน าไปประกอบอาชีพได ้


ู้
ี่



6. ร้อยละของผจบหลกสตร/กิจกรรมทสามารถน าความรู้ความเข้าใจไปใชไดตามจดมุ่งหมายของ
หลักสูตร/กิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง

ี่

7. ร้อยละของประชาชนทไดรับบริการมีความพึงพอใจตอการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
การศึกษาตามอัธยาศัย
ุ่

ี่
8. ร้อยละของประชาชนกลมเป้าหมายทไดรับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมทมีความรู้ความเข้าใจ/เจต
ี่
คติ/ทักษะ ตามจุดมุ่งหมายของกิจกรรมที่ก าหนด ของการศึกษาตามอัธยาศัย
9. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเป้าหมาย มีโอกาสมาเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิต

นโยบายเร่งด่วนเพื่อร่วมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
ข้อ 1 ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง

ั้



1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดตอสถาบันหลกของชาตพร้อมทงน้อมน าและเผยแพร่
ศาสตร์พระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงแนวทางพระราชด าริต่าง ๆ

1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีสวนร่วมอย่างถูกตองกับการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองด ยอมรับและเคารพ

ความหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ ์

1.3 สงเสริมและสนับสนุนการจดการศกษาเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคกคามในรูปแบบใหม่



ทั้งยาเสพติด การค้ามนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม่ ฯลฯ

1.4 ยกระดบคณภาพการศกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกษาในเขตพัฒนา



พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ชายแดนอื่น ๆ
ุ่

1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณ วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลม
ชาติพันธุ์ และชาวต่างชาติที่มีความหลากหลาย
ข้อ 2 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
2.1 ยกระดบการจดการศกษาอาชพ กศน. เพื่อพัฒนาทกษะอาชพของประชาชนให้รองรับ






ี่
อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S - curve และ New S - curve) โดยเฉพาะในพื้นทเขตระเบียง

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๒




ี่
เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคตาง ๆ ของประเทศ ส าหรับพื้นที่ปกตให้พัฒนาอาชีพทเน้นการตอ
ยอดศักยภาพและตามบริบทของพื้นท ี่

ี่


2.2 จดการศกษาเพื่อพัฒนาพื้นทภาคตะวันออก ยกระดบการศกษาให้กับประชาชนให้จบ

การศึกษาอย่างน้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถน าคุณวุฒิที่ได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รองรับการ
พัฒนาเขตพื้นที่ระเบียบเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC)
2.3 พัฒนาและสงเสริมประชาชนเพื่อตอยอดการผลตและจาหน่ายสนคาและผลตภัณฑ์ กศน.







ออนไลน์พร้อมทงประสานความร่วมมือกับภาคเอกชนในการเพิ่มชองทางการจาหน่ายสนคาและผลตภัณฑ์ให้


ั้



กว้างขวางยิ่งขึ้น
ข้อ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้เป็นผู้เชื่อมโยง

ู้

ู้
ความรู้กับผเรียนและผรับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชพ” มีจตบริการ มีความรอบรู้และทนตอการ


ู้
ี่
เปลยนแปลงของสงคม และเป็น “ผอ านวยการการเรียนรู้” ทสามารถบริหารจัดการความรู้ กิจกรรมและการ

ี่
เรียนรู้ที่ด ี
1) เพิ่มอัตราข้าราชการครูให้กับสถานศึกษาทุกประเภท
2) พัฒนาข้าราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลักสูตรที่เชื่อมโยงกับวิทยฐานะ




3) พัฒนาครูให้สามารถปฏิบัตงานไดอย่างมีประสทธิภาพ โดยเน้นเรื่องการพัฒนาทกษะการ
จัดการเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรียนรู้
4) พัฒนาศึกษานิเทศก์ ให้สามารถปฏิบัติการนิเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ


5) พัฒนาบุคลากรทกระดบทกประเภทให้มีความรู้และทกษะเรื่องการใชประโยชน์จากดจทล






และภาษาต่างประเทศที่จ าเป็น รวมทั้งความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First
S - Curve และ New S - Curve)

ั้

3.2 พัฒนาหลกสตรการจดการศกษาอาชพระยะสน ให้มีความหลากหลาย ทนสมัยเหมาะสมกับ




บริบทของพื้นที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ

3.3 สงเสริมการจดการเรียนรู้ททนสมัยและมีประสทธิภาพ เอื้อตอการเรียนรู้สาหรับทกคน




ี่


สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน
3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคเครือข่าย ประสาน สงเสริมความร่วมมือภาคเครือข่ายทง


ั้

ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของ
ชุมชนเพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศกษาและการเรียนรู้

ให้กับประชาชนอย่างมีคุณภาพ

ุ่





3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศกษาเพื่อประโยชน์ตอการจดการศกษาและกลมเป้าหมาย เชน จด

การศกษาออนไลน์ กศน. ทงในรูปแบบของการศกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทกษะชวิตและทกษะอาชพและ


ั้



การศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู้
และใช้การวิจัยอย่างง่ายเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่


3.6 พัฒนาศกยภาพครูและบุคลากรทางการศกษา และประชาชนทวไป ดานความรู้ความเข้าใจ

ั่
และทักษะในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Literacy)

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๓


3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเปาหมายทหารกองประจ าการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่น ๆ

ู้


ี่



อาท ผตองขัง คนพิการ เดกออกกลางคน ประชากรวัยเรียนทอยู่นอกระบบการศกษา ให้จบการศกษานอก
ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ื่

3.8 พัฒนาทกษะภาษาตางประเทศเพื่อการสอสารของประชาชนในรูปแบบตางๆ โดยเน้นทกษะ



ภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเที่ยว
3.9 เตรียมความพร้อมของประชาชนในการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมีคุณภาพ
3.10 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย

ทั้งวิทยาศาสตร์ในวิถีชวิต และวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และนวัตกรรม


ี่
3.11 ส่งเสริมการรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพื้นทสง
ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตประจ าวันได ้
ข้อ 4 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
ี่


4.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเอื้อตอการเรียนรู้มีความพร้อมในการ
ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้




1) เร่งยกระดบ กศน.ตาบลน าร่อง 928 แห่ง (อ าเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ด พรี
เมียมที่ประกอบด้วย ครูดี สถานที่ดี (ตามบริบทของพื้นที่) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมีนวัตกรรมการเรียนรู้ท ี่
ดีมีประโยชน์

ี่
2) จดให้มีศนย์การเรียนรู้ตนแบบ กศน. เพื่อยกระดบการเรียนรู้เป็นพื้นทการเรียนรู้ (Co -



Learning Space) ที่ทันสมัยส าหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่าง ๆ
3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library
ี่
4.2 จดตงศนย์การเรียนรู้สาหรับทกชวงวัยทมีกิจกรรมทหลากหลาย ตอบสนองความตองการใน





ั้
ี่

การเรียนรู้ในแต่ละวัย เพื่อให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสม และมีความสุขกับการเรียนรู้ตามความสนใจ
ู้

ุ่


4.3 สงเสริมและสนับสนุนการจดการศกษาและการเรียนรู้สาหรับกลมเป้าหมายผพิการโดยเน้น

รูปแบบการศึกษาออนไลน์
ข้อ 5 ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
5.1 สงเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตวเพื่อลดความเสยหายจากภัย



ธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคญของการสร้างสงคมสเขียว สงเสริมความรู้ให้กับประชาชน





ั้
เกี่ยวกับการคัดแยกตงแต่ต้นทาง การก าจัดขยะ และการน ากลับมาใช้ใหม่
ิ่

ั้




5.3 สงเสริมให้หน่วยงานและสถานศกษาใชพลงงานทเป็นมิตรกับสงแวดลอม รวมทงลดการใช ้
ี่
ทรัพยากรที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น รณรงค์เรื่องการลดการใช้ถุงพลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น
ข้อ 6 ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ


6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัตราชการให้ทนสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทจริตและ

ประพฤติมิชอบ บริหารจัดการบนข้อมูลและหลักฐานเชิงประจักษ์ มุ่งผลสัมฤทธิ์มีความโปร่งใส
6.2 น านวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการท างานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๔

6.3 สงเสริมการพัฒนาบุคลากรทกระดบอย่างตอเนื่อง ให้มีความรู้และทกษะตามมาตรฐาน





ต าแหน่งให้ตรงกับสายงาน ความช านาญ และความต้องการของบุคลากร
ภารกิจต่อเนื่อง
ข้อ 1 ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนร ู้
1.1 การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ั้

1) สนับสนุนการจดการศกษานอกระบบตงแตปฐมวัยจนจบการศกษาขั้นพื้นฐาน โดย




ู้





ดาเนินการให้ผเรียนไดรับการสนับสนุนคาจดซื้อหนังสอเรียน คาจดกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียน และคา
ู้




จัดการเรียนการสอนอย่างทั่วถึงและเพียงพอ เพื่อเพิ่มโอกาสในการเขาถึงบริการทางการศึกษาที่มีคณภาพโดย

ไม่เสียค่าใช้จ่าย
ู้
2) จัดการศึกษานอกระบบระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเปาหมายผด้อย พลาดและขาด





ุ่

ั้
โอกาสทางการศกษา ผานการเรียนแบบเรียนรู้ดวยตนเอง การพบกลม การเรียนแบบชนเรียน และการจด
การศึกษาทางไกล

3) พัฒนาประสทธิภาพ คณภาพ และมาตรฐานการจดการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้น





พื้นฐาน ทั้งด้านหลักสตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน สื่อและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล

การเรียน และระบบการให้บริการนักศึกษาในรูปแบบอื่นๆ
ี่

4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณทมี

ความโปร่งใส ยุตธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามทก าหนด และสามารถตอบสนองความตองการของ


ี่
กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ู้
ี่
ี่


ู้
5) จดให้มีกิจกรรมพัฒนาคณภาพผเรียนทมีคณภาพทผเรียนตองเรียนรู้และเข้าร่วมปฏิบัต ิ



กิจกรรม เพื่อเป็นสวนหนึ่งของการจบหลกสตรอาท กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคค กิจกรรมเกี่ยวกับการ




ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตด การแข่งขันกีฬา การบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างตอเนื่อง การสงเสริม

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลกเสอ เนตรนารี และยุว




ั้

ั้
กาชาด กิจกรรมจตอาสา และการจดตงชมรม/ชมนุม พร้อมทงเปิดโอกาสให้ผเรียนน ากิจกรรมการบ าเพ็ญ
ู้
ประโยชน์อื่นๆ นอกหลักสูตร มาใช้เพิ่มชั่วโมงกิจกรรมให้ผู้เรียนจบตามหลักสูตรได ้
1.2 การส่งเสริมการรู้หนังสือ


ู้
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผไม่รู้หนังสอ ให้มีความครบถ้วน ถูกตอง ทนสมัยและเป็นระบบ

เดียวกันทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
2) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส่งเสริมการรู้

หนังสือที่สอดคล้องกับสภาพแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ


ู้

การจดกระบวนการเรียนรู้ให้กับผไม่รู้หนังสออย่างมีประสทธิภาพ และอาจจดให้มีอาสาสมัครสงเสริมการรู้


หนังสือในพื้นที่ที่มีความต้องการจ าเป็นเป็นพิเศษ

4) สงเสริม สนับสนุนให้สถานศกษาจดกิจกรรมสงเสริมการรู้หนังสอ การคงสภาพการรู้หนังสอ





การพัฒนาทกษะการรู้หนังสอให้กับประชาชนเพื่อเป็นเครื่องมือในการศกษาและเรียนรู้อย่างตอเนื่องตลอด




ชีวิตของประชาชน

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๕

1.3 การศึกษาต่อเนื่อง







1) จดการศกษาอาชพเพื่อการมีงานท าอย่างยั่งยืน โดยให้ความสาคญกับการจดการศกษา


ุ่
อาชพเพื่อการมีงานทาในกลมอาชพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณชยกรรม คหกรรม และอาชพเฉพาะทาง




ี่
ู้
หรือการบริการ รวมถึงการเน้นอาชพชางพื้นฐาน ทสอดคลองกับศกยภาพของผเรียน ความตองการและ








ี่
ศกยภาพของแตละพื้นทมีคณภาพไดมาตรฐานเป็นทยอมรับ สอดรับกับความตองการของตลาดแรงงาน และ

ี่

การพัฒนาประเทศตลอดจนสร้างความเข้มแข็งให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหนึ่งอาชีพเด่น รวมทั้งให้
มีการก ากับ ติดตาม และรายงานผลการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานท าอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง



ู้



2) จดการศกษาเพื่อพัฒนาทกษะชวิตให้กับทกกลมเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผสงอายุท ี่
ุ่

ุ่






สอดคลองกับความตองการจาเป็นของแตละบุคคล และมุ่งเน้นให้ทกกลมเป้าหมายมีทกษะการดารงชวิต




ตลอดจนสามารถประกอบอาชพพึ่งพาตนเองไดมีความรู้ความสามารถในการบริหารจดการชวิตของตนเองให้


อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถเผชิญสถานการณต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตวให้ทนตอการเปลยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ใน

ี่











ี่
อนาคต โดยจดกิจกรรมทมีเนื้อหาสาคญตางๆ เชน สขภาพกายและจต การป้องกันภัยยาเสพตด เพศศกษา


คุณธรรมและค่านิยมที่พึงประสงคความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่านการศึกษารูปแบบตาง ๆ อาทิ ค่าย

พัฒนาทักษะชีวิตการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ
3) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ

บูรณาการในรูปแบบของการฝกอบรม การประชม สมมนา การจดเวทแลกเปลยนเรียนรู้การจดกิจกรรมจต







ี่
ุ่

ี่
อาสา การสร้างชมชนนักปฏิบัต และรูปแบบอื่นๆ ทเหมาะสมกับกลมเป้าหมาย และบริบทของชมชนแตละ



พื้นที่ เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทางความคดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม

พหุวัฒนธรรม โดยจดกระบวนการให้บุคคลรวมกลมเพื่อแลกเปลยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจต
ี่

ุ่

สาธารณะการสร้างจตสานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสทธิ และรับผดชอบตอหน้าทความเป็น




ี่


พลเมืองดการสงเสริมคณธรรม จริยธรรม การบ าเพ็ญประโยชน์ในชมชน การบริหารจดการน้ า การรับมือกับ







สาธารณภัยการอนุรักษ์พลงงานทรัพยากรธรรมชาตและสงแวดลอม ชวยเหลอซึ่งกันและกันในการพัฒนา

ิ่

สังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอด



ุ้
ชวิตในรูปแบบตางๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสร้างภูมิคมกัน สามารถยืนหยัดอยู่ไดอย่างมั่นคง และมีการ
บริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน
1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย


ี่
1) พัฒนาแหลงการเรียนรู้ทมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมทเอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศกยภาพ

ี่
การเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้


ี่


มีการบริการททนสมัย สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายสงเสริมการอ่าน

ี่

ื่
ี่

จดหน่วยบริการเคลอนทพร้อมอุปกรณเพื่อจดกิจกรรมสงเสริมการอ่านและการเรียนรู้ทหลากหลายให้บริการ

กับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง สม่ าเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สื่อ อุปกรณ ์
เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างหลากหลาย


แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๖




2) จดสร้างและพัฒนาศนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกษา ให้เป็นแหลงเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต


ี่



ของประชาชน เป็นแหลงสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหลงทองเทยวเชงศลปะวิทยาการประจา






ื่
ี่
ทองถิ่นโดยจดทาและพัฒนานิทรรศการ สอและกิจกรรมการศกษาทเน้นการเสริมสร้างความรู้และสร้างแรง




บันดาลใจดานวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการคดเชงวิเคราะห์ การคดเชงสร้างสรรค และปลกฝงเจตคตทาง







ี่
ู่
วิทยาศาสตร์ผานการกระบวนการเรียนรู้ทบูรณาการความรู้ดานวิทยาศาสตร์ ควบคกับเทคโนโลยี




ั้
วิศวกรรมศาสตร์และคณตศาสตร์รวมทงสอดคลองกับหลกปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบทของชมชน
และประเทศ รวมทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถน าความรู้และทักษะไป
ประยุกตใชในการดาเนินชวิต การพัฒนาอาชพ การรักษาสงแวดลอม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัตทาง


ิ่






ี่
ธรรมชาต รวมทงมีความสามารถในการปรับตวรองรับผลกระทบจากการเปลยนแปลงของโลกทเป็นไปอย่าง
ี่

ั้
รวดเร็วและรุนแรง (Disruptive Change)ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ู้







1.5 ประสานความรวมมอหน่วยงาน องค์กร หรอภาคส่วนตางๆ ที่มแหล่งเรยนรอื่นๆ เชน






พิพิธภัณฑ์ ศนย์เรียนรู้ แหลงโบราณคด ห้องสมุด เพื่อสงเสริมการจดการศกษาตามอัธยาศยให้มีรูปแบบท ี่

หลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน
ข้อ 2 ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลงานบรการทาง

วิชาการ และการประกันคุณภาพการศึกษา


ู้

2.1 ส่งเสรมการพัฒนาหลักสูตร รปแบบการจัดกระบวนการเรยนรและกจกรรม เพื่อสงเสริม


ี่

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทหลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถิ่นที่สอดคลองกับ
สภาพบริบทของพื้นที่ และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน

2.2 ส่งเสรมการพัฒนาสื่อแบบเรยน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ทเอื้อตอการเรียนรู้ของ


ี่
ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ


2.3 พัฒนารปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มความทันสมย ดวยระบบห้องเรียนและการ


ควบคุมการสอบออนไลน์
2.4 พัฒนาระบบการประเมนเพื่อเทียบระดบการศึกษาและการเทียบโอนความรและ
ู้


ประสบการณ์เพื่อให้มีคณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตองการของกลมเป้าหมายไดอย่างมี

ุ่


ประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ให้สาธารณชนได้รับรู้และสามารถเข้าถึงระบบการประเมินได ้
2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสตรใน


ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการน าแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส (e-
Exam) มาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจด สงเสริม และสนับสนุนการจดการศกษานอกระบบและ




ู่


ั้
การศกษาตามอัธยาศย รวมทงให้มีการน าไปสการปฏิบัตอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับ

บริบทอย่างต่อเนื่อง


2.7 พัฒนาระบบประกนคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ไดมาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมิน



คณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสาคญของระบบการประกัน



คณภาพและสามารถดาเนินการประกันคณภาพภายในของสถานศกษาไดอย่างตอเนื่องโดยใชการประเมิน





แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๗




ี้

ี่
ภายในดวยตนเองและจดให้มีระบบสถานศกษาพี่เลยงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกลชด สาหรับสถานศกษาทยัง








ไม่ไดเข้ารับการประเมินคณภาพภายนอก ให้พัฒนาคณภาพการจดการศกษาให้ไดคณภาพตามมาตรฐานท ี่


ก าหนด
ข้อ 3 ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
3.1 ผลิตและพัฒนารายการวทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อให้เชอมโยงและ
ื่






ตอบสนองตอการจดกิจกรรมการศกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศยของสถานศกษา เพื่อกระจาย



ี่
ุ่



โอกาสทางการศกษาสาหรับกลมเป้าหมายตางๆ ให้มีทางเลอกในการเรียนรู้ทหลากหลายและมีคณภาพ

ื่


สามารถพัฒนาตนเองให้ รู้เทาทนสอและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสอสาร เชน รายการพัฒนาอาชพเพื่อ
ื่



การมีงานทารายการตวเข้มเตมเตมความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศกษา สถานีวิทยุโทรทศน์เพื่อ




การศึกษากระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอินเทอร์เน็ต


3.2 พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยผานระบบ





เทคโนโลยีดจทล และชองทางออนไลน์ตางๆ เชน Youtube Facebook หรือ Applicationอื่นๆ เพื่อสงเสริม


ให้ครู กศน. น าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY)
3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ


การออกอากาศให้กลมเป้าหมายสามารถใชเป็นชองทางการเรียนรู้ทมีคณภาพไดอย่างตอเนื่องตลอดชวิตโดย
ี่




ุ่

ี่

ั่
ี่



ขยายเครือข่ายการรับฟังให้สามารถรับฟังไดทกท ทกเวลา ครอบคลมพื้นททวประเทศ และเพิ่มชองทางให้

สามารถรับชมรายการโทรทศน์ไดทั้งระบบ Ku - Band C -Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ

รองรับการพัฒนาเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV)

3.4 พัฒนาระบบการให้บรการสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้ไดหลายชองทางทงทาง
ั้


ั้
ี่
ื่

อินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่นๆ อาทApplication บนโทรศพทเคลอนท และ Tablet รวมทงสอ Offline ใน

ื่


ุ่



รูปแบบตางๆ เพื่อให้กลมเป้าหมายสามารถเลอกใชบริการเพื่อเข้าถึงโอกาสทางการศกษาและการเรียนรู้ได ้
ตามความต้องการ



3.5 ส ารวจ วจัย ตดตามประเมินผลดานการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอย่างตอเนื่อง เพื่อน า

ผลมาใช้ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ของประชาชนได้อย่างแท้จริง
ข้อ 4 ด้านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์
4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริหรือโครงการอัน
เกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์


4.2 จัดท าฐานข้อมลโครงการและกจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชด าริหรือโครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์ เพื่อน าไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ
การพัฒนางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการด าเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ
เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย



4.4 พัฒนาศูนย์การเรยนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจด
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าที่ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๘


ู้



4.5 จัดและส่งเสรมการเรยนรตลอดชีวิตให้สอดคล้องกบวถีชีวตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถิ่น

ทุรกันดาร และพื้นที่ชายขอบ
ข้อ 5 ด้านการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่บริเวณชายแดน
5.1 พัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวัดชายแดนภาคใต ้
1) จัดและพัฒนาหลกสตร และกิจกรรมส่งเสริมการศกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปัญหาและ



ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งอัตลักษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพื้นท ี่



2) พัฒนาคณภาพการศกษานอกระบบระดบการศกษาขั้นพื้นฐานอย่างเข้มข้นและตอเนื่อง


เพื่อให้ผู้เรียนสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ได้จริง
3) ให้หน่วยงานและสถานศกษาจดให้มีมาตรการดแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ



นักศึกษา กศน. ตลอดจนผู้มาใช้บริการอย่างทั่วถึง
5.2 พัฒนาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ

ี่
1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานทเกี่ยวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ
บริบทของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ
2) จัดท าหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพื้นที่ โดยเน้นสาขาที่เป็นความต้องการของตลาด
ให้เกิดการพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพื้นท ี่

ั่

5.3 จัดการศึกษาเพื่อความมนคง ของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเวณชายแดน
(ศฝช.)

1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อให้เป็นศูนย์ฝึกและสาธิต การ
ประกอบอาชพดานเกษตรกรรม และศนย์การเรียนรู้ตนแบบการจดกิจกรรมตามแนวพระราชดาริปรัชญา






เศรษฐกิจพอเพียง ส าหรับประชาชนตามแนวชายแดน ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลายใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง
กลมเป้าหมาย เชน การจดมหกรรมอาชพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจดอบรมแกนน าดาน


ุ่



อาชีพที่เน้นเรื่องเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน
ข้อ 6 ด้านบุคลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
6.1 การพัฒนาบุคลากร


ั้



1) พัฒนาบุคลากรทกระดบ ทกประเภทให้มีสมรรถนะสงขึ้นอย่างตอเนื่อง ทงก่อนและระหว่าง





ี่


การดารงตาแหน่งเพื่อให้มีเจตคตทดในการปฏิบัตงาน สามารถปฏิบัตงานและบริหารจดการการดาเนินงาน






ของหน่วยงานและสถานศกษาไดอย่างมีประสทธิภาพ รวมทงสงเสริมให้ข้าราชการในสงกัดพัฒนาตนเองเพื่อ
ั้
เลื่อนต าแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์
2) พัฒนาศกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะทจาเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชพ สามารถ

ี่


ปฏิบัตการนิเทศไดอย่างมีศกยภาพ เพื่อร่วมยกระดบคณภาพการจดการศกษานอกระบบและการศกษาตาม








อัธยาศัยในสถานศึกษา

3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตาบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสงขึ้น เพื่อการบริหารจดการ กศน.ตาบล/






แขวง และการปฏิบัตงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจดการความรู้และผ ู้
อ านวยความสะดวกในการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๙

4) พัฒนา ครู กศน. และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้





ไดอย่างมีคณภาพ โดยสงเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจดทาแผนการสอน การจดกระบวนการเรียนรู้


การวัดและประเมินผล และการวิจัยเบื้องต้น
5) พัฒนาศกยภาพบุคลากร ทรับผดชอบการบริการการศกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้



ี่
ความสามารถและมีความเป็นมืออาชีพในการจัดบริการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน


6) สงเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทกระดบและคณะกรรมการสถานศกษา มีสวนร่วมในการ



บริหารการด าเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อย่างมีประสิทธิภาพ

7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทาหน้าทสนับสนุนการจดการศกษานอกระบบและ

ี่

การศึกษาตามอัธยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายทั้งในและ
ตางประเทศในทกระดบ โดยจดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสมพันธภาพและเพิ่มประสทธิภาพในการทางาน







ี่



ร่วมกันในรูปแบบทหลากหลายอย่างตอเนื่อง อาท การแข่งขันกีฬา การอบรมเชงปฏิบัตการพัฒนา

ประสิทธิภาพในการท างาน
6.2 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอัตราก าลัง
ี่




1) จดทาแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและดาเนินการปรับปรุงสถานท และวัสดอุปกรณให้มี

ความพร้อมในการจัดการศึกษาและการเรียนรู้
ั้


ี่

ี่
2) บริหารอัตราก าลงทมีอยู่ ทงในสวนทเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลกจางให้เกิด

ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน

3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคเครือข่ายทกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพื่อน ามาใชในการ




ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศกษานอกระบบและการศกษาตาม


อัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ส าหรับประชาชน
6.3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ
1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทวประเทศอย่าง
ั่





เป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศกษาในสงกัดสามารถน าไปใชเป็นเครื่องมือสาคญในการบริหาร การ




ั้
วางแผน การปฏิบัตงาน การตดตามประเมินผล รวมทงจดบริการการศกษานอกระบบและการศกษาตาม

อัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ

2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการก ากับ ควบคุมและเร่งรัด
การเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้



3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกตอง ทนสมัยและ



ั่


เชอมโยงกันทวประเทศ สามารถสบคนและสอบทานไดทนความตองการเพื่อประโยชน์ในการจดการศกษา
ื่


ให้กับผู้เรียนและการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ



4) สงเสริมให้มีการจดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศกษาทกระดบ รวมทงการศกษาวิจย



ั้

เพื่อสามารถน ามาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการด าเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ
ชุมชนพร้อมทั้งพัฒนาขีดความสามารถเชิงการแข่งขันของหน่วยงานและสถานศึกษา

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๐



ั้


5) สร้างความร่วมมือของทกภาคสวนทงในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒนาและสงเสริม
การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต

6) ส่งเสริมการใช้ระบบสานักงานอิเลกทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ

ลาระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชุม เป็นต้น
6.4 การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล



1) สร้างกลไกการก ากับ นิเทศ ตดตาม ประเมิน และรายงานผลการดาเนินงานการศกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เชื่อมโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือข่ายทั้งระบบ
ี่

2) ให้หน่วยงานและสถานศกษาทเกี่ยวข้องทกระดบ พัฒนาระบบกลไกการก ากับ ตดตามและ





รายงานผลการน านโยบายสู่การปฏบัติ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแตละเรื่องไดอย่าง


มีประสิทธิภาพ
ื่
ี่
ื่


3) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอสาร และสออื่น ๆ ทเหมาะสม เพื่อการก ากับ
นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ



4) พัฒนากลไกการตดตามประเมินผลการปฏิบัตราชการตามคารับรองการปฏิบัตราชการ



ประจาปีของหน่วยงาน สถานศกษา เพื่อการรายงานผลตามตวชวัดในคารับรองการปฏิบัตราชการประจาปี

ี้



ของส านักงาน กศน. ให้ด าเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามเกณฑ์ วิธีการ และระยะเวลาที่ก าหนด

ื่
ั้

5) ให้มีการเชอมโยงระบบการนิเทศในทกระดบ ทงหน่วยงานภายในและภายนอกองคกรตงแต ่

ั้


ุ่


สวนกลาง ภูมิภาค กลมจงหวัด จงหวัด อ าเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใชข้อมูล

และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

เป้าหมายการให้บริการของสถานศึกษา

เป้าหมายการให้บริการ ค่าเป้าหมายปี 256๔
หน่วยนับ เป้าหมาย หมายเหต ุ
๑. จ านวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับ คน

การศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ (ปวช.)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๘๕ คน
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ๘๕ คน
๒. จ านวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียน คน ๓,๒๐๐ คน
เรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง
๓. ร้อยละของผู้จบหลักสูตร/กิจกรรมที่สามารถ ร้อยละ ๑๐๐
น าความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจดมุ่งหมายของ

หลักสูตร/กิจกรรมที่ก าหนด
๔. จ านวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการ/ คน ๕๐๐ คน
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาตามอัธยาศัย
๕. จ านวนแหล่งการเรียนรู้ในพื้นที่รับผิดชอบที่มี แห่ง ๒๕๐ แห่ง
ความพร้อมในการให้บริการ

แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๑

มาตรฐานการประกันคุณภาพของสถานศึกษา


มาตรฐานการศึกษานอกระบบ ระดับการศกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ ระดับการศกษาขั้นพื้นฐาน


ประเด็นพิจารณา ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลกสตร
สถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะทด ี
ี่
ตามที่สถานศึกษาก าหนด
ู้



ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการวิเคราะห์ คดอย่าง
วิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น
ิ้


ู้

ประเดนพิจารณา ๑.๔ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรคงาน ชนงานหรือ
นวัตกรรม
ประเด็นพิจารณา ๑.๕ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ประเด็นพิจารณา ๑.๖ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกายและสุนทรียภาพ
ประเด็นพิจารณา ๑.๗ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน


ู้
ประเดนพิจารณา ๑.๘ ผเรียนการศกษาขั้นพื้นฐานน าความรู้ ทกษะพื้นฐานทไดรับไปใชหรือ
ี่



ประยุกต์ใช ้
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบ ระดบการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรยนเป็น


ส าคัญ






ี่
ประเดนพิจารณา ๒.๑ การพัฒนาหลกสตรสถานศกษาทสอดคลองกับบริบทและความตองการของ
ผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ การใช้สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา





แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๒

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง


ประเดนพิจารณา ๑.๑ ผเรียนการศกษาตอเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทกษะ และหรือ


ู้
คุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร
ประเด็นพิจารณา ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องสามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้บนฐาน
ค่านิยมร่วมของสังคม

ู้


ี่




ประเดนพิจารณา ๑.๓ ผจบหลกสตรการศกษาตอเนื่องทน าความรู้ไปใชจนเห็นเป็นประจกษ์หรือ
ตัวอย่างที่ด ี
มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ
ประเด็นพิจารณา ๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตาม
หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้
ประเด็นพิจารณา ๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

ประเด็นพิจารณา ๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศกษาต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ
มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด

ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การสงเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย


ประเด็นพิจารณา ๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถประสงค ์
ของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย
ประเด็นพิจารณา ๒.๑ การก าหนดโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

ประเด็นพิจารณา ๒.๒ ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
ประเด็นพิจารณา ๒.๓ สื่อหรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ประเด็นพิจารณา ๒.๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย



แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๓

มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม
ประเด็นพิจารณา ๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพของสถานศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๓ การพัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
ประเด็นพิจารณา ๓.๕ การก ากับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการด าเนินงานของสถานศึกษา

ประเด็นพิจารณา ๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่ก าหนด
ประเด็นพิจารณา ๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ประเด็นพิจารณา ๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ประเด็นพิจารณา ๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการสถานศึกษา


งบประมาณรายจ่ายประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๑. เงินงบประมาณ

๑.๑ งบ ปกติ ๒,๘๐๗,๑๖๐ บาท
๑.๒ งบ จชต. ๕,๘๑๑,๑๐๐ บาท
รวมจ านวนเงิน ๘,๖๑๘,๒๖๐ บาท



โครงการตามแผนปฏิบัติการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔



ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)
๑ การศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ :
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เยาวชน ๘๕ คน ๒๓๓,๗๕๐-
๑.๑ การจัดการเรียนการสอน นอกระบบ ๔๕,๐๕๐-
๑.๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒๕,๕๐๐-
๑.๓ ค่าหนังสือเรียน

ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ เยาวชน ๘๕ คน ๒๓๓,๗๕๐-
๑.๑ การจัดการเรียนการสอน นอกระบบ ๔๕,๐๕๐-
๑.๒ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๒๕,๕๐๐-
๑.๓ ค่าหนังสือเรียน










แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๔

ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)

๒ การศึกษาต่อเนื่อง
๒.๑ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน
- พัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ) ประชาชนทั่วไป ๖๔๐ คน ๔๔๘,๐๐๐-
- ชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป) ประชาชนทั่วไป ๗๙๔ คน ๗๑๖,๖๐๐-

๒.๒ โครงการจัดการเรียนรู้ตามหลัก ประชาชนทั่วไป ๔๔๔ คน ๑๗๗,๖๐๐-
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒.๓ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ประชาชนทั่วไป ๒๖๖ คน ๑๐๖,๔๐๐-

สังคมและชุมชน
๒.๔ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ประชาชนทั่วไป ๑,๓๐๔ คน ๑๔๙,๙๖๐-
ทักษะชีวิต
๓ โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๓.๑ โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการการ บุคลากร ๑๙ คน ๒๕,๓๙๐-
จัดท าแผนปฏิบัติการ ประจ าปี ศฝช.ปัตตานี
งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

๓.๒ โครงการอบรมเพื่อพัฒนาบุคลากร บุคลากร ๑๙ คน ๓๗,๖๐๐-
ด้านจัดท าสื่อการสอนออนไลน์ ศฝช.ปัตตานี
๓.๓ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านการ บุคลากร ๑๙ คน ๔๒,๔๐๐-
วิจัย (Action Research) และการเขียน ศฝ.ปัตตานี

รายงานการวิจัย
๓.๔ โครงการอบรมการเขียนหลักสูตร บุคลากร ๑๙ คน ๓๗,๖๐๐-
ด้านอาชีพเพื่อพัฒนางาน กศน. ศฝช.ปัตตานี
๓.๕ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัด ผู้บริหาร ๔๓ คน ๑๕๕,๕๐๐-

กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนา เจ้าหน้าท ี่
ประสิทธิภาพการด าเนินงาน กศน. แผนงาน
โครงการกลุ่ม
ศูนย์ฝึกฯ

๓.๖ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการวิทยากร วิทยากรอาชีพ ๓๘ คน ๘๑,๖๐๐-
อาชีพ ศฝช.ปัตตานี
๓.๗ โครงการพัฒนาฐานเรียนรู้ด้านอาชีพ ฐานเรียนรู้ ๑๐ ฐาน ๖๐,๐๐๐-

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านอาชีพ
๔ การศึกษาตามอัธยาศัย
- การจัดกระบวนการเรียนรู้ด้านอาชีพ ประชาชนทั่วไป ๕๐๐ คน -

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง






แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๕

ที่ โครงการ/กิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย จ านวน งบประมาณ
เป้าหมาย (คน) (บาท)
๕ โครงการน้อมน าหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมสร้าง

ศักยภาพประชาชนชายแดนใต้สู่
การพัฒนาที่ยั่งยืน
๕.๑ โครงการประชุมเพื่อก าหนดแนว - ปราชญ์ผู้น าฯ ๒๙๐ คน ๑๑๖,๐๗๔-
ทางการด าเนินงาน - ครู กศน.

- ครู ร.ร.ตชด.
๕.๒ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการจัด - ปราชญ์ผู้น าฯ ๒๙๐ คน ๓๘๓,๑๗๔-
กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ - ครู กศน.
เศรษฐกิจพอเพียง - ครู ร.ร.ตชด.

๕.๓ โครงการขยายผลการจดกระบวนการ - ปราชญ์ผู้น าฯ ๑,๕๕๐ คน ๘๙๙,๐๐๐-

เรียนรู้ด้านอาชีพตามหลักปรัชญาของ - ครู กศน.
เศรษฐกิจพอเพียง - ครู ร.ร.ตชด.

๕.๔ โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้าน - ศูนย์เกษตรฯ ๓๒๐ แห่ง ๒,๕๐๐,๐๐๐-
อาชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ - ปราชญ์ผู้น าฯ
พอเพียง - ร.ร.ตชด.
- กศน.ต าบล
- ปอเนาะฯ

- เครือข่าย
- ศฝช.ปัตตานี
๕.๕ โครงการอบรมแลกเปลี่ยน - ปราชญ์ผู้น าฯ ๓๘๐ คน ๘๓๒,๐๐๐-


ประสบการณ์ด้านอาชีพที่ประสบผลสาเร็จ - ครู กศน.
นอกพื้นท ี่ - ครู ศฝช.ปน.
๕.๖ โครงการจัดท าสื่อ เอกสารประกอบ ประชาชนทั่วไป ๑,๕๐๐ ชุด ๑๕๐,๐๐๐-
๕.๗ โครงการมหกรรม “เปิดบ้านเรียนรู้ ประชาชนทั่วไป ๕๐๐ คน ๘๐๑,๔๕๒-

อาชีพ ฯ”
๕.๘ โครงการประกวดแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ใน ๓๒๐ แห่ง ๕๐,๐๐๐-
ต้นแบบ พื้นท ี่

๕.๙ นิเทศ ติดตามผลการด าเนินงาน ๕ จังหวัด - ๗๙,๔๐๐-
ชายแดนใต ้











แผนปฏิบัติการประจ าปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ๒๖


Click to View FlipBook Version